น้อย-2557

Download Report

Transcript น้อย-2557

ฉลากอาหารและการเลือกซื้อ
•
•
•
•
ประเภทของอาหารทีต่ อ้ งมีฉลาก
ความรูท้ วไปเกี
ั่
ย่ วกับฉลากอาหาร
หลักในการพิจารณาฉลากอาหารและตัวอย่างฉลาก
ข้อพิจารณาในการเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์อาหาร
ฉลากอาหาร
• อาหารตามคานิยามตามกฎหมายมาตรา 4 พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.
2522
• อาหาร หมายถึง ขอกินหรือเครื่องคา้ จุนชีวิตได้แก่
(1) วัตถุทกุ ชนิดที่คนกิน ดื่ม อม หรือนาเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ
หรือในรูปลักษณะใด ๆ แต่ไม่รวมถึงยา วัตถุออกฤทธ์ ิ ต่อจิตและประสาน
หรือยาเสพติดให้โทษ ตามกฎหมายว่าด้วยการนัน้ แล้วแต่กรณี
(2) วัตถุที่ม่งุ หมายสาหรับใช้หรือใช้เป็ นส่วนผสมในการผลิตอาหาร
รวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร สีและ เครื่องปรุงแต่งกลิ่นรส
ประเภทของอาหาร ที่แบ่งตาม
พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522
แบ่งเป็ น 4 ประเภทคือ




อาหารควบคุมเฉพาะ
อาหารทีก่ าหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน
อาหารทีต่ อ้ งมีฉลาก
อาหารทัวไปอื
่ ่นๆ
ฉลากอาหาร
สิ่งที่ผบ้ ู ริโภคควรพิจารณาฉลาก ก่อนการเลือกซื้อ ที่สาคัญ ได้แก่
1. ชื่อของอาหาร ( โดยมีชื่อภาษาไทยอย่างชัดเจน อาจมีภาษาอังกฤษควบคู่ด้วย แต่ต้อง
แปลแล้วมีความหมายเดียวกับภาษาไทยที่เป็ นชื่อ )
2. เลขทะเบียนตารับอาหาร สาหรับอาหารที่ต้องขึน้ ทะเบียน หรือเลขที่อนุญาตให้ใช้ฉลาก
อาหาร ที่ได้รบั อนุญาตแล้วจาก อย. หรือ สสจ. มี 13 หลัก
3. ชื่อและที่ตงั ้ ของผูผ้ ลิตหรือแบ่งบรรจุเพื่อการจาหน่ าย ( หรือการนาเข้า ) อย่างชัดเจน
4. ปริมาณของอาหารเป็ นน้าหนักสุทธิหรือปริมาณสุทธิเป็ นระบบเมตริกเช่น กรัม ,
มิลลิลิตร
5. ส่วนประกอบที่สาคัญเป็ นร้อยละหรือ เปอร์เซ็นต์โดยน้าหนัก โดยประมาณเรียงลาดับ
จากมากไปหาน้ อย
6. การแสดงวัน เดือน ปี ที่ผลิต หรือวันเดือนปี ที่หมดอายุ หรือวันเดือนปี ที่ อาหารยังมี
คุณภาพหรือมาตรฐานดี โดยมีข้อความว่า ผลิต หมดอายุ หรือควรบริโภค ผูผ้ ลิตบางครัง้
ระบุวนั ผลิตเป็ นภาษาอังกฤษเช่น MFD.( manufacturing date ) และ โดยวันหมดอายุจะ
ระบุเป็ น EXP. ( Expire date )
5
รายละเอียดบนฉลากอาหาร
–ชือ่ อาหาร
–สถานทีผ่ ลิตหรือนาสังอาหาร
่
–ส่วนประกอบทีส่ าคัญโดยประมาณ
–ส่วนประกอบเพิม่ เติม (ถ้ามี)
–ปริมาตรหรือปริมาณสุทธิ เป็ นระบบเมตริก
–เลข อย. หรือ เลขสารบบอาหาร จานวน 13 หลัก
–วัน เดือน ปี ทีผ่ ลิต หรือ หมดอายุ หรือควรบริโภคก่อน
ส่ วนประกอบฉลากอืน่ ๆ “ถ้ ามี” จึงจะแสดงบนฉลากได้ แก่
1. คาแนะนาในการเก็บรักษา
2. วิธีการปรุงเพื่อการรับประทาน
3. ใช้วตั ถุกน
ั เสีย
4. เจือสีธรรมชาติหรือเจือสีสงั เคราะห์
5. ใช้วตั ถุปรุงแต่งรสอาหารและระบุชนิดด้วย
6. แต่งกลิ่น ธรรมชาติ แต่งกลิ่นสังเคราะห์
หรือแต่งกลิ่นเลียนธรรมชาติแล้วแต่กรณี
7. ฉลากโภชนาการ
7
72-1-01523-1-0008
8
ตัวอย่างฉลากอาหาร
9
ตัวอย่างฉลากอาหาร
ส่ วนประกอบ
วันผลิต
ฉลากโภชนาการ
ชื่ออาหาร
วันหมดอายุ
ผู้ผลิต
ผู้นาเข้ า
เลขสารบบ
ปริมาณสุ ทธิ
10
โฆษณา
อวดอ้าง
ฉลากอวดอ้างสรรพคุณ
อวดอ้างผ่าน
ภาพลักษณ์ที่ดดู ี
อวดอ้างผ่านภาพลักษณ์
เพื่อสุขภาพ
การตัง้ ซุ้มประชาสัมพันธ์ และทดลองสินค้า
โฆษณาอวดอ้างสรรพคุณ ผ่าน Website
โฆษณาอวดอ้างสรรพคุณ ผ่าน Website
อวดอ้างภาพผลลัพธ์เพื่อโน้ มน้ าวผูบ้ ริโภค
อาหารเสริมอวดอ้างสรรพคุณ
อาหารเสริมอวดอ้างสรรพคุณ
รูปแบบการจาหน่ ายซึ่งโฆษณาอวดอ้าง ผ่านทาง Website
รูปแบบการส่งเสริมการขาย และโฆษณาอวดอ้าง ผ่าน Website
ฉลากไม่มีภาษาไทย
อาหาร กับ โภชนาการ
• อาหาร หมายความว่า ของกินหรือเครื่องคา้ จุนชีวิต ได้แก่ วัตถุ
ทุกชนิดที่คนกิน ดื่ม อม หรือนาเข้าสู่ร่างกายไม่วา่ ด้วยวิธีใด ๆ
หรือในรูปลักษณะใด ๆ แต่ไม่รวมถึงยา วัตถุออกฤทธ์ ิ ตอ่ จิตและ
ประสาท หรือยาเสพติดให้โทษตามกฎหมายว่าด้วยการนัน้
• โภชนาการ หมายถึง ความต้องการของสารอาหาร การ
เปลี่ยนแปลงของอาหารในร่างกาย ซึ่งร่างกายต้องการ
สารอาหารเพื่อใช้ในการดารงชีวิต
24
อาหารหลัก ..?.. หมู่
หมู่ที่ 1 เนื้ อสัตว์ต่างๆ ไข่ ถัวเมล็
่ ดแห้ง นมนม เป็ นแหล่งโปรตีนที่
ดีสามารถนาไปเสริมสร้าง ร่างกายให้เจริญเติบโตและ
ซ่อมแซมเนื้ อเยื่อที่เสื่อมให้อยู่ในสภาพปกติ
25
อาหารหลัก 5 หมู่
หมู่ที่ 2 ข้าว แป้ ง น้าตาล หัวเผือก มันมีสารอาหารคาร์โบไฮเดรต
เป็ นแหล่งอาหารสาคัญที่ให้พลังงาน ผลิตภัณฑ์จากข้าว
และธัญพืชอื่น ที่ให้พลังงานเช่นเดียวกับข้าว ได้แก่
ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน บะหมี่ วุ้นเส้น ไม่ควรกินมากเกินความ
ต้องการเพราะจะทาให้เกิดโรคอ้วน
26
อาหารหลัก 5 หมู่
หมู่ที่ 3 ผักใบเขียวและพืชผักอื่นๆ อาหารหมู่นี้ จะให้วิตามินและ
เกลือแร่แก่ร่างกาย ช่วยเสริมสร้างทาให้ร่างกายแข็งแรงมี
แรงต้านทานเชื้อโรคและช่วยให้อวัยวะต่างๆ ทางานได้
อย่างเป็ นปกติ
27
อาหารหลัก 5 หมู่
หมู่ที่ 4 ผลไม้ต่างๆ ผลไม้ต่างๆ จะให้วิตามินและเกลือแร่ ช่วยทา
ให้ร่างกายแข็งแรงมีแรงต้านทานโรคและมีกากอาหาร
ช่วยทาให้การขับถ่ายของลาไส้เป็ นปกติ
28
อาหารหลัก 5 หมู่
หมู่ที่ 5 ไขมันจากสัตว์และพืชไขมันและน้ามัน จะให้สารอาหาร
ประเภทไขมันมาก จะให้พลังงานแก่ร่างกาย ทาให้ร่างกาย
เจริญเติบโตร่างกายจะสะสมพลังงานที่ได้ไว้ใต้ผิวหนังตาม
ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ไขมันที่สะสมไว้เหล่านี้ จะให้
ความอบอุ่นแก่ร่างกายและให้พลังงานที่สะสมไว้ใช้ในเวลา
ที่จาเป็ นระยะยาว
29
ฉลากโภชนาการแบบ
ฉลากโภชนาการ
ส่วนที่ 1 หนึ่ งหน่ วยบริ โภคจานวนหน่ วยบริโภค
เต็ม ม
แบบเต็
ส่วนที่ 2
คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่ งหน่ วยบริโภค:
สารอาหารหลัก
ส่วนที่ 3
คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่ งหน่ วยบริโภค:
วิ ตามิ นและแร่ธาตุ
ฉลากโภชนาการ
แบบเต็ม
ส่วนที่ 4 ข้อมูลความต้องการพลังงานและสารอาหาร
ส่วนที่ 5 ข้อมูลการคานวณพลังงาน
30
ฉลากโภชนาการแบบย่อ
32
ฉลากโภชนาการ
33
ฉลากโภชนาการ
34
ฉลากโภชนาการ
35
ประโยชน์ ของฉลากโภชนาการ
เลื อกซื้ ออาหารและเลือกบริโภคให้ เหมาะสมกับความ
ต้ อ งการ หรื อ ภาวะทางโภชนาการของตนได้ เช่ น ผู้ที่ มี
โคเลสเตอรอลสูง ก็เลือกอาหารที่ ระบุว่ามีไขมันอิ่มตัวตา่
หรือ ผูท้ ี่เป็ นโรคไตก็เลือกอาหารมีโซเดียมตา่
1.
2. เปรียบเที ยบเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารชนิดเดียวกัน
โดยเลือกที่มีคณ
ุ ค่าทางโภชนาการที่ดีกว่าได้
36
คุณค่าทางโภชนาการ........
ความแตกต่างที่เลือกได้
37
3 ลด 3 งด 3 เพิ่ม
3
เพิ่ม ปลา ผัก ธัญพืช
3
งด อาหารหวาน-มันและแอลกอฮอล์
3
ลด แป้ง น้าตาลเครือ่ งดื่มรสหวาน
กินเป็น เน้นผัก ระวังภัย หวาน-มัน-เค็ม
เติมเต็มออกกาลังกาย
การคานวณน้าหนักมาตรฐาน
ค่าดัชนีมวลกาย
คือ ค่าดัชนีที่คานวณจากน้าหนักและส่วนสูง
สูตรการคานวณ = น้าหนัก (กิโลกรัม)
ส่วนสูง (เมตร)2
ใช้เปรียบเทียบความสมด ุลระหว่างน้าหนักตัวต่อความสูงของมน ุษย์
การแปลผลค่าดัชนีมวลกาย
น้าหนักน้อย
น้าหนักปกติ
น้าหนักเกิน
โรคอ้วน
อ้วนมาก
อ้วนอันตราย
BMI
(กก/ต.ร.ม)
< 18.5
18.5-22.9
23-24.9
25-29.9
30-39.9
> 40
Obesity class
(ระดับความอ้วน)
อ้วนระดับ 1
อ้วนระดับ 2
อ้วนระดับ 3
การคานวณพลังงาน
ตัวอย่าง เบาหวิว น้าหนัก 65 กก. สูง 160 ซม.
ทางานตาแหน่ง พนักงานคอมพิวเตอร์
ค่าดัชนีมวลกาย(BMI) = 65 / (1.6x1.6)
=
25.4 = อ้วน ระดับ 1