อาการสำคัญของโรคแผลในกระเพาะอาหาร

Download Report

Transcript อาการสำคัญของโรคแผลในกระเพาะอาหาร

จะปล่ อยให้
กระเพาะ
คุณเป็ นเช่ นนีห้ รือ
สิ่ งทีค่ วรรู้
และข้ อแนะนา
สาหรับผู้ทเี่ ป็ นโรค
แผลในกระเพาะอาหาร
ขอข้อมูลเพิ่มเติมหรือให้ขอ้ เสนอแนะได้ที่
กลุ่มงานสุขศึกษา....โรงพยาบาลอุตรดิตถ์
โทร. (055) 411064 ต่อ 1116 , 2159
ด้วยความปรารถนาดี
จาก
ฝ่ ายสุ ขศึกษา โรงพยาบาลอุตรดิตถ์
โทร.(055) 411064 ต่อ 455
13
ข้ อเสนอแนะเพิม่ เติม
พึงระลึกไวเสมอว
า่ โรคแผลในก
้
เมื่อรักษาแผลหายแล้วยังมีโอกาสเป็ นซ้ าได้อีก หลังได้รับยาอาการปวด
จะหายไปก่อนใน 3-7 วัน แต่แผลจะยังไม่หาย ส่ วนใหญ่ผปู ้ ่ วยจาเป็ น
ต้องได้รับยารักษาติดต่อกันเป็ นเวลานาน 4-8 สัปดาห์ แผลจึงหาย
เมื่อหายแล้วจะกลับมาเป็ นใหม่ได้อีก
ถ้าไม่ระมัดระวังปฏิบตั ิตวั ให้ถูกต้อง
หรื อถ้ายังไม่สามารถกาจัด
เชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร
ให้หมดไปได้
12
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
จะหายขาดหรือไม่
โรคแผลในกระเพาะอาหารจะหาย
ได้แต่จะกลับเป็ นใหม่ได้อีก
ร้อยละ 70-80 ในระยะเวลา 1 ปี หลังให้การรักษา ซึ่งลักษณะเช่นนี้
เป็ นธรรมชาติของโรคนี้คือ จะมีลกั ษณะเรื้ อรังและกลับเป็ นซ้ าเสมอๆ
สาหรับผูท้ ี่มีการติดเชื้อ เฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร ร่ วมด้วย พบว่าหลัง
จากที่กาจัดเชื้อได้แล้ว โอกาสที่แผลจะกลับมาเป็ นซ้ าลดลงไปอย่างมาก
(ร้อยละ 70-80 ใน 1 ปี ลดเหลือไม่เกินร้อยละ 10 ใน 1 ปี ) และ
มี
โอกาสหายขาดได้ สาหรับผูป้ ่ วยโรคแผลในกระเพาะอาหารที่ไม่ได้เกิด
จากการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร วิธีที่จะบรรเทาอาการของโรค
คือปฏิบตั ิตวั ตามหลักการที่ได้กล่าวไว้แล้วในการรักษา ในผูป้ ่ วยบางราย
อาจต้องให้ยาติดต่อนานหลายปี เพื่อควบคุมไม่ให้มีอาการ เช่น ผูป้ ่ วย
อายุมากกว่า 65 ปี ผูป้ ่ วยที่จาเป็ นต้องกินยา
โรคกระดูกและข้ออักเสบอยูต่ ลอด
ผูป้ ่ วยที่เคยมีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น
และผูป้ ่ วยที่เป็ นบ่อย
มากกว่า 3 ครั้ง ต่อปี เป็ นต้น
1
โรคแผลในกระเพาะอาหารเกิดขึน้
ได้ อย่ างไร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร (Peptic Ulcer)
หรื อคนทัว่ ไปเรี ยกกัน
ติดปากว่าโรคกระเพาะอาหาร
มีสาเหตุไดหลายได
หลาย
้
้
ประการและ
มีกลไกของพยาธิกาเนิดซับซ้อนมาก สาเหตุที่สาคัญคือ กรดและน้ าย่อย
ที่หลัง่ ออกมาในกระเพาะอาหารไม่วา่ กรดนั้นจะมีปริ มาณมากหรื อน้อย
จะเป็ นตัวทาลายเยือ่ ยุกระเพาะอาหาร ร่ วมกับมีความบกพร่ องของเยือ่ บุ
กระเพาะอาหารที่สร้างแนวต้านทานกรดไม่ดี นอกจากนี้ยงั มีปัจจัยอื่น
ส่ งเสริ มให้เกิดแผลในกระเพาะอาหารได้แก่ ยาแอสไพริ น, ยารักษาโรค
กระดูกและข้ออักเสบ, การสู บบุหรี่ , ความเครี ยด, อาหารเผ็ด, สุ รา
ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ทาให้เกิดการระคายต่อเยือ่ กระเพาะอาหารเกิดการ
อักเสบเรื้ อรังแล้วนาไปสู่ การเกิดแผลในกระเพาะอาหารและแผลลาไส้
เล็กส่ วนต้น
ปัจจุบน
ั พบวาเชื
้ โรค เฮลิโคแบคเตอร ์
่ อ
ไฟโลไร (Helicobacte pylori) ซึ่งเป็ นแบคทีเรี ยชนิดหนึ่งที่อยูใ่ นกระเพาะ
อาหารของคนปกติมีบทบาทโดยตรงและถือเป็ นสาเหตุสาคัญอันหนึ่งที่ทาให
เกิดแผลในกระเพาะอาหารที่สาคัญคือ ในขณะที่ทาการรักษาแผลที่หายแล้ว
เกิดเป็ นซ้ าได้
2
แผลในกระเพาะอาหารมักเกิดขึน้
กับส่ วนใดของกระเพาะ
โรคแผลในกระเพาะอาหารเป็ นคารวม
หมายถึงแผลที่เกิดขึ้นใน
เยือ่ บุทางเดินอาหารเฉพาะส่ วนที่สัมผัสน้ าย่อยของกระเพาะอาหาร
ที่มีกรดเป็ นองค์ประกอบสาคัญ จึงพบแผลได้ต้ งั แต่ส่วนล่างของหลอด
อาหาร,กระเพาะอาหาร และลาไส้เล็กส่ วนต้น ส่ วนตาแหน่งที่พบแผล
ได้บ่อยคือกระเพาะอาหารส่ วนปลาย (เรี ยก gastric ulcer GU) และ
ลาไส้เล็กส่ วนต้นใกล้รอยต่อระหว่างกระเพาะอาหารและลาไส้เล็ก
ส่ วนต้น (เรี ยก duodenal ulcer,DU)
โดยแผล DU พบบ่อยในทุกอายุ
ตั้งแต่ 20-70 ปี ส่ วนแผล GU
จะพบมากในคนสู งอายุข้ ึน
คือ อายุ 40-70 ปี
11
โรคแผลในกระเพาะอาหาร จะกลาย
เป็ นมะเร็งได้ หรือไม่
โรคแผลในกระเพาะอาหาร จะไม่
กลายเป็ นมะเร็ง แม้จะเป็ นๆหายๆ
อยูน่ านกี่ปีก็ตาม นอกจากเป็ นแผลชนิดที่เกิดจากมะเร็งกระเพาะอาหาร
ตั้งแต่เริ่ มแรกโดยตรง แต่พึงระวังไว้ดว้ ยว่าโรคมะเร็งกระเพาะอาหาร
อาจมาเกิดร่ วมกับโรคแผลในกระเพาะอาหารก็ได้ โดยเฉพาะในคนสู ง
อายุ (อายุมากกว่า 45 ปี จะมีโอกาสเกิดมะเร็งได้มากขึ้น)
เนื่องจาก
อาหารเริ่ มแรกของโรคมะเร็งในกระเพาะอาหารและโรคแผลในกระเพาะอาห
จะคล้ายกันมาก ไม่สามารถแยกจากกันได้โดยการซักประวัติหรื อ
ตรวจร่ างกาย จึงจาเป็ นต้องได้รับการส่ องกล้องตรวจกระเพาะอาหาร
เพื่อช่วยในการวินิจฉัย สาหรับอาการที่ส่อหรื อบ่งชี้วา่ อาจมีโรคมะเร็ง
กระเพาะอาหารได้แก่ เบื่ออาหาร, น้ าหนักลดลงมาก, ซีดลงโดยไม่ทราบสา
, ถ่ายอุจจาระดาหรื ออาเจียนเป็ นเลือด อาเจียนมากและเป็ นติด
ต่อกันเป็ นวันในคนสู งอายุ หรื ออายุมากกว่า 45 ปี
ที่เริ่ มมีอาการครั้งแรกของโรคกระเพาะอาหาร
หรื อผูท้ ี่มีอาการมานานแล้ว
มีการเปลี่ยนแปลงของอาการ
เช่น ปวดท้องรุ นแรงในภาวะต่างๆ
เหล่านี้ควรรี บไปพบแพทย์
10
การสู บบุหรี่มผี ลต่ อโรคนีห้ รือไม่ อย่ างไร
บุหรีม
่ ผ
ี ลให้เยือ
่ บุกระเพาะอาหารออนแอท
า
่
ให้เกิดแผลได้ง่าย
นอกจากนี้ยงั ทาให้แผลหายช้าและเกิดแผลกลับเป็ นซ้ าได้บ่อยมาก
แม้จะให้การรักษาอย่างเต็มที่
ในผูป้ ่ วยที่เป็ นโรคแผล
ในกระเพาะอาหาร
จึงควรงดสู บบุหรี่ อย่างเด็ดขาด
3
อาการสาคัญของโรคแผลในกระเพ
อาหาร
* ปวดจุกแน่นท้องบริ เวณใต้ลิน้ ปี่ หรื อหน้าท้องช่วงบน เป้ นอาการที่พบ
บอยที
ส
่ ุด มักเป็ นเวลาทองว
างหรื
อเวลาหิว
่
้
่
อาการจะไม่เป็ นตลอด
ทัง้ วัน
* อาการปวดแน่นท้อง มักจะบรรเทาได้ดว้ ยอาหารหรื อยาลดกรดผูป้ ่ วย
บางคนอาการปวดจะเป้นมากขึน
้ หลังอาหาร
โดยเฉพาะอาหารรสเผ็ด
จัด เปรีย
้ วจัด เป็ นตน
้
* อาการปวดมักเป็ นๆ หายๆ มานานเป็ นปี โดยมีช่วงเว้นที่ปลอดอาการ
คอนข
างนาน
เช่น ปวดอยู่ 1-2 สัปดาห์ และ
่
้
หายไปหลายๆเดือนจึง
กลับมาปวดอีก
* ปวดแน่นท้องกลางดึกหลังจากหลับไปแล้ว
* บางรายจะไม่มีอาการปวดท้อง แต่จะมีอาการแน่นท้องหรื อรู ้สึกไม่
สบายในทอง
มักจะเป็ นบริเวณใตลิ
้ ปี่ หรือ
้
้ น
กลางท้องรอบสะดือมักมี
ทองอื
ดรวมด
วย
โดยเฉพาะหลังกินอาหารทอ
้
่
้
้
จะอึดขึ้นชัดเจน มีลม
มากในทอง
ทองร
องโกรกกราก
ตองเรอหร
้
้
้
้
ผายลมจะดีข้ ึน อาจมี
คลืน
่ ไส้ อาเจียนรวมด
วยโดยเฉพาะหลั
ง
่
้
4
ภาวะแทรกซ้ อนของโรคแผลใน
กระเพาะอาหาร พบได้ ประมาณ
ร้ อยละ 25-30 ได้ แก่
* ตกเลือดในกระเพาะอาหาร พบบ่อยที่สุด ผูป้ ่ วยจะมีอาเจียน
เป็ นเลือด
ถายด
าเหลว หรือหน้ามืด
่
วิงเวียน เป็ นลม
* กระเพาะอาหารทะลุ ผูป้ ่ วยมีอาการปวดท้องช่วงบนเฉียบพลัน
รุนแรง หน้าทองเข็
งตึง กดเจ็บมาก
้
* กระเพาะอาหารอุดตัน ผูป้ ่ วยจะกินาด้นอ้ ย
อิม
่ เร็ว มีอาเจียน
หลังอาหาร
เกือบทุกมือ
้ เบือ
่ อาหาร
น้าหนักลด
9
เครื่องดืม่ ประเภทใดบ้ างทีเ่ หมาะกับผ
เป็ นโรคกระเพาะอาหาร
เครือ
่ งดืม
่ ประเภทนม (ถ้าผูป้ ่ วยเคยดื่มนมแลว
ทาให้ทอ้ งอึด
หรื อมีลมในท้องมากขึ้น) และน้ าผลไม้ที่ค้ นั จะเหมาะสมสาหรับผูป้ ่ วย
และขอให้งดเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด, กาแฟ, ช็อกโกแลต,
น้ าอัดลม และเครื่ องดื่มนั้นไม่ควรร้อนจัด
หรื อเย็นจัดเกินไป
ทาไมจึงห้ ามผู้ป่วยดืม่ นา้ อัดลม
เนื่องจากน้าอัดลมมีแก๊สมาก จะทาใ
กระเพาะอาหารมีการขยาย
ตัวทาให้ปวดมากขึ้น ขณะเดียวกันจะส่ งผลให้มีการกระตุน้ ให้มีการหลัง่
กรดเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันจะส่ งผลให้มีการกระตุน้
ให้มีการหลัง่ กรดเพิ่มขึ้นอีกด้วย
8
การบริโภคอาหารทีไ่ ม่ ถูกต้ องมีผล
ต่ อการเพิม่ ความรุนแรงของ
โรคกระเพาะอาหารหรือไม่
อย่ างไร
มีผลแน่นอน กลาวคื
อ ถารั
่
้ บประทาน
อาหารรสจัดจะทาให้ระคาย
เคืองต่อแผลมากขึ้นจะปวดมากขึ้นหรื อถ้ารับประทานอาหารย่อยยาก
หรื อปริ มาณมากเกินไปจะยิง่ กระตุน้ ให้กระเพาะอาหาร
ขยายตัวมากจะทาให้ปวดมากเช่นกัน
5
หลักการรักษาโรคแผล
ในกระเพาะอาหาร
* กินอาหารอ่อน ย่อยง่าย
* กินอาหารจานวนน้อยๆ แต่กินให้บ่อยมื้อ ไม่ควรกินจนอิ่มมาก
ในแตละมื
อ
้
่
* หลีกเลี่ยงอาหารเผ็ดจัด เปรี้ ยวจัด ของดอง น้ าอัดลม
* งดสู บบุหรี่ และงดดื่มสุ รา
* งดการใช้ยาแก้ปวดแอสไพริ น แลยาแก้โรคกระดูกและข้ออักเสบ
ทุกชนิด
* ผ่อนคลายความเครี ยดและวิตกกังวล พักผ่อนให้เพียงพอ
* กินยาลดกรด หรื อยารักษาแผลกระเพาะอาหารติดต่อกัน
อยางน
่
้ อย 4-8 สัปดาห์ รวมทั้งให้ยากาจัดเชื้อ
เฮลิโคแบคเตอรไพโลไร
ดวย
์
้
* ถ้ามีอาการของภาวะแทรกซ้อน ปวดท้องอย่างรุ นแรง
หรือเบือ
่ อาหาร น้าหนักลดลงมาก
ควรรีบไปหรึกษาแพทย ์
6
ผู้ทเี่ ป็ นโรคแผลในกระเพาะอาหาร
ควรหลีกเลีย่ งอาหารประเภท
ใดบ้ าง และควรรับประทาน
อาหารประเภทใด
อาหารทีค
่ วรหลีกเลีย
่ งคือ อาหารรสเผ็ด
จัด, เปรี้ ยงจัด, ของหมักดอง, อาหารแข็งย่อยยาก, อาหารประเภทที่ตอ้ งทอด
หรื ออาหารที่มีไขมันมากเพราะไขมันเป็ นสารที่ยอ่ ยยากกว่าสารอาหารชนิดอื่น,
และอาหารหรื อ
ผลไม้ที่กินแล้วทาให้มีอาการมากขึ้นเช่น บางคนกินฝรั่งหรื อสับปะรด
ปวดท้องทากขึ้น เป็ นต้น ควรรับประทานอาหารอ่อน อาหารที่ยอ่ ยง่าย
เมื่อผูป้ ่ วยมีอาการดีข้ ึนแล้วจึงค่อยๆ กลับมารับประทานอาหาร
ที่ใกล้เคียงปกติได้
7
ผู้ทเี่ ป็ นโรคแผลในกระเพาะอาหาร
ควรรับประทานอาหารวันละกีม่ อื้
แต่ ละมือ้ ควรจะมีปริมาณมากน้ อย
เท่ าใด
ขึน
้ อยูกั
่ ว
่ บอาการของผูป
้ ่ วย ในรายทีป
รุ นแรงอาจต้องรับประทาน
ทุกชัว่ โมง เป็ นอาหารชนิดน้ าเช่นน้ าข้าว,น้ าซุป, นมหรื อโอวัลติน เมื่อดี
ขึ้นเปลี่ยนเป็ น 2-3 ชัว่ โมง โดยรับประทานอาหาร เช่น โจ๊ก, ไข่ลวก,
นมหรื อโอวัติติน และขนมปังแครกเกอร์ เมื่อทุเลามากขึ้นจึงเปลี่ยนเป็ นข้าวต
และข้าวสวยได้ตามลาดับ โดยทัว่ ไปควรรับประทานวันละ 6 มื้อ
โดยแบ่งปริ มาณมาจากมื้ออาหารปกติครึ่ งหนึ่งคือมื้อเช้าและสาย, มื้อ
กลางวันแบ่งเป็ นกลางวันและบ่ายและมื้อเย็นแบ่งเป็ นเย็นและค่า รวม
เป็ น 6 มื้อ จะเห็นได้วา่ แต่ละมื้อจะมีปริ มาณอาหารน้อยลง
แต่รับประทานอาหารผิดเวลาเว้นท้องว่าง
นานจนเกินไปจะยิง่ ทาให้ปวดท้องมากขึ้น