เพาเวอร์พ้อยต์ บทที่ 5

Download Report

Transcript เพาเวอร์พ้อยต์ บทที่ 5

บทที่ 5 ระบบทางเดินอาหาร
Digestive system
Digestive system
มีเนื้อหาเกี่ยวกับส่ วนประกอบต่างๆในระบบ
ทางเดินอาหาร นักศึกษาควรแยกความแตกต่าง
ระหว่างระบบทางเดินอาหารในสัตว์กระเพาะเดี่ยว
และสัตว์กระเพาะรวมได้ สามารถแยกความ
แตกต่างระหว่างการย่อยอาหาร การดูดซึ มโภชนะที่
ได้จากการย่อยอาหาร ประเภทของการย่อยอาหาร
ในส่ วนต่างๆ ของระบบทางเดินอาหาร
ระบบทางเดินอาหาร
โครงสร้างพื้นฐานท่อทางเดินอาหารประกอบด้วย ผนัง 4 ชั้น
คือ
- ชั้นเยือ่ เมือก (mucous membrane หรื อ mucosa)
- ชั้นใต้เยือ่ เมือก (sub mucosa)
- ชั้นกล้ามเนื้อ (muscularis externa) เป็ นกล้ามเนื้อเรี ยบ
- ชั้นเซโรซา (serosa membrane)
โครงสร้ างพืน้ ฐานของท่ อทางเดินอาหาร
ท่ อทางเดินอาหารของสั ตว์
แบ่งตามลักษณะอาหารที่กินเป็ น 2 พวก คือ
1. สั ตว์ กระเพาะเดี่ยว ท่อทางเดินอาหารมีการพัฒนาแบบ
ง่ายๆ ไม่ยงุ่ ยาก เช่น สุ นขั สุ กร สัตว์ปีก และม้า เป็ นต้น
2. สั ตว์ กระเพาะรวม ท่อทางเดินอาหารมีการพัฒนามาก และ
มีจุลินทรี ยท์ ี่เกี่ยวข้องกับการย่อยอาหาร สัตว์ในกลุ่มนี้ได้แก่ โค
กระบือ แพะ และ แกะ เป็ นต้น
อวัยวะพืน้ ฐานของท่ อทางเดินอาหาร
คือ
1. ปาก (mouth)
2. หลอดคอ (pharynx)
3. หลอดอาหาร (esophagus)
4. กระเพาะอาหาร (stomach)
5. ลาไส้เล็ก (small intestine)
6. ลาไส้ใหญ่ (large intestine)
ปาก (Mouth)
ปากเป็ นส่ วนแรกของท่อทางเดินอาหาร
 มีหน้าที่ในการนาอาหารเข้าสู่ ปาก (prehension)
 การเคี้ยวอาหาร (mastication)
 การเคี้ยวเอื้อง (rumination)
 ปากมีส่วนประกอบ คือ ริ มฝี ปาก (lips) ลิ้น (tongue) ฟั น
(teeth) เพดานปาก และ ต่อมน้ าลาย (salivary glands)

ต่ อมน้าลาย (Salivary glands)
เป็ นต่อมมีท่อ การหลัง่ น้ าลายจากต่อมน้ าลายในปากเกิดจาก
การมีอาหารหรื อสิ่ งอื่น ๆ เข้าไปในปาก ปลายประสาทรับ
ความรู ้สึก (receptor) อยูภ่ ายในช่องปากรับความรู ้สึก และส่ ง
กระแสความรู ้สึกผ่านเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7, 9 และ 10 ส่ ง
ความรู ้สึกไปยังศูนย์ควบคุมการหลัง่ น้ าลายที่สมองส่ วนใน
(medulla oblongata)
หน้ าที่ของน้าลาย
ช่วยทาให้เยือ่ เมือก และริ มฝี ปากด้านในมีความชุ่มชื้น
 คลุกเคล้าอาหารทาให้อาหารเป็ นก้อนอ่อนนุ่ ม เคี้ยวได้ง่าย
และกลืนได้ง่าย
 ในสัตว์บางชนิ ดน้ าลายจะย่อยอาหาร
 ช่วยปรับความสมดุลของกรด และด่างในกระเพาะรู เมน
 ช่วยรักษาปริ มาณของของเหลวในกระเพาะรู เมน
 เป็ นแหล่งอาหารให้แก่จุลินทรี ยใ์ นกระเพาะรู เมน

ฟัน (Teeth)
ฟัน (teeth) ทาหน้าที่ในการจับชิ้นอาหาร และเกี่ยวข้องกับ
การเคี้ยวอาหาร ฟันมี 2 ชุด- ฟันน้ านม (deciduous teeth) และ
ฟันแท้ (permanent teeth) ทั้งฟันแท้ และฟันน้ านม แบ่งออกได้
3 ประเภท คือ
ก. ฟันหน้าหรื อฟันตัด (incisor teeth)
ข. ฟันเขี้ยว (canine)
ค. ฟันกราม หรื อฟันแก้ม
ลิน้ (Tongue)
ประกอบด้วยมัดกล้ามเนื้อที่แข็งแรง คือ extrinsic muscles ที่
ยึดระหว่างกระดูก hyoid กับตัวลิ้น และ intrinsic muscles
 กล้ามเนื้ อลิ้นปกคลุมด้วยชั้นเยือ
่ บุผวิ ชนิด stratified
squamous epithelium ชนิดชุ่ม (moist type) มีหนาม
(papillae) กระจายอยูท่ วั่ ไป
 ด้านบนของ papillae เหล่านี้ จะมีตุ่มรับรสและต่อมผลิต
ของเหลว (serous glands) ปนอยูด่ ว้ ย

หลอดคอและหลอดอาหาร
หลอดคอ (Pharynx)
เป็ นทางเปิ ดร่ วมระหว่าง
ทางเดินหายใจ และระบบ
ทางเดินอาหาร โดยมีส่วน
ของ epiglottis ทาหน้าที่ปิด
ส่ วนของระบบหายใจ
(หลอดลม) ไว้

หลอดอาหาร (Esophagus)
เชื่อมต่อระหว่างหลอดคอกับ
ส่ วนของกระเพาะอาหารส่ วน
ต้น (cardiac)

กระเพาะอาหาร (Stomach)
ก. กระเพาะในสั ตว์ กระเพาะเดี่ยว แบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ
ส่ วนต้น (cardiac) ส่ วนกลาง (fundus) และส่ วนปลาย (pylorus)
ตรงส่ วนกลาง และส่ วนปลายของกระเพาะ จะมีกล้ามเนื้อหูรูด
(cardiac sphincter และ pyrolicsphincter) ทาหน้าที่ควบคุมการ
เข้าออกของอาหารในกระเพาะ
การแบ่ งส่ วนกระเพาะอาหาร
แบ่งตามลักษณะของเยือ่ บุผวิ เป็ น 4 ส่ วน คือ
1. Esophageal region ไม่มีส่วนที่มีต่อมเลย
2. Cardiac region มีต่อมสร้างน้ าเมือก แต่ไม่มีต่อมสร้าง
เอนไซม์
3. Fundic region มีต่อมสร้างเอนไซม์ช่วยย่อยอาหาร
4. Pyloric region มีต่อมสร้างน้ าเมือกและเอนไซม์ปนกัน
การแบ่ งส่ วนกระเพาะอาหาร (2)
ชั้นเยือ่ เมือกของกระเพาะประกอบด้วย ชั้นเซลล์เยือ่ บุผวิ
พวก stratified squamous epithelium และเซลล์ของต่อมที่
ผลิตกรดเกลือ (HCl) เมือก (mucin) และฮอร์โมนเซลาโทนิน
(seratonin)
 สามารถแบ่งส่ วนของกระเพาะอาหารตาม ชนิ ดของต่อม
ต่างๆในชั้นเยือ่ เมือก เป็ น cardiac gland, fundic gland และ
pyloric gland

โครงสร้ างของผนังกระเพาะอาหาร
ต่ อมใน Cardiac gland
จะประกอบด้วย mucous neck cell ทาหน้าที่ผลิต และหลัง่ น้ า
เมือก (mucus) เพื่อเคลือบผิวของต่อมไม่ให้ถูกทาลายโดยกรด
เกลือจาก parietal cell
ต่อมใน fundic gland ทาหน้าที่สร้างเมือก และเอนไซม์ คือ
- Chief cells ทาหน้าที่ผลิต และหลัง่ เอนไซม์ pepsinogen
- Parietal cells (Border cell) ทาหน้าที่ผลิตกรดเกลือ
- Mucous neck cell มีหน้าที่สร้างเยือ่ เมือก
การเคลือ่ นไหวกระเพาะ
มี 2 แบบ คือ
1. Peristaltic movement เป็ นการเคลื่อนไหวแบบขย่อน มี
ผลให้อาหารเคลื่อนตัวจากส่ วนต้นไปยังส่ วนปลาย
2. Pendular motility การเคลื่อนตัวแบบแกว่งเหมือนลูกตุม้
มีผลทาให้อาหารในกระเพาะคลุกเคล้ากับน้ าย่อย ทาให้เกิดการ
ย่อยอย่างสมบูรณ์
กระเพาะในสั ตว์ เคีย้ วเอือ้ ง
กระเพาะของสัตว์เคี้ยวเอื้อง แบ่งออกเป็ น 4 ส่ วน คือ
กระเพาะรู เมน หรื อ (กระเพาะหมัก), กระเพาะรังผึ้ง,
กระเพาะสามสิ บกลีบ รวมกันเรี ยกว่า กระเพาะส่ วนหน้า
(fore stomach)
 กระเพาะแท้ (Abomasums) ผนังด้านในมีลก
ั ษณะเหมือนกับ
สัตว์กระเพาะเดี่ยว
 กระเพาะรู เมน มีขนาดใหญ่ที่สุด มีขบวนการหมักอาหาร
โดยจุลินทรี ยเ์ กิดขึ้น

กระเพาะในสั ตว์ เคีย้ วเอือ้ ง (2)
กระเพาะรู เมน แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ
1. ส่ วน Dorsal sac เป็ นส่ วนที่มีขนาดใหญ่
2. ส่ วน Ventral sac จะมี papillae มากมาย
Papillae มีหน้าที่ช่วยโบกพัดคลุกเคล้าอาหาร และเกีย่ วข้อง
กับการดูดซึมโภชนะผ่านผนังกระเพาะรู เมน
กระเพาะแท้ (Abomasums) มีต่อมสร้างน้ าย่อยที่ช้ นั เยือ่ เมือก
เช่นเดียวกับกระเพาะของสัตว์กระเพาะเดี่ยว
กระเพาะในสั ตว์ เคีย้ วเอือ้ ง (3)
กระเพาะรังผึง้ (Reticulum) ติดต่อกับกระเพาะสามสิ บกลีบ
ตรง rumino reticulum orifice ผนังด้านในคล้ายรู ปรังผึ้ง มีหน้าที่
ส่ งอาหารกลับไปเคี้ยวเอื้อง และส่ งอาหารที่ยอ่ ย แล้วไปยัง
กระเพาะสามสิ บกลีบ
กระเพาะสามสิ บกลีบ (Omasum) ประกอบด้วยกล้ามเนื้อ
เป็ นกลีบๆ ใช้บดอาหารให้เล็กลง อาหารที่ละลายได้จะเคลื่อนที่
ต่อไป ที่ไม่ละลายจะตกอยูร่ ะหว่างกลีบของ laminar
ลาไส้ เล็ก (Small intestine)
แบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ
 ลาไส้เล็กตอนต้น (duodenum)
 ลาไส้เล็กตอนกลาง (jejunum)
 ลาไส้เล็กตอนปลาย (ileum)
หน้ าที่ของลาไส้ เล็ก
 ผลิตและหลัง่ น้ าย่อย
 หลัง่ ฮอร์ โมนในระบบ
ทางเดินอาหาร
 ทาหน้าที่ดูดซึ มโภชนะ
ต่างๆ
 เป็ นทางผ่านของอาหาร
ผ่านเข้าไปในลาไส้ใหญ่
โครงสร้ างของลาไส้ เล็ก
ตลอดชั้นเยือ่ เมือกจะมีโครงสร้างที่ เรี ยกว่า วิลไล (villi )
 มีลก
ั ษณะคล้ายขนยืน่ เข้าไปในช่องว่างของลาไส้ ระหว่าง
วิลไล จะมีแอ่งรู ปทรงกระบอกเล็กๆ แทรกอยู่ เรี ยกว่า crypt
of lieberkuhn
 เซลล์เยือ
่ บุส่วนนี้จะทาหน้าที่สร้างน้ าเมือก และหลัง่ น้ าย่อย

โครงสร้ างของลาไส้ เล็ก
การเคลือ่ นไหวของลาไส้ เล็ก
เกิดจากกล้ามเนื้อเรี ยบ ช่วยให้อาหารเคลื่อนตัวผ่านไปยัง
ส่ วนอื่น และช่วยให้อาหารคลุกเคล้ากับน้ าย่อย ลักษณะการ
หดตัวมี 2 แบบ
1. Peristalsis เป็ นการหดตัวเพื่อผลักดันอาหารให้ผา่ นไป
ตามความยาวของลาไส้
2. Rhythmic segmentation เป็ นการหดตัวของลาไส้เพื่อ
คลุกอาหารกับน้ าย่อย ลักษณะการหดตัวจะเกิดเป็ นช่วง
การเคลือ่ นไหวแบบ Peristaltic movement
ลาไส้ ใหญ่ (Large intestine)
แบ่งเป็ น 3 ส่ วน
1. Caecum เป็ นท่อปลายตันติดกับลาไส้เล็กส่ วนปลาย ใน
สุ กร และม้าส่ วน caecum จะมีการหมักอาหารโดยจุลินทรี ย ์
2. Colon แบ่งเป็ น 3 ส่ วน คือ ascending colon, transverse
colon และ descending colon
3. Rectum เป็ นส่ วนสุ ดท้ายของลาไส้ใหญ่มีลกั ษณะเป็ นท่อ
ตรง มีขนาดเล็กกว่าส่ วนอื่น
ลาไส้ ใหญ่
มีหน้าที่ดูดซึมน้ า และแร่ ธาตุที่จาเป็ นต่อร่ างกาย ในสัตว์บาง
ชนิดมียอ่ ย และการใช้ประโยชน์ได้
การเคลื่อนไหวของลาไส้ใหญ่แบ่งออกเป็ น 3 ชนิด คือ
1. Segmentation movement เพื่อช่วยในการคลุกเคล้าอาหาร
ในส่ วนของ colon ทาให้มีการดูดซึมน้ า และแร่ ธาตุได้เร็ วขึ้น
2. Peristaltic movement เพื่อให้อาหารที่อยูภ่ ายในเคลื่อนตัว
ต่อไปยังลาไส้ใหญ่ตรง (rectum)
3. Mass peristalsis movement เป็ นการหดตัวของกล้ามเนื้อ
เฉพาะส่ วน colon เกิดขึ้นตอนถ่ายอุจจาระเท่านั้น
อวัยวะที่ช่วยในการย่ อยอาหาร
1. ตับ (Liver) ประกอบด้วยต่อมมีท่อเรี ยงตัวกันอยูม่ ากมาย
ในสัตว์เลี้ยงทุกชนิดเซลล์ตบั (hepatic cell) ทาหน้าที่หลัง่ น้ าดี
(bile) จะรวมกันที่ถุงน้ าดี (gall bladder) มีท่อน้ าดีต่อไปที่ cystic
duct สู่ common bile duct เป็ นท่อยาวเปิ ดที่ลาไส้เล็กส่ วนต้น
ม้าเป็ นสัตว์ที่ไม่มีถุงน้ าดีสาหรับเก็บน้ าดี
น้าดี
นา้ ดี เป็ นของเหลวสี เหลือง มีส่วนประกอบ คือ กรดน้ าดี
(bile acid) และเกลือของน้ าดี (bile salt)
สารสี เหลืองในน้ าดี คือ สาร biliverdin และ bilirubin เป็ น
สารที่เกี่ยวข้องกับการย่อยไขมัน ทาให้ไขมันเกิดการแตกตัว
และแขวนลอยกระจายทัว่ ไป เพื่อให้เอนไซม์จากตับอ่อน
(pancreatic lipase) เข้าย่อยสลายได้ไขมันง่ายขึ้น
หน้ าที่ของตับ
ผลิตน้ าดีช่วยในการย่อยไขมันในส่ วนลาไส้เล็ก
 เกี่ยวข้องกับขบวนการเมตาโบลิซึม
 ทาหน้าที่ทาลายสารพิษจากร่ างกาย (detoxification)
 สร้างโปรตีน ที่เกี่ยวข้องกับการแข็งตัวของเลือด
 เกี่ยวข้องกับการทาลายเม็ดเลือดที่หมดอายุ และเป็ นแหล่ง
สะสมธาตุเหล็ก
 เป็ นแหล่งสร้างเม็ดเลือด

ตับอ่ อน (Pancreas)
ส่ วนที่เป็ นต่อมมีท่อทาหน้าที่ผลิตน้ าย่อย (pancreatic juice)
โปรตีน คาร์โบไฮเดรท และไขมัน มีท่อเปิ ด (pancreatic
duct) ที่ลาไส้เล็กส่ วนต้นใกล้กบั ท่อเปิ ดของท่อน้ าดี
 ความเป็ นกรดของอาหารที่เคลื่อนมาจะกระตุน
้ ให้เยื่อบุผนัง
ลาไส้หลัง่ ฮอร์โมน secretin มีผลให้ ตับอ่อนผลิตและหลัง่
น้ าย่อยออกมา

ฮอร์ โมนในระบบทางเดินอาหาร
ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการหลัง่ น้ าย่อยของกระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็ก ตับอ่อน ถุงน้ าดี และเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว
ของระบบทางเดินอาหาร
 ผลิตจากเซลล์ช้ น
ั เยือ่ เมือกของระบบทางเดินอาหาร ฮอร์โมน
ที่สาคัญได้แก่ gastrin, secretin, cholecystokinin และ motilin
