บทที่ 6

Download Report

Transcript บทที่ 6

วิชา สศ 402
โภชนศาสตร์ และการให้ อาหารโค
บทที่ 6
ความผิดปกติของเมตาโบลิซึม
Metabolic disorder
ในบทนีน้ ักศึกษาจะได้ เรียนรู้เกีย่ วกับความผิดปกติของร่ างกาย
ที่เกิดจากเมตาโบลิซึม(metabolic disorder) เนื่องจากสั ตว์ เคีย้ วเอือ้ งมี
การพัฒนาของระบบทางเดินอาหารมากและมีจุลนิ ทรีย์ทาหน้ าทีห่ ลัก
ในการย่ อยอาหาร จึงทาให้ มีอาการผิดปกติเนื่องจากเมตาโบลิซึมได้
มากกว่ าในสั ตว์ กระเพาะเดี่ยวทีม่ ีการพัฒนาของระบบทางเดินอาหารที่
ไม่ ซับซ้ อน
ทาไมต้ องรู้เกีย่ วกับ Metabolic disorder

เนื่องจากอาการผิดปกติทเี่ กิดขึน้ ไม่ ได้ มีสาเหตุจากการติดเชื้อ

แต่ อาการผิดปกติดงั กล่าวสามารถทาให้ สัตว์ตายได้
 หากทราบอาการที่เกิดขึน
้ และรู้ สาเหตุของการผิดปกติ ก็สามารถ
ป้องกันไม่ ให้ เกิดอาการผิดปกติ หรือรักษาได้ ทันเวลา
สาเหตุของ Metabolic disorder
 การขาดโภชนะที่สาคัญต่ างๆ เช่ น โปรตีนและพลังงาน ไวตามิน
แร่ ธาตุบางชนิด ทั้งแร่ ธาตุหลักและแร่ ธาตุรอง

การดูดซึมโภชนะทีผ่ ดิ ปกติ

บางส่ วนของระบบทางเดินอาหารทางานผิดปกติ
Metabolic disorder ที่พบได้ บ่อยครั้ง
-
-
Bloat
Nitrate toxicity
Urea toxicity
Milk fever
Ketosis
Acidosis
อาการท้ องอืด (Bloat) คืออะไร
 อาการผิดปกติที่เกิดจากการทางานของกระเพาะรู เมนด้วย
สาเหตุต่างๆ ซึ่งทาให้ ไม่ สามารถขับก๊ าซออกจากกระเพาะได้
ตามปกติ จึงมีการสะสมก๊ าซในกระเพาะรู เมนมากเกินไป
สามารถทาให้ สัตว์ ตายได้ หากแก้ ไขไม่ ทันเวลา
อาการท้ องอืดมี 2 ประเภท

ชนิดเป็ นก๊ าซ (Free gas bloat) เนื่องจากก๊ าซที่เกิดจากการ
หมักไม่ สามารถถูกระบายออกได้ ด้วยสาเหตุต่างๆ
 ชนิดเป็ นฟอง (Frothing bloat หรื อLegume bloat)
ก๊ าซที่สลายตัวยากสะสมในกระเพาะมาก
มีฟอง
รู้ได้ อย่ างไรว่ าโคท้ องอืด

ดูตรงบริเวณสี ข้าง (Flank) หรือท้ องทางด้ านซ้ ายของโคจะพองโตมาก

ใช้ มือเคาะบริเวณทีพ่ องจะมีเสี ยงดังคล้ายมีลมอยู่ข้างใน

สั ตว์ จะแสดงอาการอึดอัด
ระดับของอาการท้ องอืด
แบ่ งออกได้ เป็ น 3 ระดับ คือ
:ระดับเฉียบพลัน (Acute)
:ระดับรุนแรง (Subacute)
: ระดับเรื้อรัง (Chronic)
สาเหตุการเกิดท้ องอืด
1. กระเพาะรูเมนทางานผิดปกติ การเรอเกิดขึน้ น้ อย
2. มีนา้ มากในกระเพาะรูเมน มีพนื้ ทีส่ ะสมก๊าซน้ อยลง
3.กระเพาะรูเมนมีสภาพความเป็ นกรด หาก pH ของกระเพาะรูเมนมีค่าต่า
(pH 3.5 – 5) กระเพาะมีการเคลือ่ นไหวช้ าลง
4. โปรโตซัว กลุ่ม Holotride ซึ่งเป็ นกลุ่มทีก่ นิ แป้ง และถั่ว เป็ นอาหารมี
ปริมาณลดลง
การแก้ ไขถ้ าพบโคมีอาการท้ องอืด
 ในกรณี: อาการไม่ รุนแรง
(สั ตว์ ยงั ไม่ ล้มตัวนอน และสามารถเดินได้ เอง)
: ควรช่ วยให้ สัตว์ เรอโดยการกระตุ้นให้ เดิน
: ใช้ ไม้ สอดปากทางด้ านขวาง แล้ วผูกให้ แน่ นคล้ ายกับ
การผูกบังเหียนของม้ า จะทาให้ ต่อมนา้ ลายทางานมากขึน้
นา้ ลายสามารถลดอาการท้ องอืดได้
: ใช้ นา้ มันพืชกรอกปาก
กรณีอาการท้ องอืดอย่ างเฉียบพลัน
: ใช้ Ttroca และ Canula เจาะ หรือ
ใช้ เข็มฉีดยายาว 1 – 1½ นิว้
: ช่ วยกดกระเพาะขับก๊าซ หรือฟอง
:ให้ คา Canula หรือเข็มฉีดยาทิง้ ไว้
ระยะเวลาหนึ่งจึงเอาออก
: ทาความสะอาดรอยแผล และใส่ ยา
Troca และ Canula
กินสารประกอบไนเตรทเกิดพิษได้ อย่ างไร
เป็ นพิษโดยตรง จากไนเตรท
ถ้ ากินปริมาณสู งมาก เกิดการอักเสบของเยือ่ บุทางเดินอาหารได้
 เป็ นพิษทางอ้ อม
เมื่อเปลีย่ นสารไนเตรทเป็ นสารประกอบไนไตรท์
- มีผลต่ อจุลนิ ทรีย์ทาให้ การย่ อยได้ ของเซลลูโลสลดลง
- พิษต่ อตัวสั ตว์ ทาให้ ตาย เนื่องจากขาด O2

การเป็ นพิษในตัวสั ตว์
-
เกิดขึน้ เมื่อไนไตรท์ ดูดซึมผ่ านผนังกระเพาะรู เมนเข้ าไปใน
กระแสเลือด จะรวมตัวกับ Hb ในเลือด ทาให้ เกิด
Methemoglobin
-
Methemoglobin ทาให้ เม็ดเลือดแดงจับO2ลดลง การพา O2
ไปสู่ ร่างกายก็จะลดลง ทาให้ เซลล์ ต่างๆในร่ างกายขาด
ออกซิเจน
การป้ องกัน และแก้ ไข
 ให้ เพิม
่ แหล่ งอาหารพลังงานทีย่ ่ อยง่ าย เช่ น แป้ ง และนา้ ตาลให้
จุลนิ ทรีย์นา N จากไนเตรทมาใช้ ในการสร้ างโปรตีนในเซลล์
การแก้ ไข เมื่อพบอาการเป็ นพิษ
: ฉีดสารละลาย Methylene blue ในอัตรา 20 มก./นา้ หนักตัว 1 กก.
เข้ าเส้ นเลือด จะทาให้ Methemoglobin เปลีย่ นเป็ น
Hemoglobin ที่มีความสามารถในการนาพาออกซิเจนได้
ยูเรีย หรือ แอมโมเนีย เกิดการเป็ นพิษ
ความเป็ นพิษเกิดจาก
 จุลน
ิ ทรีย์ใช้ NH3 ไปในกระเพาะรูเมนสร้ างเป็ นโปรตีนในเซลล์ได้ ไม่
หมด
 NH3 จะถูกดูดซึมเข้ าไปในกระแสเลือด ทาให้ NH3สู งขึน
้ มีผลให้ เลือด
มีสภาพความเป็ นด่ าง
 สั ตว์ ตายเนื่องมีO2ไปเลีย้ งส่ วนต่ าง ๆ ของเนือ
้ เยื่อในร่ างกายลดลง
การมี NH3 ในกระแสเลือดมากจึงทาให้ สัตว์ ตายได้
อาการเมื่อเกิดยูเรียเป็ นพิษ
 กินอาหารน้ อยลง
 หายใจถี่ มีการเกร็ งกล้ ามเนือ้
 มีนา้ ลายฟูมปาก หลังจากให้ อาหารไม่ นาน
 แสดงอาการอึดอัด หายใจไม่ ออก
 ใช้ เท้ ากระตุกหรื อแตะบริ เวณสี ข้างด้ านซ้ าย
การป้ องกัน และรักษา
การป้องกัน: ควรให้ อาหารที่มแี หล่ งพลังงานอย่ างเพียงพอ
เพือ่ ให้ จุลนิ ทรีย์นาแอมโมเนียไปใช้ สร้ างเป็ นโปรตีน
การรักษา
 กรอกนา้ ส้ มสายชู หรือกรด Acetic หรือกรด Formic
 กรอกนา้ เย็นเข้ าปากให้ เร็วทีส
่ ุ ด เพือ่ ลดความเป็ นพิษ
การเป็ นพิษเนื่องจากออกซาเลท
- มีออกซาเลทเข้ าไปในร่ างกายสู ง เช่ นให้ กนิ ฟางข้ าวนานๆ
ความเป็ นพิษเกิดจาก
- ออกซาเลทจะจับตัวกับ Ca ในเลือดเกิดสารประกอบ Ca-oxalate ที่
สลายตัวยาก มีผลให้ แคลเซียมบางส่ วนนาไปใช้ ไม่ ได้ เกิดอาการขาด
แคลเซียม (Hypocalcemia)
- ทาให้ เป็ นนิ่วที่ท่อทางเดินปัสสาวะจาก Oxalate crystals
อาการที่เกิดขึน้
มี 2 แบบ คือแบบรุนแรง และแบบเรื้อรัง
อาการอย่ างรุนแรงหรือเฉียบพลัน
 มีผลให้ โคถึงตายได้ โดยจะมีอาการกล้ ามเนือ
้ สั่ น เดินโซเซ และล้มลง
นอนตายในทีส่ ุ ด
อาการแบบเรื้อรัง
 ปัสสาวะกะปริดกะปรอย ไม่ กน
ิ อาหาร โลหิตจางและมีอาการท้ องป่ อง

การป้ องกันและแก้ ไข
 การป้ องกัน
: ไม่ ให้ อาหารที่มีออกซาเลสเป็ นส่ วนประกอบนานเกินไป
: ควรมีการเสริมแร่ ธาตุเพือ่ เป็ นแหล่ ง Ca
การรักษากรณีการเกิดอาการอย่ างเฉียบพลัน
 ให้ ฉีดสารละลาย Calcium borogluconate 25% จานวน 200 –
500 cc. เข้ าทางเส้ นเลือดดาที่คอ
คีโตซีส (Ketosis) คืออะไร
คือ อาการผิดปกติทเี่ กิดจากเมตาโบลิซึมของคาร์ โบไฮเดรตในร่ างกาย
ผิดปกติ พบได้ ในสั ตว์ เคีย้ วเอือ้ งทุกชนิด
สาเหตุ : มีการนาคาร์ โบไฮเดรตไปใช้ ประโยชน์ ที่ตับจนหมด
: มีการนา Ketone bodies มาใช้ เป็ นพลังงาน
: มีการสะสมของ Ketone bodies ในเลือดสู ง
: เลือดมี pH เป็ นกรด

อาการ
อาการ: กินอาหารลดลง
: ให้ นมน้ อยกว่ าปกติ
: ผอมโซอย่ างรวดเร็ว
: เฉื่อยชา ตกใจง่ าย มูลแห้ ง
: สิ่ งขับถ่ ายจากร่ างกายมีกลิน่
ของสารคีโตน เช่ น กลิน่ ลม
หายใจ นา้ นม และปัสสาวะ
แม่ โคทีเ่ ป็ น Ketosis อย่ างรุ นแรง ลุกยืนลาบาก
ป้ องกันคีโตซีสอย่ างไร
ในระยะใกล้คลอด : มีการควบคุมไม่ ให้ แม่ โคอ้ วนเกินไป
ในระยะหลังคลอด
 เกษตรกรควรให้ อาหารหยาบคุณภาพสู งแก่ โค
 ให้ อาหารที่มี Ca, P และI อย่ างเพียงพอต่ อความต้ องการ
 มีการตรวจเช็ คว่ าโคมีอาการที่จะเป็ นคีโตซีสหรื อไม่ ตลอด
ระยะ 6 สั ปดาห์ หลังคลอด
การรักษา
1. การฉีดสารละลายกลูโคสทางเส้ นเลือดดา
และให้ กนิ Propylene glycol หรือ Glycerine 110 กรัม/วัน หรือให้
Sodium propionate เพือ่ ช่ วยเร่ งให้ เกิด gluconeogenesis
2. การให้ Hormone พวก ACTH ฉีดเข้ ากล้ ามเนือ้ กระตุ้นการสร้ าง
Glucocorticoid จากต่ อมหมวกไต
 เพือ
่ รักษาระดับกลูโคสในเลือดให้ อยู่ในระดับสมดุล
แอซิโดซีส (Acidosis) คืออะไร
คือ อาการผิดปกติที่เกิดกับโคที่กนิ แหล่งคาร์ โบไฮเดรตที่ย่อยสลายได้
ง่ าย เช่ นอาหารข้ นมากเกินไป ทาให้ เกิดกรดแลคติกมาก
สาเหตุการตาย
: กรดแลคติกบางส่ วนถูกดูดซึมเข้ าเส้ นเลือด ทาให้ เป็ นกรดสู ง
(acidosis) เกิดความดันเลือดต่า การหมุนเวียนของเลือดไปเลีย้ งส่ วน
ต่ างๆ ของร่ างกายเกิดได้ ช้า การนาออกซิเจนไปตามเซลล์ในส่ วนต่ างๆ
ของร่ างกายจะช้ าลงด้ วย การขาดออกซิเจนในร่ างกายจึงเกิดขึน้

ผนังกระเพาะรูเมนทีถ่ ูกทาลายเนื่องจากกรดแลคติก
อาการโดยทั่วไป
 ท้ องป่ องหรือกระเพาะรู เมนขยายตัวอย่ างรวดเร็วหลังจากกิน
อาหาร
 มีอาการปวดท้ อง และกระวนกระวาย
 ถ่ ายมูลเหลวผิดปกติ อาจมีเศษของเมล็ดธัญพืชในมูล
 ไม่ กน
ิ นา้ และ อาหาร
 สั ตว์ จะล้ มตัวลงนอน
การป้ องกันและรักษา
: จัดสั ดส่ วนอาหารหยาบและอาหารข้ นให้ เหมาะสม
การรักษา
: ลดหรืองดให้ อาหารข้ น หรือเมล็ดธัญพืชตามความรุ นแรงของอาการ
 แบบไม่ รุนแรง : ให้ กระตุ้นการออกกาลังกาย ,ให้ หญ้ าแห้ ง งดอาหารข้ น
12-24 ชม.
 แบบปานกลาง :ให้ ใช้ MgO หรือ MgOH ผสมน้าให้ โคกิน
 แบบรุ นแรงหรื อเฉียบพลัน
: ต้ องล้ างท้ อง โดยน้าอุ่นลง เพือ่ เจือจางความเป็ นกรดในกระเพาะรู เมน

โรคไข้ นม (Milk fever) คืออะไร
 คือ อาการผิดปกติที่เกิดกับโคให้ นมในช่ วง 72 ชั่ วโมงหลังคลอด
เนื่องจากโคได้ รับอาหารไม่ เพียงพอในช่ วงให้ นมหลังคลอด
โดยเฉพาะ Ca
 ปัจจัยที่มีเกีย่ วข้ อง
 : พันธุ์ อายุ ปริ มาณการให้ นม ปริ มาณ Ca ที่ได้ รับ และ Ca ที่มี
อยู่ในร่ างกายโคนมในขณะนั้น
โรคไข้ นมมักเกิดกับโคนมที่ให้ ผลผลิตสู ง และโคนมที่เคยมีอาการ
ของโรคไข้ นมมาก่ อน หรือโคมีอายุ
โคที่เป็ นโรคไข้ นมมีอาการอย่างไร

มีอาการแบ่ งเป็ น 3 ระยะ คือ
1.ระยะที่โคยืน มีอาการตกใจง่ าย กล้ ามเนือ้ สั่ น ตัวสั่ น ตัวแข็งไม่
เคลือ่ นไหว อ่ อนเพลีย ไม่ กนิ อาหาร ขาหลังเหยียด , มีการบดเคีย้ ว
ฟัน
2.ระยะเซื่องซึมเริ่มไม่ รู้ สึกตัว อาจล้ มตัวลงนอนราบ โดยส่ วนอก
ติดกับพืน้ หรือ ท่ านอนปกติ แต่ หัวพับ จมูกแห้ ง มีอาการสะดุ้ง
อุณหภูมริ ่ างกายตา่ ลง
โคที่เป็ นโรคไข้ นมมีอาการอย่างไร(ต่ อ)
3.ระยะโคม่ า เป็ นระยะทีโ่ ค
นอนตะแคงข้ าง ขาแข็ง
เหยียดตรง และหัวใจเต้ นเร็ว
โคทีเ่ ป็ นโรคไข้ นม มีอาการขาแข็ง คอพับนอนตะแคงข้ าง
เพราะอะไรร่ างกายจึงขาด Ca
1.
2.
3.
4.
5.
ได้ Ca จากอาหารน้ อยแต่ ต้องใช้ มาก
ในอาหารมี Ca น้ อย
กินอาหารได้ น้อย
ขาด Mg ในอาหาร
ฮอร์ โมนที่เกีย่ วข้ องกับสมดุลของ Ca ทางานผิดปกติ
- Calcitonin, Parathyroid hormone, Estrogen
การป้ องกันโรคไข้ นม
 : ให้ อาหารทีม
่ ี Ca , P อย่ างเพียงพอ เช่ นเสริมแร่ ธาตุ หรือให้
อาหารหยาบสดเพือ่ เพิม่ ไวตามินดี หรือฉีด AD3 หรือ AD3E
การรักษา : ควรทาการรักษาก่ อนทีโ่ คจะล้ มลงนอน
- ถ้ าโคนอนให้ จดั ท่ านอนให้ นอนราบอกติดพืน้ ช่ วยกลับท่ านอนวัน
ละ3–4 ครั้ง ควรให้ ใต้ ร่มเงา
- แยกลูกออกจากแม่ รีดนมแต่ น้อย
- ฉีด Ca-borogluconate 400 – 800 ml (25% sol) เข้ าเส้ นเลือดดา
โรคไขมันนมต่า Low milk fat syndrome
คือ อาการผิดปกติที่ทาให้ โคให้ นา้ นมที่มีไขมันต่า
ไขมันในนมมีค่าต่า เนื่องจาก
- ไม่ มีแหล่งของ อะเซทเตท เพียงพอที่จะนาไปใช้ สร้ างไขมันนม
- ในทางตรงกันข้ ามร่ างกายกลับนาเอา Acetate ไปสร้ างเป็ นไขมัน
ร่ างกายแล้วเก็บสะสมไว้
- หรือนาอะเซทเตทไปสร้ างเป็ นกลูโคส โดยผ่ าน Gluconeogenesis
แทน
การป้ องกัน
: การจัดการด้ านการให้ อาหารโดยการให้ อาหารอย่ างเพียงพอ
กับความต้ องการ
: ให้ อาหารหยาบที่มีสัดส่ วนเหมาะสมกับอาหารข้ น
: เสริมไขมันในอาหารในรู ปของ protected fat
: ป้องกันการแปรรู ปอาหารคาร์ โบไฮเดรต เพราะจะทาให้ เกิด
propionic acid > acetic acid
Mg -tetany คืออะไร
 คืออาการที่เกิดขึน
้ เนื่องจากระดับ Mg ในเลือดลดต่ากว่าปกติ
 ในลูกโคเรี ยกว่ า whole milk tetany หรื อ Hypomagnesaemia
tetany for calves
 เกิดจากดูดซึมได้ น้อย หรื อท้ องเสี ยหลังคลอด
 ในแม่ โคเรี ยกว่ า Lactation tetany หรื อ grass tetany
อาการแสดงออก
 ลูกโค : ใบหูขยับไปมาตลอดเวลา ตกใจง่ าย มีอาการทางประสาท
สั่ นหัวไปมา หัวใจเต้ นเร็ว แต่ อุณหภูมิร่างกายปกติ อาการตัวเกร็ง
กล้ามเนือ้ เกร็ง
หากล้มลงนอนจะตายได้ ภายใน 1 ชั่วโมง
 แม่ โค: จะหยุดเคีย้ วเอือ้ งทันที ตกใจง่ าย กล้ ามเนือ
้ ลาตัวและใบหู
กระตุก เดินโซเซ มีอาการเกร็งที่ขา ขาแข็ง ขากรรไกรค้ าง นา้ ลาย
ไหล ล้ มลงนอน หายใจเร็ว อุณหภูมิสูง
ในแม่ โคหากรักษาไม่ ทันจะตายได้
อาการแสดงออกของ Tetanyในโค
โคทีเ่ กิดอาการชักเกร็ง หัวใจวายตาย
โคทีม่ อี าการทางประสาท จมูกสั่ น
การป้ องกัน
ในลูกโค -ให้ หญ้ าแห้ ง และเสริม MgO หรือไวตามิน D3
ในแม่ โค -ให้ เสริม MgO หรือ เสริมกากนา้ ตาล
- ให้ ปลูกพืชตระกูลถัว่ เสริมในแปลงหญ้ า
- เสริมเมล็ดธัญพืช
การรักษา
ในลูกโค - ฉีด MgSO4 10% solution จานวน 100 ซีซี
 ในแม่ โค - ฉีด Ca- Mg borogluconate หรื อ ฉีด Ca –
borogluconate(25% sol) และฉีดสารละลายเกลือของ
แมกนีเซียมเข้ าใต้ ผวิ หนัง( 5% Mg- hypophosphite)
