วิชา คน 410 อาหารและการให้อาหารโค Cattle feed and

Download Report

Transcript วิชา คน 410 อาหารและการให้อาหารโค Cattle feed and

วิชา สศ 402
โภชนศาสตร์ และการให้ อาหารโค
บทที่ 1
ระบบย่ อยอาหารในสั ตว์ เคีย้ วเอือ้ ง
Ruminant Digestive system
นักศึกษาจะได้ ทราบถึงความสาคัญของระบบย่ อยอาหาร
ส่ วนประกอบของระบบย่ อยอาหารความแตกต่ างของกระเพาะใน
สั ตว์ เคีย้ วเอือ้ ง การย่ อยอาหารและการดูดซึมโภชนะทีส่ ่ วนต่ างๆของ
ท่ อทางเดินอาหาร ความสาคัญของจุลนิ ทรีย์ในการย่ อยอาหาร
ทาไมต้ องรู้เรื่องระบบย่ อยอาหาร
 สั ตว์ ต้องกินอาหาร เพือ่ นาโภชนะในอาหารไปใช้ ในการดารงชีพ
และ ให้ ผลผลิต ทั้งในรู ปผลผลิตนม เนือ้ และ ขน
 ระบบย่ อยอาหารประกอบด้ วย : ท่ อทางเดินอาหารและอวัยวะที่
เกีย่ วข้ องกับการย่ อยอาหาร
ท่ อทางเดินอาหารของโค
- ต่ างจากสั ตว์ ปีกและสุ กร
เพราะกระเพาะอาหารที่มีการพัฒนามีขนาดใหญ่ เพือ่ ย่ อยหญ้ า
หรืออาหารเยือ่ ใย แบ่ งออกเป็ น 4 ส่ วนเห็นได้ อย่ างชัดเจน
- มีจุลนิ ทรีย์ในกระเพาะมากมาย เพือ่ ย่ อยอาหารทีก่ นิ โดยใช้
เอนไซม์ ทผี่ ลิตจากเซลล์ ของจุลนิ ทรีย์
หน้ าที่ของระบบย่ อยอาหาร
 นาอาหารเข้ าปาก (Prehension) หรือการกินอาหาร
(Ingestion)
 ย่ อยอาหาร (Digestion)
 ดูดซึมโภชนะ (Absorption)
 ขับถ่ ายของเสี ย (Excretion)
ส่ วนประกอบของระบบย่ อยอาหาร
 ท่ อทางเดินอาหาร (Digestive tract)
เริ่มจาก ปาก (Mouth) หลอดอาหาร (Esophagus) กระเพาะ
(Compound stomach) ลาไส้ เล็ก (Small intestine) ลาไส้ ใหญ่
(Large intestine) ทวารหนัก (Anus)
 อวัยวะทีเ่ กีย่ วข้ องกับการย่ อยอาหาร เช่ น ตับ (Liver) และ
ตับอ่ อน(Pancreas)
ท่ อทางเดินอาหารในโค
2.esophagus
1.mouth
4.rumen
caecum
5.omasum
8.large intestine
7.small intestine
3.reticulum
6.abomasum
อวัยวะภายในมองทางด้ านซ้ าย
อวัยวะภายในมองทางด้ านขวา
หน้ าที่ของท่ อทางเดินอาหาร
- นาอาหารเข้ าสู่ ปาก
- การย่ อยอาหาร
- การดูดซึมโภชนะ
- การขับถ่ ายของเสี ย
แต่ ละส่ วนของท่ อทางดินอาหารทาหน้ าที่แตกต่ างกันไป
ปาก
 ประกอบด้ วย ริมฝี ปาก ลิน
้ ฟัน ต่ อมนา้ ลาย และเพดานปาก
 หน้ าที่ :
นาอาหารเข้ าปาก
: ย่ อยอาหาร โดยการเคีย้ วอาหารให้ เล็กลง
: คลุกอาหารกับนา้ ลาย
: การเคีย้ วเอือ้ ง (Rumination)
: กลืนอาหาร (Swallowing)
การกินอาหารของโค
 ต่ างจากสุ กรและสั ตว์ ปีก เพราะไม่ มีฟันตัดด้ านบน แต่มีแผ่ นแข็ง
(dental pad) ทาหน้ าที่แทน
 ใช้ ริมฝี ปาก ลิน
้ ฟันตัดด้ านล่ างและ แผ่ นแข็ง
 เมื่ออาหารเข้ าปาก จะถูกคลุกกับนา้ ลาย และถูกเคีย้ วให้ เล็กลง
จากนั้นจึงถูกกลืนเข้ าหลอดอาหาร ไปสู่ กระเพาะส่ วนหน้า
ฟัน
 มีฟัน 2 ชุ ด ฟันนา้ นม และฟันแท้
 ฟันนา้ นมเมื่อหลุดออกและฟันแท้ จะขึน
้ มาแทนที่
ฟันนา้ นมมี 20 ซี่ ฟันแท้ มี 32 ซี่
ฟันนา้ นมมีขนาดเล็กกว่ าฟันแท้
การงอกของฟันแท้ ที่เป็ นฟันตัดด้ านหน้ าล่ าง ใช้ ทานายอายุโคได้
ลักษณะของฟันตัดด้ านหน้ าในโค
ฟันน้ ำนมในลูกโค ( 4 คู่) อำยุแรกเกิด- 2 ปี
ฟั นน้ ำนมหลุด ฟั นแท้เริ่ มงอก อำยุเกือบ 2 ปี
ต่ อมนา้ ลายในปาก
 มี ต่ อมเดีย่ ว และต่ อมคู่ มีนา้ ลาย 3 ชนิดคือ นา้ ลายชนิดใส
(Serous type) นา้ ลายชนิดข้ น(Mucous type) และนา้ ลายชนิด
กึง่ ข้ นกึง่ ใส (Mixed type)
 ส่ วนประกอบของนา้ ลาย - นา้ 99.5 %
- สารอินทรีย์ มิวซิน และ ยูเรีย
- สารอนินทรีย์ Na+ , K+ , Cl- ,HCO3-
น้าลายมีหน้ าที่อะไร
 ทาให้ อาหารอ่ อนนุ่ม กลืนง่ าย
 ลดค่ าความเป็ นกรดในกระเพาะรู เมน
 มีเอนไซม์ ช่วยย่ อยอาหาร
 ช่ วยป้ องกันการเกิดฟองของ Rumen fluid
 เป็ นแหล่ งอาหารของจุลน
ิ ทรีย์
 รั กษาสมดุลของของเหลวในกระเพาะรู เมน
การหลัง่ น้าลาย (Salivation)
เกิดขึน้ เมื่อมีการกินอาหารเข้ าสู่ ปาก และมีการขยอกอาหาร
ขึน้ มาเคีย้ วเอือ้ ง
ปัจจัยที่มีผลต่ อการหลัง่ นา้ ลาย
- ชนิดของอาหาร
- ความน่ ากินของอาหาร
- อากาศหรืออุณหภูมิ
เกิดอะไรขึน้ กับอาหารในปาก
 การเคีย้ วอาหาร
 การเคีย้ วเอือ้ ง
 มีการย่ อยอาหารโดยเอนไซม์
 มีการคลุกอาหารกับนา้ ลาย ช่ วยให้ กลืนง่ าย และเพิม
่ การละลาย
(Solubility)ได้ ของอาหาร
ลักษณะการเคีย้ วอาหารในปากเป็ นการเคีย้ วอาหารตาม
แนวนอน (Horizontal) ขาวด้ านซ้ ายไปขวาสลับกันไปมา
คอหอย หลอดอาหาร
 คอหอย(Pharynx)เป็ นท่ อมีลก
ั ษณะเป็ นรู ปกรวย เป็ นทางผ่ าน
ของอาหารและอากาศ
 หลอดอาหาร(Esophagus) เป็ นท่ อทางผ่ านของอาหารจากปาก
ไปกระเพาะและเป็ นทางทีอ่ าหารขยอกจากกระเพาะเข้ าปาก เพือ่
นามาเคีย้ วเอือ้ ง
 ไม่ มีการย่ อยอาหารและการดูดซึมอาหารเกิดขึน
้
กระเพาะรวม(Compound stomach)
1. กระเพาะรังผึง้ (Reticulum)
2. กระเพาะหมักหรือกระเพาะรู เมน (Rumen)
3. กระเพาะสามสิ บกลีบ (Omasum)
4. กระเพาะแท้ (Abomasum)
กระเพาะ 3 ส่ วนแรกเรียกว่ า กระเพาะส่ วนหน้ า (Fore stomach)
ภายในไม่ มีการหลัง่ เอนไซม์
กระเพาะรังผึง้
 อยู่ระหว่ างหลอดอาหารและกระเพาะรู เมน มีผนังเตีย้ ๆกัน
้
ระหว่ างกระเพาะรู เมนและกระเพาะรังผึง้ เฉพาะด้ านล่ างของ
กระเพาะ
 ผนังด้ านในเป็ นรู ปสี่ เหลีย่ มถึงหกเหลีย่ ม
 อาจเรียกว่ า Reticulo-rumen หรือ Rumino-reticulum
หน้ าที่ของกระเพาะรังผึง้
ทางานร่ วมกับกระเพาะรูเมน โดยใช้
การบีบตัวของกล้ามเนือ้
 เกีย่ วข้ องกับการส่ งอาหารขึน
้ ไปเคีย้ ว
เอือ้ งในปาก
 เกีย่ วข้ องกับการส่ งของเหลวหรือ
อาหารแทนนมเข้ ากระเพาะแท้ โดยไม่
ผ่ านกระเพาะรูเมน

กระเพาะรูเมน หรือกระเพาะหมัก
มีขนาดใหญ่ ทสี่ ุ ด ความจุ 80 %
ผนังด้ านในมีตุ่มยืน่ ออกมามากมาย
เรียกว่ า พาพิล่าร์ (Papillae) มีหน้ าที่
1. พัดโบกและคลุกเคล้าอาหาร
2. ทาให้ อาหารเคลือ่ นที่
3. ช่ วยดูดซึมโภชนะ VFA
4. เป็ นทีอ่ าศัยของจุลนิ ทรีย์

หน้ าทีข่ องกระเพาะรูเมน
 เกีย่ วกับการย่ อยอาหาร โดยการหมักอาหารในสภาพสุ ญญากาศ
เอนไซม์ ทยี่ ่ อยอาหารคือเอนไซม์ ทไี่ ด้ จากจุลนิ ทรีย์
 ทางานร่ วมกับกระเพาะรังผึง้ โดยการบีบตัวของกล้ ามเนือ้ ทาให้
เกิดการขยอกอาหารกลับไปเคีย้ วเอือ้ ง และส่ งอาหารทีย่ ่อยแล้ ว
ไปสู่ กระเพาะแท้ ต่อไป
ส่ วนประกอบภายในกระเพาะรูเมน
 สามารถแบ่ งออกเป็ น 3 ส่ วนคือ
1. ส่ วนล่ างเป็ นส่ วนของอาหารทีล่ ะเอียดแล้ วแขวนลอยใน
ของเหลวในกระเพาะ(Rumen fluid)
2. ส่ วนทีอ่ ยู่ตรงกลางเป็ นอาหารทีย่ งั มีขนาดใหญ่ แขวนลอยอยู่ รอ
การขยอกไปเคีย้ วเอือ้ ง
3. ส่ วนบนเป็ นส่ วนทีม่ ีก๊าซทีเ่ กิดจากการหมักอาหารโดยจุลนิ ทรีย์
การทางานของกระเพาะรูเมนและรังผึง้
 มี 2 กลไกคือ
1.
2.
Primary contraction (Mixing cycle) ทาให้ อาหารเก่ าผสมกับ
อาหารใหม่ และเคลือ่ นทีใ่ นกระเพาะ
Secondary contraction (Eructation) ทาให้ เกิดการบีบตัวของ
กระเพาะรังผึง้ อย่ างแรง จนเกิดการเรอก๊ าซและการขยอกอาหาร
มาเคีย้ วเอือ้ งในปาก
1.การกลืน
gas
gas
gas
4.การส่ งผ่านอาหาร
เข้ าไปในกระเพาะแท้
2.การคลุกอาหารเก่ าและใหม่
gas
3.การขยอกอาหารเพือ่ เคีย้ วเอือ้ ง
การเคีย้ วเอือ้ ง(Rumination)
 เป็ นขบวนการทีเ่ กิดขึน
้ ในสั ตว์ ทกี่ นิ พืชเป็ นอาหาร มีข้นั ตอนที่
1.
2.
3.
4.
เกีย่ วข้ องคือ
Regurgitation
Remastication
Resalivation
Reswalloing
กระเพาะสามสิ บกลีบ

มีความจุประมาณ 7 % ผนังภายใน
เป็ นกลีบเรียงซ้ อนกันคล้ายกลีบหัว
หอม แต่ ละกลีบเรียก Omasal leaves

อาหารที่เข้ ามาในกระเพาะมีลกั ษณะ
เป็ นของเหลวข้ น ผ่ านเข้ ามาทาง
Reticulo-omasal orifice
หน้ าที่ของกระเพาะสามสิ บกลีบ
 บีบนา้ ออกจากอาหาร และดูดซึมนา้ และแร่ ธาตุ อาหารทีแ่ ห้ งจะ
ถูกสะสมไว้ ทรี่ ะหว่ าง Omasal leaves
 ดูดซึมกรดไขมันทีร่ ะเหยง่ ายบางส่ วน 40-49%
 ส่ งอาหารไปยังกระเพาะแท้
กระเพาะแท้
 กระเพาะแท้ เรียกว่ า Abomasum
 มีการผลิตและหลัง่ เอนไซม์ จากเซลล์ เยือ
่ บุของผนังกระเพาะ
เรียกว่ า Gastric juice เป็ นของเหลวใสมีความเป็ นกรดสู ง ทาให้
กระเพาะแท้ มี pH เป็ นกรด
 หน้ าที่ ย่ อยอาหาร โดยเฉพาะโปรตีน และโปรตีนในนม
เอนไซม์ ที่ย่อยโปรตีนในนม
โปรตีนในนมคือ casein
 เอนไซม์ ทยี่ ่ อยคือ rennin และ pepsin

casein + rennin
paracasein + Ca
paracasein
calcium paracaseinate
prorennin + HCl
rennin
ลาไส้ เล็ก
เป็ นท่ อทางเดินอาหารมีลกั ษณะเป็ นท่ อยาว แบ่ งออกเป็ น 3 ส่ วน
1. Duodenum มีช่องเปิ ดของท่ อนา้ ดี และท่ อจากตับอ่ อน มี
เนือ้ เยือ่ ตับอ่ อนวางตัวอยู่ใกล้ ๆ
2. Jejunum
3. Ileum ต่ อกับลาไส้ ใหญ่
ลาไส้ เล็ก
 ถูกยึดโยงต่ อกันด้ วย
Mesentary
 ท่ อเปิ ดจากตับ คือ Common bile duct
 ท่ อเปิ ดจากตับอ่ อน คือ Pancreatic duct
ลาไส้ เล็กมีสภาพเป็ นด่ าง เป็ นบริเวณทีย่ ่ อยโภชนะต่างๆ เช่ น
โปรตีน คาร์ โบไฮเดรต ไขมัน ไวตามิน และแร่ ธาตุ
ลาไส้ ใหญ่
เป็ นท่ อทางเดินอาหารทีต่ ่ อจากลาไส้ เล็ก แบ่ งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ
1. Caecum มีจุลน
ิ ทรีย์อาศัยอยู่และมีการหมักอาหารเช่ นเดียวกับ
ในกระเพาะรู เมน
2. Colon
3. Rectum
ทวารหนัก (Anus)
 เป็ นส่ วนปลายสุ ดของท่ อทางเดินอาหาร
 หน้ าทีเ่ กีย่ วข้ องกับการขับถ่ ายกากอาหารหรื อมูล (Defecation)
 กล้ ามเนือ้ หูรูดทีเ่ กีย่ วข้ องกับการขับถ่ ายเรี ยกว่า Sphincter
muscle
ทาไมมูลโคมีสีเขียว

สี เขียวในมูลโคเกิดจากการสลายตัวของเม็ดสี ในนา้ ดีเป็ นสาร
Stercobilinogen และสี เขียวในพืชอาหารสั ตว์

มูลประกอบด้ วย : กากอาหาร นา้ ย่ อย นา้ ดี เอนไซม์ เซลล์ เยือ่ บุผวิ ที่
หลุดลอกออกมา ผลผลิตที่ได้ จากการหมักอาหาร เซลล์ ของจุลนิ ทรีย์
ที่ตายแล้ ว เกลือของสารอนินทรีย์ สารอินโดล
ตารางเปรียบเทียบความจุทางเดินอาหารในสั ตว์
ชนิดสั ตว์
โค
แพะ แกะ
ม้ า
สุ กร
กระเพาะ
71
67
9
29
ค่ าความจุ%
ลาไส้ เล็ก ไส้ ติ่ง
18
3
21
2
30
16
33
6
ไส้ ใหญ่
8
10
45
32
การย่ อยอาหาร(Digestion)
 หมายถึงขบวนการทีท
่ าให้ อาหารมีขนาดเล็กลง เพือ่ ให้ มีขนาด
เหมาะสมในการดูดซึมไปใช้ ประโยชน์
 การย่ อยอาหารแบ่ งเป็ น 3 ชนิดคือ
1. Mechanical digestion
2. Chemical digestion
3. Microbial digestion
การย่ อยอาหารของโค
 มี 2 ชนิดคือ
1.
การย่ อยอาหารโดยเอนไซม์ จากจุลนิ ทรีย์ ในส่ วนกระเพาะอาหาร
และ ลาไส้ ใหญ่
2. การย่ อยในตัวสั ตว์ โดยเอนไซม์ จากระบบทางเดินอาหาร
การย่ อยอาหารในปาก
มี 2 ขบวนการคือ
1. การย่ อยโดยวิธีกล ใช้ ฟันขณะกินอาหารและการเคีย้ วเอือ้ ง
2. การย่ อยทางเคมี ใช้ Pregastic lipase หรือ Salivary lipase
การย่ อยในกระเพาะรวม
กระเพาะส่ วนหน้ ามีการย่ อย 2 ชนิดคือ
1. การย่ อยโดยวิธีกล ใช้ การบีบตัวของกล้ ามเนือ้
2. การย่ อยโดยจุลน
ิ ทรีย์ ใช้ เอนไซม์ จากจุลนิ ทรีย์
ย่ อยโภชนะได้ ท้งั โปรตีน คาร์ โบไฮเดรต ไขมัน ไวตามิน แร่ ธาตุ

การย่ อยในกระเพาะรวม
การย่ อยในกระเพาะแท้ เป็ นการย่ อยโดยใช้ วธิ ีกลและวิธีทางเคมี
 มีเอนไซม์ คอ
ื HCl, Pepsin ,Rennin
 มีการย่ อยโปรตีน โดยเฉพาะโปรตีนในนมคือ Casein เมื่อเข้ ามา
ในกระเพาะจะถูกทาให้ เป็ นลิม่ แยกเวย์(Whey) ออกมา และเวย์
โปรตีนจะถูกย่ อยทีล่ าไส้ เล็ก
การย่ อยในลาไส้ เล็ก
การย่ อยมี 2 วิธี
 การย่ อยโดยวิธีกล ใช้ การบีบตัวของกล้ ามเนือ้ รอบลาไส้
 วิธีเคมี ใช้ เอนไซม์ จากเซลล์ เยือ
่ บุผนังลาไส้
และเนือ้ เยือ่ จากตับ
อ่ อน โดยใช้ นา้ ดีจากตับช่ วยในการย่ อยไขมัน
การย่ อยในลาไส้ ใหญ่
 เกิดจากการย่ อยโดยเอนไซม์ จากจุลน
ิ ทรีย์ ส่ วนใหญ่ เกิดขึน้ ที่ไส้
ติ่ง นอกจากนีม้ ีการสั งเคราะห์ ไวตามินเกิดขึน้ ด้ วย
 การย่ อยอาหารเป็ นการหมักอาหารโดยจุลน
ิ ทรีย์เช่ นเดียวกับการ
หมักทีเ่ กิดขึน้ ในกระเพาะรู เมน
การดูดซึมโภชนะ
 ในปากมีการดูดซึม กรดไขมันบางส่ วน
 ในกระเพาะส่ วนหน้ า มีการดูดซึม VFA ไวตามิน แร่ ธาตุ NH3
 ในกระเพาะแท้ มีการดูดซึม กรดอะมิโน
 ในลาไส้ เล็กมีการดูดซึมรู ปกรดอะมิโน กรดไขมัน กลีเซอรอล
และไคโรไมยครอน (Chylomycron) และ Glucose
การพัฒนาของกระเพาะอาหาร
 เมื่อแรกเกิดระบบทางเดินอาหารจะยังไม่ พฒ
ั นาย่ อยหญ้ าไม่ ได้
ในระยะแรกเกิดระบบทางเดินอาหารจึงทางานเหมือนในสั ตว์
กระเพาะเดีย่ วเช่ นสุ กร
 เมื่อได้ กน
ิ หญ้ าและอาหารข้ นกระเพาะส่ วนหน้ าจะมีการพัฒนา
ทั้งขนาดโครงสร้ าง ความหนาและเยือ่ บุผนังกระเพาะ
ทาไมต้ องกระเพาะมีการพัฒนา
 เนื่องจากลูกโคยังกินหญ้ าไม่ ได้ แม้ ว่ากระเพาะจะมี 4 ส่ วน
หรือ 4 กระเพาะ
แต่ กระเพาะหมักยังทางานไม่ ได้ เนื่องจาก
 ผนังด้ านในกระเพาะยังไม่ พฒ
ั นา
 ยังไม่ มีจุลน
ิ ทรีย์อาศัยอยู่
การพัฒนากระเพาะอาหาร
 กระเพาะแท้ พฒ
ั นาน้ อยทีส่ ุ ด
 กระเพาะรู เมนพัฒนามากทีส
่ ุด
ปัจจัยที่มีผลต่ อการพัฒนาของกระเพาะคือ อาหาร และ สารเคมี
อาหารควรมีสภาพเป็ นของแข็ง ให้ อาหารเหลวกระเพาะไม่ พฒ
ั นา
เมื่อมีการหมักในกระเพาะและเกิด กรดไขมันระเหยง่ าย จะมี
ส่ วนช่ วยในการพัฒนากระเพาะด้ วย
การพัฒนาของกระเพาะอาหารในโค
หลอดอาหาร
กระเพาะแท้
1 สั ปดาห์
ท่ อส่ งนา้ นม(esophageal groove)
กระเพาะสามสิ บกลีบ
3-4 เดือน
กระเพาะรังผึง้
กระเพาะรูเมน
โตเต็มที่
เปรียบเทียบการพัฒนากระเพาะส่ วนต่ างๆ
ความจุของกระเพาะทั้งหมด (%)
อายุโค
เกิด- 2 สั ปดาห์
8 สั ปดาห์
กระเพาะแท้
70
50
กระเพาะส่ วนหน้ า
30
50
3-4 เดือน
โตเต็มที่
25
<10
75
>90
จุลนิ ทรีย์ในกระเพาะรูเมน
 ความสาคัญคือทาหน้ าทีย่ ่ อยอาหารทีส
่ ั ตว์ กนิ และเป็ นอาหาร
ของสั ตว์ เมื่อถูกย่ อยในกระเพาะแท้ และลาไส้ เล็ก
กระเพาะรู เมนมีความเหมาะสมในการเจริญเติบโตคือ
มีอาหารตลอดเวลา มี pH ที่เหมาะสมในการเจริญ 5.5-7.0 มี
อุณหภูมิ 39-40 องศาเซลเซียส มีสภาพไร้ อากาศ
ประเภทของจุลนิ ทรีย์
 มี 3 ประเภทคือ
Bacteria
2. Protozoa แบ่ งเป็ น ciliated protozoa และflagellated protozoa
3. Anaerobic fungi
ประเภทที่ 1 และ 2 มีมากทีส่ ุ ดและอยู่ร่วมกัน
1.
ลักษณะการกระจายของแบคทีเรีย
1.ลอยอยู่ในของเหลว (Rumen fluid organism)
2. เกาะอยู่กบั ชิ้นอาหาร (Microorganism adherent to feed)
3.เกาะกับผนังกระเพาะ (Bacteria adherent to rumen
epithelium)
4. เกาะกับโปรโตซัว
ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อจานวนจุลนิ ทรีย์
1.อาหาร ทั้งกลุ่มทีเ่ ป็ นแหล่ งพลังงานและแหล่ งไนโตรเจน
ใช้ พลังงานเป็ นแหล่ งสาหรับการเจริญเติบโตและการดารงชี พ
ใช้ ไนโตรเจนในการแบ่ งเซลล์ เพิม่ จานวน
2. สภาพแวดล้ อมในกระเพาะ
การได้ มาของจุลนิ ทรีย์ในกระเพาะรูเมน
 ได้ จากแม่
 จากสิ่ งแวดล้ อม
 ได้ จากอาหาร และ นา้
ชนิดของจุลนิ ทรีย์ในกระเพาะรูเมน
อาศัยในสภาพไม่ มีอากาศ
 ให้ ผลผลิตทีส
่ ามารถพบได้ ในกระเพาะรูเมน
 มีการแข่ งขันกันด้ านการเจริญเติบโต
 สามารถปรับตัวให้ เข้ ากับอาหารทีส
่ ั ตว์ กนิ ได้
คุณสมบัติทเี่ หมาะสมในกระเพาะรูเมนคือ pH5.5-7.0, T 39-40oC, มีการ
หมุนเวียนของอาหาร มีการระบายผลผลิต

การแบ่ งแยกชนิดของแบคทีเรีย
 Cellulolytic bacteria
 Hemicellulolytic bacteria
 Amylolytic bacteria
 Proteolytic bacteria
 Lipolytic bacteria
 Bacteria utilizing sugar
การแบ่ งแยกชนิดของแบคทีเรีย
 Ammonia producing bacteria
 Bacteria producing methane
 Bacteria utilizing acid
 Vitamin synthesizing organism
ผลผลิตจากการหมักคือกรดไขมันระเหยง่ าย
Protozoa
 Ciliated protozoa
 Flagellated protozoa
 Sub-class : Holotrichia
: Spirotrichia
Protozoa มีขนาดเซลล์ ใหญ่ กว่ า bacteria และกิน bacteria เป็ น
อาหาร การอยู่ร่วมกันเป็ นแบบ symbiosis