เลือกบริโภคอาหารเป็นห่างไกลโรค - โครงการจัดบริการให้คำปรึกษาผู้ป่วย

Download Report

Transcript เลือกบริโภคอาหารเป็นห่างไกลโรค - โครงการจัดบริการให้คำปรึกษาผู้ป่วย

ประวัตผิ ู้บรรยาย
เรืออากาศเอกหญิง ณัฐพัชร์ ถิรไชยพันธุ์
ตาแหน่ ง รองหัวหน้าฝ่ ายโภชนาการ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช พอ.
ประวัติการศึกษา
ปี 2531 คณะสาธารณสุ ขศาสตร์ (วทบ.) โภชนวิทยา
ประวัติการทางาน
ปี 2531
ปี 2532 - 2536
ปี 2536 - 2543
ปี 2543 - ปัจจุบนั
บ.ไทยเพรสซิเด้นท์ฟดู้ จากัด
รพ. รามคาแหง หัวหมาก
รพ.ศรี สยาม บึงกุ่ม
รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.
หัวข้ อบรรยาย







โภชนบัญญัติ 9 ประการ
อาหารแลกเปลี่ยน
อาหารโรคเบาหวาน
อาหารโรคหลอดเลือดสมอง
อาหารโรคหอบหื ด
อาหารโรคปอดอุดกั้นเรื้ อรัง
อาหารโรคความดันโลหิ ตสูง






อาหารกับโรคหัวใจ
ผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารจาเป็ นหรื อไม่
ความรู ้เรื่ องสมุนไพรไทย
อาหารทางการแพทย์
ฉลากโภชนาการ
ไขมัน
โภชนบัญญัติ 9 ประการ
1. กินอาหารให้ ครบ 5หมู่
แต่ ละหมู่ให้ หลากหลาย
1.1 เพือ่ ให้ ได้ สารอาหารที่
ร่ างกายต้ องการครบถ้ วน
โภชนบัญญัติ 9 ประการ
1. กินอาหารให้ ครบ 5หมู่
แต่ ละหมู่ให้ หลากหลาย
1.2 เพือ่ ให้ มีนา้ หนักตัวอยู่ในเกณฑ์
มาตรฐาน ไม่ อ้วน หรือผอมจนเกินไป
โภชนบัญญัติ 9 ประการ
2.กินข้ าวเป็ นหลักสลับกับอาหาร
ประเภทแป้ งเป็ นบางมือ้
โภชนบัญญัติ 9 ประการ
3. กินพืชผักให้ มาก และทาน
ผลไม้ เป็ นประจา
โภชนบัญญัติ 9 ประการ
4.1 ทานปลา เนือ้ สั ตว์ ไม่ ติดมัน
ไข่ และเมล็ดถั่วแห้ งเป็ นประจา
โภชนบัญญัติ 9 ประการ
4.2 หลีกเลีย่ งเนือ้ สั ตว์ ที่มีไขมัน
ปริมาณโคเลสเตอรอลในอาหารทีก่ นิ ได้ นา้ หนัก 100 กรัม
ชนิดอาหาร









สมองหมู
ไข่ไก่ท้ งั ฟอง
ไข่เป็ ดทั้งฟอง
ตับเป็ ด
ตับไก่
ไข่ปลา
ตับหมู
แคบหมูติดมัน
ปลาหมึกกล้วย
โคเลสเตอรอล (มิลลิกรัม)
2,552
548
884
515
439
374
355
328
223
ปริมาณโคเลสเตอรอลในอาหารที่กนิ ได้ นา้ หนัก 100 กรัม
ชนิดอาหาร








กุง้
เนื้อหมู(ไม่ติดมัน)
เนื้อไก่(ไม่ติดมัน,หนัง)
เนยแข็ง
เบคอนทอด
ปลาทะเล
ปลาน้ าจืด
ไข่ขาว
โคเลสเตอรอล (มิลลิกรัม)
152
105
95
94
81
68
36
0
ระดับไขมันในเลือดต่ อภาวะการเกิดหัวใจขาดเลือด
โคเลสเตอรอล
น้อยกว่า 193 มก./ดล
200 ถึง 249 มก./ดล
มากกว่า 250 มก./ดล
ความเสี่ยง
ปกติ
ค่อนข้างสูง
สูง
โภชนบัญญัติ 9 ประการ
5. ดืม่ นมให้ เหมาะตามวัย
โภชนบัญญัติ 9 ประการ
6. กินอาหารที่มีไขมันแต่ พอควร
โภชนบัญญัติ 9 ประการ
7.หลีกเลีย่ งการกินอาหาร
รสหวานจัด เค็มจัด
ระดับนา้ ตาลกลูโคสในกระแสโลหิต
กลโู คส (Glucose)
ค่าปกติ 90-100 มก./ดล
มากกว่า 100-120 มก./ดล
มากกว่า 120
มก./ดล
ความเสี่ยง
ปกติ
เริ่ มสูง
สูง
โอกาสเกิดภาวะ
เบาหวาน ถ้ามีปัจจัย
ร่ วม เช่น อ้วนมาก
โภชนบัญญัติ 9 ประการ
8. กินอาหารทีส่ ะอาด
ปราศจากสารปนเปื้ อน
โภชนบัญญัติ 9 ประการ
9. งดหรือลดเครื่องดื่มที่มี
แอลกอฮอล์
คาถาม
อาหารแลกเปลีย่ น
Food Exchange List
อาหารแลกเปลีย่ นคืออะไร
อาหารแลกเปลี่ยนหรื อรายการอาหารแลกเปลี่ยนคือ แนวทางที่ช่วยทาให้การ
วางแผนการจัดรายการอาหารเป็ นไปได้อย่างเหมาะสมกับสุ ขภาพและความต้องการของ
แต่ละบุคคล ซึ่ งดูแล้วคล้ายกับการใช้แผนที่ช่วยในการขับรถเพื่อให้การเดินทางถึงที่
หมายลักษณะของรายการอาหารแลกเปลี่ยนมีดงั นี้
1.ใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบต
ั ิตนทางด้านอาหารที่กาหนดไว้
2.ทาให้สามารถกาหนดหรื อคานวณปริ มาณพลังงานที่ได้รับจากอาหารทั้งหมดในแต่ละ
วันได้ง่าย
3.การจัดรายการอาหารโดยใช้อาหารแลกเปลี่ยนจะสามารถเลือกชนิ ดของอาหารหรื อ
สับเปลี่ยนอาหารที่พอใจได้ มีความยืดหยุน่ ในเรื่ องการกาหนดรายการอาหารทั้ง
สามารถเลือกเวลาของการรับประทานอาหาร (เวลาของมื้ออาหาร)ได้ตามต้องการ
4.ดังนั้นจึงสรุ ปว่า อาหารแลกเปลี่ยนเป็ นวิธีการที่ใช้ในการคานวณหรื อกาหนดปริ มาณ
อาหารชนิดต่างๆ ที่สามารถนาไปใช้ในการจัดรายการอาหารให้ได้พลังงาน
คาร์ โบไฮเดรต โปรตีน และไขมันตามกาหนด
เป้ าหมายของการใช้ อาหารแลกเปลีย่ น




ปัจจุบนั เมื่อแนวคิดของอาหารแลกเปลี่ยนถูกนามาใช้สาหรับการคานวณอาหาร
และช่วยในการจัดรายการอาหารสาหรับผูป้ ่ วยและคนทัว่ ไปอย่างแพร่ หลายนั้น เรา
ควรมาทาความเข้าใจเกี่ยวกับเป้ าหมายของการใช้อาหารแลกเปลี่ยนซึ่ งมีดงั ต่อไปนี้
เพื่อให้ผปู้ ่ วย (หรื อผูม้ ีปัญหาทางโภชนาการ) มีสุขภาพที่ดี และมีโภชนาการอยูใ่ น
เกณฑ์ปกติ
เพื่อให้สามารถรักษาน้ าหนักตัวให้คงที่และเหมาะสมในช่วงการรักษา
เพื่อให้ได้รับอาหารเพียงพอต่อการเจริ ญเติบโต หรื อให้มีภาวะโภชนาการที่ดีใน
ขณะที่ร่างกายมีความต้องการอาหารเพิ่มขึ้น เช่น ในเด็กที่กาลังเจริ ญเติบโต หญิง
ตั้งครรภ์หญิงให้นมบุตร
ช่วยป้ องกันหรื อชะลอการเกิดโรคแทรกซ้อนที่เป็ นอันตายสาหรับผูท้ ี่เป็ น
โรคเบาหวาน เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไต เป็ นต้น
อาหารแลกเปลีย่ นมีประโยชน์ อย่างไร




โดยหลักการของ “อาหารแลกเปลี่ยน” สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้หลาย
ประการดังนี้
สามารถใช้ประมาณค่าพลังงานและสารอาหารให้พลังงาน คือ คาร์ โบไฮเดรต
โปรตีน และไขมัน ได้ทนั ทีเมื่อทราบปริ มาณอาหารและปริ มาณว่าเป็ นจานวนกี่ส่วน
เช่น ข้าวสาร 1 จาน ปริ มาณได้เป็ นข้าวสุ ก 1 ถ้วยตวง เท่ากับข้าวสุ ก 2 ส่ วน สามารถ
บอกได้วา่ ทั้งจานนี้ ให้พลังงาน 200 กิโลแคลอรี่ คาร์ โบไฮเดรต 46 กรัม และโปรตีน
4 กรัม เป็ นต้น
สามารถแลกเปลี่ยนอาหารหมวดต่างๆ ให้มีพลังงานความต้องการได้เมื่ออยูใ่ นภาวะ
ต้องควบคุมอาหาร
สามารถนาไปใช้ในการคานวณกาหนดส่ วนต่างๆ ให้มีพลังงานและสารอาหารให้
พลังงานตามที่แพทย์หรื อนักโภชนาการกาหนดเพื่อการให้โภชนบาบัดที่เหมาะสม
แก่ความต้องการของผูป้ ่ วยโดยเฉพาะ โรคเบาหวาน
หลักการของอาหารแลกเปลีย่ น
รายการอาหารแลกเปลี่ยนได้แบ่งอาหารชนิดต่างๆ ออกเป็ น 6 หมวดด้วยกัน
 หมวดนมและผลิตภัณฑ์นม
 หมวดผัก
 หมวดผลไม้
 หมวดข้าว แป้ ง และขนมปั ง
 หมวดเนื้ อสัตว์
 หมวดไขมัน

สาเหตุที่มีการแบ่งอาหารออกเป็ น หมวดหมู่หรื อเป็ นรายการดังกล่าวนั้น เนื่องจาก
อาหารแต่ละชนิดจะมีคุณค่าอาหารโดยเฉพาะคุณค่าของอาหารที่ให้พลังงานได้แก่
คาร์ โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน และจานวนพลังงานแตกต่างกัน ดังนั้น จึงได้จดั อาหาร
เป็ นหมวดหมู่โดยใช้ปริ มาณของพลังงานและสารอาหารที่ให้พลังงานทั้งสามเป็ นหลัก
โดยกาหนดปริ มาณหรื อน้ าหนักของอาหารแต่ละชนิ ดที่คนทัว่ ไปบริ โภคอาหารชนิด
นั้น ได้ต่อ 1 ครั้งซึ่ งเรี ยกว่า 1 ส่ วน (Serving) ซึ่ งเป็ นส่ วนของอาหารการกินได้เป็ น
น้ าหนักของอาหารสุ ก ดังนั้น อาหารภายในแต่ละหมวดในปริ มาณที่กาหนดคือ 1 ส่ วน
อาจมีน้ าหนักและปริ มาณแตกต่างกัน แต่จะมีจาพวกพลังงานในปริ มาณเท่ากัน และมี
ปริ มาณคาร์ โบไฮเดรต โปรตีน และไขมันที่ใกล้เคียงกัน จึงสามารถแลกเปลี่ยนกันหรื อ
ใช้แทนกันภายในหมวดได้ ตัวอย่างเช่น ผลไม้ 1 ส่ วน ถ้าเป็ นกล้วยน้ าว้าจะเท่ากับ 1
ผลเล็ก และส้มเขียวหวานเท่ากับส้มเขียวหวาน 2 ผล จะมีปริ มาณที่ต่างกัน แต่จะให้
สารอาหารและให้พลังงานเท่ากันจึงสามารถใช้แทนกันได้ ปริ มาณพลังงานและคุณค่า
ของสารอาหารหลักของอาหารแลกเปลี่ยน 1 ส่ วน ของอาหารแลกเปลี่ยนแต่ละรายการ
ได้สรุ ปแสดงในตารางที่ 1
รายการอาหารแลกเปลีย่ น 6 หมวด มีดังนี้






หมวดข้าวแป้ ง ( Bread and Cereal Exchange)
หมวดผลไม้
( Fruit Exchange)
หมวดน้ านม
( Milk Exchange)
หมวดผัก (Vegetable Exchange)
หมวดเนื้อสัตว์ ( Meat Exchange)
หมวดไขมัน
(Fat Exchange
หมวดข้ าวแป้ ง


อาหารหมวดแป้ ง 1 ส่ วน มีคุณค่า
อาหาร ดังนี้
คาร์โบไฮเดรท 18 กรัม โปรตีน 2
กรัม ไขมันเล็กน้อย พลังงาน 80
แคลอรี่ มีปริ มาณแตกต่างกัน ดังนี้
ชนิดอาหาร
ปริ มาณ
-
ข้าวสุ ก
1/2
ถ้วย
55-65
-
ข้าวต้ม
2/3
ถ้วย
150
-
ข้าวเหนียว
นึ่ง
1/4
ถ้วย
35
2/3
ถ้วย
90
- เส้นหมี่
3/4
ถ้วย
100
- บะหมี่ (สุ ก)
1/2
ก้อน
40
- ก๋ วยเตี๋ยว
น้ าหนัก (กรัม)
(ลวก)
- วุน
้ เส้น (สุ ก)
1/2
ถ้วยตวง
80
- มักโรนี (สุ ก)
2/3 ถ้วยตวง
75
- ขนมจีน
1½
จับเล็ก
90
- ขนมปั ง
- ข้าวโพดต้ม
1
แผ่น
1 ฝักเล็ก (แกะ
25
65
เมล็ด ½
ถ้วยตวง)
100
หมวดผลไม้


ผลไม้ 1 ส่ วน มีคาร์โบไฮเดรต 15 กรัม
พลังงาน 60 แคลอรี่
เมื่อใช้คุณค่าแสดงรายการอาหารไทยส่ วนที่
กินได้ 100 กรัม ประกอบกัน มีปริ มาณดังนี้
นา้ ผลไม้ (ไม่ ใส่ นา้ เชื่อม)




น้ าส้มคั้น
½
ถ้วย
ตวง (120 มิลลิลิตร)
น้ าแอปเปิ้ ล
½
ถ้วย
ตวง (120 มิลลิลิตร)
น้ ามะพร้าวอ่อน
1
ถ้วย
ตวง (120 มิลลิลิตร)
หมายเหตุ น้ าตาลทุกชนิด 1 ส่ วน = 1
ช้อนชา น้ าหนัก 5 กรัม มีคาร์โบไฮเดรต
พลังงาน 20 แคลอรี่
ชนิดผลไม้
ปริ มาณ
น้ าหนัก (กรัม)
- กล้วยน้ าว้าสุ ก
1
ผลกลาง
45
- กล้วยไข่
1
ผลกลาง
45
1
ผลเล็ก
50
- ส้มเขียวหวาน
1
ผลใหญ่
150
- ชมพู่
4
ผลใหญ่
250
- กล้วยหอม, กล้วย
หักมุก
- เงาะ
4-5 ผล
85
- แอปเปิ้ ล
1 ผลเล็ก
100
- ฝรั่ง
1/2
ผลกลาง
120
- มะละกอสุ ก
1/2
ผล
80
- มะม่วงดิบ
1/2
ผล
100
- สับปะรด
8
ชิ้นคา
115
มะละกอสุ ก
8
ชิ้นคา
115
- แตงโม
10
ชิ้นคา
200
- แคนตาลูป
10
ชิ้นคา
200
ผล
70
ยวง
60
- น้อยหน่า
1/2
- ขนุน
2
- ทุเรี ยน
1 เม็ดเล็ก
40
- มังคุด
3
ผล
80
- องุ่น
10
ผล
100
- ลาไย
6
ผล
55
หมวดนา้ นม

นมแบ่งตามปริ มาณไขมันเป็ น 3 ประเภท
อาหารหมวดน้ านม 1 ส่ วน มีปริ มาณดังนี้
นมขาดมันเนย ( Non Fat milk or Skim milk )

- นมขาดมันเลย
1
ถ้วยตวง
หรื อ
240
มิลลิลิตร

- โยเกริ์ ทขาดมันเนย 1
ถ้วยตวง
หรื อ
240
มิลลิลิตร

- นมผงขาดมันเนย 1/4
ถ้วยตวง
หรื อ
30
กรัม
นมพร่ องมันเนยหรื อ นมสดไขมัน 2% (Low fat milk )

- นมพร่ องนมเนย หรื อ นมสดไขมัน 2%
1
ถ้วยตวง
หรื อ
240
มิลลิลิตร

- โยเกริ์ ทที่ทาจากนมสด 2% (ไม่เติมผลไม้ หรื อ แต่งรส ) 1
ถ้วยตวง
หรื อ
240
มิลลิลิตร
นมครบส่ วน ( Whole milk )

- นมสด
1
ถ้วยตวง
หรื อ
240
มิลลิลิตร

- นมเปรี้ ยว
1
ถ้วยตวง
หรื อ
240
มิลลิลิตร

- นมข้นจืดระเหย
1/2
ถ้วยตวง
หรื อ
120
มิลลิลิตร

- นมผง
1/4
ถ้วยตวง
หรื อ
30
มิลลิลิตร
ประเภ คาร์โบ โปรตี ไขมัน พลังงา
ท
ไฮ
น (กรัม)
น
เด (กรัม)
(กรัม)
รต
(กรัม)
12
8
นม
เล็กน้อ 90
ขา
ย
(<) 9
ด
มั
น
เน
ย
12
8
5
124(1
นม
20
พร่
)
อง
หมวดผัก
เพื่อความสะดวกในการจัดอาหาร ได้แบ่งอาหารหมวดผักออกเป็ น 2 ประเภท โดยใช้ตารางแสดงคุณค่า
อาหารไทยในส่ วนที่กิน
ผักประเภท ก.

1 ส่ วน = 1/3 – 1/2 ถ้วยตวง หรื อ 50-70 กรัม สุ ก หรื อ ผักดิบ ¾ ถ้วยตวง

ผักประเภท ก. มีคาร์โบไฮเดรตน้อยจึงไม่นามาคานวณพลังงาน รับทานได้ไม่จากัดจานวน
ได้แก่ กะหล่าปลี แตงกวา แตงร้าน น้ าเต้า บวบ ผักกาดขาว ผักกาดเขียว คูณ ใบตาลึง
ผักกวางตุง้ ฟั กเขียว ใบตั้งโอ๋ ผักกาดหอม ผักบุง้ มะเขือยาว สายบัว มะระจีน มะละกอดิบ
หัวปลี หัวผักกาดสด

เป็ นต้น
ผักประเภท ข.

1 ส่ วน = 1/3 – 1/2 ถ้วยตวง หรื อ 50-70 กรัม สุ ก หรื อ ผักดิบ 3/4- 1 ถ้วยตวง

ผักประเภท ข. ส่ วน มีคุณค่าอาหารดังนี้

คาร์โบไฮเดรต 5 กรัม โปรตีน 2 กรัม พลังงาน 28 (25) กิโลแคลอรี่

ได้แก่ สะตอ ชะอม ถัว่ ลันเตา ถัว่ แขก ดอกกะหล่าปลี ดอกกุยช่าย กระชาย กระถิน ผักโขม
ถัว่ ฝักยาว ถัว่ งอก ถัว่ พู ต้นกระเทียม ขนุนอ่อน ข่า ขิง ใบขี้เหล็ก ใบยอ ผักกระเฉด ผักคะน้า
แครอท ฟักทอง ดอกแค ดอกโสน ข้าวโพดอ่อน มะเขือเปราะ มะเขือพวง เห็ดฟาง พริ กหวาน
หอมหัวใหญ่ หน่อไม้ฝรั่ง มะเขือเทศ ดอกหอม
หมวดเนื้อสัตว์
อาหารหมวดเนื้อสัตว์แบ่งตามปริ มาณ
ไขมันเป็ น 3 ประเภท คือ
ประเภท
คาร์โบไฮเ
ดรต
(กรัม)
โปรตีน
(กรัม)
ไขมัน
(กรัม)
พลังงาน
(กิโลแคลอ
รี่ )
- เนื้ อสัตว์ไขมันน้อย
-
7
3
55
- เนื้ อสัตว์ไขมันปาน
-
7
5
73 (75)
กลาง
- เนื้ อสัตว์ไขมันมาก
-
7
8
100
หมวดไขมัน
ไขมัน 1 ส่ วน มีไขมัน 5 กรัม พลังงาน 45 กิโลแคลอรี่
อาหารทีไ่ ม่ คดิ พลังงาน อาหารในกลุ่มนี้ให้พลังงานน้อยมากจึงไม่คิดพลังงาน
ได้แก่ เครื่ องเทศ เกลือ มัสตาร์ด วุน้ จืด น้ าปลา น้ ามะนาว น้ าส้มสายชู
ซอสปรุ งรส ผงกะหรี่ น้ าโซดา ชา กาแฟ น้ าแร่ น้ าอัดลมที่ใส่ น้ าตาล
เทียม
คาถาม
เบาหวาน
โรคเบาหวาน คือ ?
โรคเบาหวาน คือ ภาวะความไม่ สมดุล
ของฮอร์ โมน ทีช่ ื่อว่ า “อินซูลนิ ”
ประเภทของโรคเบาหวาน
แบ่ งออกเป็ น 2 ชนิด
1. ชนิดที่ 1 ผู้ป่วยเบาหวานประเภทนีร้ ่ างกายจะขาดอินซูลนิ โดยสิ้นเชิง
มักจะเกิดกับเด็กหรือคนที่มีอายุน้อยกว่ า 30 ปี
2. ชนิดที่ 2 ผู้ป่วยเบาหวานชนิดนีม้ ักมีอายุมากกว่ า40 ปี
ขึน้ ไป พบในเพศหญิงมากกว่ าเพศชาย และคนที่อ้วนมากเกินไป
นอกจากนีย้ งั เกีย่ วข้ องกับกรรมพันธุ์
ปัจจัยเสี่ ยงของโรค
1. การมีน้าหนักตัวเกิน
หรือโรคอ้ วน
2. กรรมพันธุ์
ปัจจัยเสี่ ยงของโรค
3. การรับประทานอาหารไม่ ถูกส่ วน
4. การไม่ ออกกาลังกาย
ปัจจัยเสี่ ยงของโรค
5. การสู บบุหรี่
6. ความดันโลหิตสู ง /
มีไขมันในเลือดสู งผิดปกติ
ปัจจัยเสี่ ยงของโรค
7. โรคของตับอ่ อน
8. การตั้งครรภ์
ปัจจัยเสี่ ยงของโรค
9. ยาบางชนิด
10. ความเครียด
รับประทานอย่างไรเมื่อเป็ นเบาหวาน
จดุ ม่ งุ หมายในการควบคมุ อาหาร
1. รักษาระดับนา้ ตาลในเลือดให้ อยู่ในระดับใกล้เคียงปกติ
2. ป้องกันภาวะไขมันในเลือดสู ง
3. ให้ ผู้ป่วยได้ รับสารอาหารเพียงพอกับ ความต้ องการของร่ างกาย
4. ลดอาการแทรกซ้ อนจากโรคต่ างๆ
5. ควบคุมนา้ หนักของผู้ป่วยให้ อยู่ในเกณฑ์ ปกติ
6. ช่ วยให้ ผู้ป่วยมีสุขภาพแข็งแรง มีชีวติ อยู่อย่ างมีความสุ ข
หลักการควบคุมอาหาร
1. ต้ องปฏิบัติอย่ างต่ อเนื่อง สม่าเสมอ และต้องมีวนิ ัย
2. รับประทานอาหารให้ ตรงมือ้ ตรงเวลาอย่ าอดหรือ
งดมือ้ ใดมือ้ หนึ่ง
3. ควบคุมพลังงานให้ เพียงพอทั้งชนิดและปริมาณ
รู ้ได้อย่างไรว่าน้ าหนักอยูใ่ นเกณฑ์ปกติหรื อไม่
โดยการคานวณค่ าดัชนีมวลกาย
ค่ าดัชนีมวลกาย = น้าหนักตัว (กก.)
2
ส่ วนสู ง (ม. )
ดัชนีมวลกาย
เกณฑ์
ดัชนีมวลกาย
ผอม
ปกติ
ท้ วม
อ้ วน
อ้ วนมาก
< 18.5 กก./ ม.2
18.5 – 22.9 กก./ ม.2
23.0 – 24.9 กก./ ม.2
2
25.0 – 30.0 กก./ ม.
> 30 กก./ ม.2
การคานวณความต้องการพลังงานอย่างง่าย
ค่าดัชนีมวลกาย
ปกติ 18.5 – 22.9 กก./ม2.
ผอม < 18.5 กก./ม2.
ท้วม 23.0 – 24.9 กก./ม2.
อ้วน 25.0 – 30.0 กก./ม2.
ความ
ต้องการ
ส่วนสูง
พลังงาน /วัน (ม.)
/นน. 1 กก.
นน.
(กก.)
30 KCal
35 KCal
25 KCal
20 KCal
55
45
65
75
165
165
165
165
ค่าดัชนี
มวลกาย
พลังงาน
ที่ได้รับต่อวัน
20.2 กก./ม2.
16.5 กก./ม2.
23.8 กก./ม2.
27.5 กก./ม2.
1650 KCal (55x30)
1575 KCal (45x35)
1625 KCal (65x25)
1500 KCal (75x20)
อาหารกับการควบคุมเบาหวาน

Carbohydrate
“คาร์ โบไฮเดรต 1 กรัม ให้ พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่”
ประเภทของคาร์โบไฮเดรต

แบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท
1. คาร์ โบไฮเดรตเชิงซ้ อน (complex carbohydrate) ได้ แก่ ข้ าวต่ างๆ
ขนมปัง เมล็ดธัญพืช
ผลไม้ และผัก
2. คาร์ โบไฮเดรตเชิงเดี่ยว (simple carbohydrate)
พบในนา้ ตาลและอาหารที่มีนา้ ตาล
เช่ น เครื่องดื่ม ขนมหวาน
คาร์โบไฮเดรตที่ผปู ้ ่ วยต้องเลี่ยงหรื องดเว้น
ควรหลีกเลีย่ งเพือ่ ป้องกันภาวะนา้ ตาลในเลือดสู ง แบ่ งออกได้ ดังนี้
1. อาหารจาพวกนา้ ตาลทุกชนิดได้ แก่ นา้ ตาลทราย นา้ ตาลปี๊ บ
นา้ ผลไม้ นา้ ผึง้
2. นา้ หวานต่ างๆ ได้ แก่ นา้ หวานเข้ มข้ น นา้ ผลไม้ นา้ อัดม นา้ โอเลีย้ ง
3. นมสดทีป่ รุงแต่ งรส เช่ น นมรสช็อคโกแลต กาแฟใส่ นา้ ตาล
คาร์โบไฮเดรตที่ผปู ้ ่ วยต้องเลี่ยงหรื องดเว้น
4. ขนมหวานต่ างๆ เช่ น ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง
5. อาหารทีม่ ีนา้ ตาล เช่ น ช็อคโกแลต เยลลี่ ผลไม้ ตากแห้ ง
อาหารเชื่อม ฯลฯ
6. ผลไม้ ทมี่ ีรสหวานจัด เช่ น ขนุน ทุเรียน มะม่ วง ฯลฯ
อาหารกับการควบคุมเบาหวาน

Protein
“โปรตีน 1 กรัม ให้ พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่”
โปรตีนที่ผปู ้ ่ วยต้องเลี่ยงหรื องดเว้น
หลีกเลีย่ งโปรตีนประเภท เนือ้ สั ตว์ ที่มีมัน ติดหนัง ฯลฯ
อาหารกับการควบคุมเบาหวาน

Fat
“ไขมัน 1 กรัมให้ พลังงาน 9 กิโลแคลอรี่”
กรดไขมันในอาหารแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด


กรดไขมันอิม่ ตัว พบในไขมันสั ตว์ นม ครีม เนยแท้
กรดไขมันไม่ อมิ่ ตัว
กรดไขมันไม่ อมิ่ ตัวเชิงเดีย่ ว เป็ นไขมันทีด่ ที สี่ ุ ด พบในนา้ มันพืชบางชนิด เช่ น นา้ มัน
มะกอก นา้ มันถั่วลิสง ช่ วยบรรเทาโรคหัวใจ
 กรดไขมันไม่ อม
ิ่ ตัวเชิงซ้ อนจากพืช เป็ นไขมันทีด่ รี องลงมา พบในนา้ มันข้ าวโพด
นา้ มันดอกทานตะวัน
 กรดไขมันไม่ อม
ิ่ ตัวจากสั ตว์ เช่ น นา้ มันปลาทะเล มีโครงสร้ างต่ างจาก
สั ตว์ บก ช่ วยลดคอเลสเตอรอลได้

ไขมันที่ผปู ้ ่ วยต้องเลี่ยงหรื องดเว้น


หลีกเลี่ยงกรดไขมันอิ่มตัวพบมากใน น้ ามันหมู เบคอน ฯลฯ.
หลีกเลี่ยงอาหารประเภทไขมันทรานส์ จะพบมากในอาหารสาเร็ จรู ป
เกือบทุกชนิด
การควบคุมไขมันและคอเลสเตอรอล

ทาได้ ดังนี้
1. ใช้ นา้ มันพืชแทนไขมันสั ตว์ ในการประกอบอาหาร และลดปริมาณกะทิ
2. ลดอาหารทีม่ ไี ขมันสู ง เช่ น ไส้ กรอก กุนเชียง อาหารทอดทุกชนิด
3. ลดอาหารประเภททอด ให้ รับประทานอาหาร ต้ ม ย่าง นึ่ง อบ ยา
4. เลือกเนือ้ สั ตว์ ทไี่ ม่ ติดมัน หลีกเลีย่ งอาหารประเภทเนือ้ สั ตว์ ที่ติดมันเน้ นกินปลา
ทะเล และโปรตีนจากพืช เช่ น เต้ าหู้
5.หลีกเลีย่ งอาหารประเภทครีมหรือครีมเทียม
ปัญหาที่พบบ่อยในผูป้ ่ วยเบาหวาน
1. พฤติกรรมการควบคุมอาหาร
2. พฤติกรรมการรับประทานยา
3. ติดในรสชาติ
4. ขาดความรู ้ความเข้าใจที่ถูกต้อง
5. อาชีพ
6.ได้รับการสนับสนุนในด้านลบจากครอบครัว ไม่มีคนดูแล
7. มีขอ้ จากัดด้านสุ ขภาพ ต่อต้านกับภาวะของโรคที่เป็ นอยู่
8. มีความเครี ยดสูง หงุดหงิดง่าย ท้อแท้หมดกาลังใจ
9. มีปัญหาด้านสุ ขภาพในช่องปาก
สรุ ปการเลือกรับประทานอาหาร
เพื่อรักษาระดับน้ าตาลในเลือด
1. รับประทานอาหารประเภทข้าวไม่ขดั สี ธัญพืชชนิดต่างๆ เน้นกากใย
อาหาร
2. รับประทานผลไม้ที่มีรสหวานน้อยและมีใยอาหารมากแทนขนมหวาน
ตามจานวนที่ร่างกายควรได้รับใน 1 วัน
3. รับประทานเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไม่ติดหนัง ทานผักให้มากขึ้น
4. รับประทานปลาทะเลและผลิตภัณฑ์จากถัว่ เมล็ดแห้ง เน้นเต้าหูม้ ากขึ้น
สรุ ปการเลือกรับประทานอาหาร
เพื่อรักษาระดับน้ าตาลในเลือด
5. ใช้น้ ามันพืชแทนน้ ามันจากสัตว์ วันละไม่เกิน 4 ช้อนโต๊ะ
6. หลีกเลี่ยงน้ าหวาน ขนมหวาน น้ าผลไม้เข้มข้น นมรสต่างๆ
7. หลีกเลี่ยงอาหารประเภทที่มีกะทิ
8. เปลี่ยนวิธีการปรุ งอาหาร เช่น จากทอด ให้เป็ น นึ่ง ยา ตุ๋น อบ
9. รับประทานอาหารที่มีรสเค็มให้นอ้ ยลง
คาถาม
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
(Stroke)
สามรถจาแนกได้ 2 กลุ่มใหญ่ คือ
1. โรคสมองขาดเลือด หรื อโรคสมองตีบอุดตัน เป็ นสาเหตุส่วนใหญ่ของ
โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต
2. โรคหลอดเลือดออกในสมอง หรื อโรคหลอดเลือดสมองแตก พบได้บ่อย
แต่นอ้ ยกว่าโรคอัมพฤกษ์ พบในผูป้ ่ วยที่มีภาวะความดันโลหิ ตสูง
อาการ พบได้ หลายรูปแบบ เช่ น
1. พูดไม่ออก, พูดไม่ชดั
2. แขนขาอ่อนแรง โดยเฉพาะครึ่ งซีกของร่ างกายที่เป็ น
3. ตาข้างใดข้างหนึ่งมัว, ภาพซ้อน
4. ปวดหัวอย่างรุ นแรงฉับพลัน
5. งุนงง เวียนศีรษะ
ปัจจัยเสี่ ยง ที่สาคัญได้ แก่
1. ภาวะความดันโลหิ ตสู ง (เพิ่มความเสี่ ยง 3-17 เท่า) เนื่องจากไปทาให้ผนังเลือด
อ่อนแอจึงคิดการแตกง่าย
2. ภาวะเบาหวาน (เพิ่มความเสี่ ยง 3 เท่า) การมีระดับน้ าตาลในเลือดสู ง จะทาให้ผนัง
คลอดเลือดหนาตัวขึ้น และตีบแคบ
3. การสูบบุหรี่ (เพิ่มความเสี่ ยง 2 เท่า) บุหรี่ จะลดปริ มาณออกซิ เจนในหลอดเลือด เพิ่ม
ความหนืดของเลือด
4. ไขมันในเลือดสูง (เพิม่ ความเสี่ ยง 1.5 เท่า) จะทาให้เกิดก้อนไขมันเกาะติดกับผนัง
หลอดเลือด เลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ
5. ขาดการออกกาลังกาย การออกกาลังกายช่วยการเผาผลาญน้ าตาลและไขมัน เพิ่ม
ปริ มาณการไหลเวียนของเลือดและออกซิ เจน
6. นิสัยการบริ โภคที่ไม่ถกู ต้อง
7. กรรมพันธุ์
หลักสาคัญในการควบคุมและลดวามเสี่ ยงโรคหลอดเลือดสมอง
1. ควบคุมน้ าหนักตัวให้อยูใ่ นเกณฑ์ปกติ
2. กินอาหารที่มีคอเลสตอรอลวันละไม่เกิน 300 มิลลิกรัม
3. ลดปริ มาณไขมันที่กินให้นอ้ ยลง (ไขมันอิ่มตัว)
4. ลดการกินขนมหวาน อาหารรสหวานจัด
5. เลือกการกินอาหารที่มีเส้นใยสู งเพิ่มขึ้น เช่น ผัก ผลไม้ ข้าวซ้อมมือ
6. งดการกินอาหารที่มีรสเค็มจัดทุกชนิ ด
7. เลือกประกอบอาหารด้วยวิธี อบ ตุ๋น นึ่ง ย่าง
8. หลีกเลี่ยงน้ าอัดลมหรื อเครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
9. รับทานปลาทะเล สัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง
10. รับทานผลิตภัณฑ์และธัญพืชไม่ขดั สี ทุกวัน
11.สมุนไพรและเครื่ องเทศ เช่น กระเทียมสด
คาถาม
โภชนาการโรคหอบ
(Asthma)
โรคหอบหื ด เป็ นโรคที่เกิดขึ้นเนื่องจากหลอดลมของผูป้ ่ วยตอบสนองต่อสิ่ งที่มา
กระตุน้ มากกว่าปกติ
ทาให้หลอดลมของผูป้ ่ วยหดเกร็ ง และมีอาการบวม เนื่องจากการอักเสบและ
สร้างเสมหะมากขึ้นกว่าปกติ
สาเหตุของโรค
1. กรรมพันธุ์
2. สิ่ งกระตุน้ เช่น
- ฝุ่ น ตัวไร
- เกสรดอกไม้
- เชื้อราในอากาศ
- ขนสัตว์
- อาหาร เช่น ไข่ นม อาหารทะเล
- ควันบุหรี่ น้ ามันรถ มลพิษในอากาศ
3. การออกกาลังกายมากๆ
4. การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
5. การติดเชื้อทางระบบหายใจ
6. การเปลี่ยนแปลงของอากาศ
อาหารกับโรคหอบ
อาหารที่ควรรับประทาน
1. ทานอาหารครบ 5 หมู่
2. ผัก ผลไม้ กลุ่มที่มี Vit c e เบต้าแคโรทีน สูง
3. อาหารที่มีสาร Flavonoid พบในชา แอปเปิ้ ล หัวหอม โดยเฉพาะ
แอปเปิ้ ล
อาหารทีค่ วรหลีกเลีย่ ง
1. อาหารจาพวกนม ไข่ อาหารทะเล ถัว่ น้ าเต้าหู ้
2. งดอาหารที่มีอุณหภูมิเย็น น้ าอัดลม
3. ผลไม้รสหวานจัด
4. อาหารที่ทาให้แก๊ส
5. สารผสมอาหารจาพวกซัลไฟท์ (พบในผลไม้แห้ง ผักดอง เครื่ องเทศ
หรื อผลไม้ที่เคลือบซัลไฟท์)
6. อาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูง
คาถาม
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
( Chronic obstructive Pulmonary disease)
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
เป็ นโรคหนึ่งที่พบในผูส้ ูงอายุ สาเหตุที่สาคัญคือ การสูบบุหรี่ แบ่ง
ออกเป็ น2 ชนิดย่อย คือ
โรคหลอดลมอักเสบเรื้ อรัง ผูป
้ ่ วยจะไอและมีเสมหะเป็ นๆ หายๆ
โรคถุงลมโป่ งพอง เกิดจากถุงลมโป่ งพองตัวออกทาให้การแลกเปลี่ยน
ก๊าซผิดปกติไป
อาการเป็ นอย่ างไร
ในช่วงแรก จะไม่มีอาการ แต่ถา้ ปอดถูกทาลายมากขึ้น จะ
เริ่ มไอเรื้ อรัง หอบ เหนื่อย หายใจมีเสี ยงวี้ดๆ
คาถาม
การควบคุมอาหารผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสู ง
โภชนาการโรคความดันโลหิตสูง (Hypertension)
โรคความดันโลหิ ตสู ง คือ โรคที่ความดันโลหิ ตภายในหลอดเลือดแดง
สู งกว่าปกติ (ค่าปกติ 120/80)
ความดันโลหิ ตสู งเป็ นสาเหตุที่ทาให้มีการเสื่ อมสภาพของอวัยวะต่างๆ
และมีความสัมพันธ์กบั ภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง โรคหัวใจ โรคไต ฯลฯ
ปัจจัยเสี่ ยง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
อายุ
กรรมพันธุ์
การดื่มสุ รา
การรับประทานอาหาร
การสูบบุหรี่ จดั
ภาวะเครี ยด
อ้วน
ความหมายของโซเดียม
โซเดียม เป็ นสารอาหารที่อยูใ่ นกลุ่มเกลือแร่ คนทัว่ ไปรู ้จกั ในรู ปของ
“โซเดียมคลอไรด์” หรื อ “เกลือแกง” พบในอาหารหลายชนิดรวมถึง
เครื่ องปรุ งรสที่มีเกลือผสมอยู่ เนื่องจากเป็ นตัวหลักที่ทาให้เกิดรสเค็ม
กระทรวงสาธารณะสุ ขระบุวา่ ไม่ควรบริ โภคเกลือเกินกว่า 1 ช้อนชาต่อ
วัน (2000 มิลลิกรัม)
ความต้ องการของโซเดียมของร่ างกายต่ อวัน
อายุ (ปี )
9 - 12
13 - 15
16 - 18
19 - 30
31 - 70
> 71
หญิงตั้งครรภ์
หญิงให้นมบุตร
ความต้องการโซเดียม (มิลลิกรัม)
350 - 1,100
400 - 1,250
425 - 1,275
400 - 1,200
400 - 1,200
350 - 1,050
เพิ่ม 50 - 200
เพิ่ม 120 - 350
อาหารจากัด Na แบ่ งเป็ น 4 ระดับ
1. Mild Sodium Restrict diet มี Na 2500 – 3000 mg/วัน
ลดอาหารที่มีรสเค็มจัด อาหารหมักดอง ผงชูรส
ไม่ควรเติมเกลือ หรื อซอสรสเค็มขณะรับประทานอาหาร
สามารถใส่ เครื่ องปรุ งรสขณะปรุ งประกอบได้เล็กน้อย
2. Moderate Low Sodium diet มี Na 1500 – 2000 mg/วัน
งดอาหารที่มีเกลือ
อาหารที่มี Na มาก เช่น ซอสปรุ งรสต่างๆ อาหารดองเค็มทุกชนิด ผงชูรส
3. Strictly Low Sodium diet มี Na 1000 – 1200 mg/วัน
จากัดเนื้อสัตว์และนม
ใช้ผกั ที่มี Na ต่า
4. Very Strict Low Sodium diet มี Na 250 mg/วัน
ทายากมาก
ผูป้ ่ วยต้องจากัดอาหารทุกอย่าง รวมทั้งเนื้อสัตว์
ทาระยะสั้น และทาหรื อเตรี ยมอาหารใน รพ.เท่านั้น (ผูป้ ่ วยโรคไต)
อาหารโซเดียมมาก
-
-
-
อาหารที่ใช้เกลือปรุ งรส น้ าปลา ซีอิ้ว ซอสรสเค็ม ซอสหลายรส
(ซอสมะเขือเทศ, ซอสพริ ก)
อาหารที่ใช้เกลือถนอมอาหาร อาหารตากแห้ง กุง้ เค็ม เนื้อเค็ม ปลาเค็ม
หมูหยอง หมูแผ่น
อาหารปรุ งรสต่างๆ ไส้กรอก หมูยอ
-
ผลไม้แช่อิ่ม ผลไม้เหล่านี้จะแช่เกลือก่อนแช่น้ าตาล
-
อาหารสาเร็ จรู ปที่เป็ นผง โจ๊ก ข้าวต้ม ซุปต่างๆ
อาหารที่มีโซเดียมปานกลาง
เป็ นสารปรุ งแต่งที่ไม่ออกรสเค็ม ได้แก่ ผงชูรส ผงกันบูด
โซดาไบคาร์บอเนต ใส่ ในอาหารกระป๋ อง อาหารแห้ง
อาหารธรรมชาติที่มีโซเดียม
เนื้อสัตว์ อาหารทะเล นม ผักบางชนิด
ปริ มาณโซเดียมในอาหารปรุ งรส
อาหาร
ปริ มาณ
โซเดียม (มิลลิกรัม)
เกลือ
ผงชูรส
ซี อิ้วขาว
1 ช้อนชา
1 ช้อนชา
1 ช้อนชา
2000
492
483
น้ าปลา
1 ช้อนชา
400
ซี อิ้ว
1 ช้อนชา
345
ผงฟู
1 ช้อนชา
339
ซี อิ้วดา
1 ช้อนชา
175
ซอสพริ ก
1 ช้อนโต๊ะ
227
ซอสมะเขือเทศ
ซุปก้อน
1 ช้อนโต๊ะ
1 ก้อน (11 กรัม)
156
2640
อาหารที่ควรหลีกเลีย่ ง
1. อาหารตากแห้ง อาหารรมควัน
2. อาหารสาเร็ จรู ปทุกชนิด ซุปซอง ซุปก้อน
3. ผักดอง ผลไม้กระป๋ อง น้ าผลไม้
4. อาหารที่ใส่ สารเคมีประกอบอาหาร
5. อาหารผสมเกลือ ถัว่ อบเนย มันทอด
6. เนย มาการี น ผสมเกลือ
7. เครื่ องดื่มผสมเกลือแร่
8. น้ าพริ กแกงสาเร็ จรู ป
ข้ อแนะนาการประกอบอาหารควบคุมโซเดียม
1. หลีกเลี่ยงการเติมเครื่ องปรุ งรส
2. ให้เครื่ องเทศ ช่วยให้มีกลิ่นหอม เช่น โหรพา กระเพรา รากผักชี กระเทียม
พริ กไทย ข่า ตะไคร้ ใบมะกรู ด
3. ปรุ งรสด้วย น้ าตาล มะนาว น้ าส้ม น้ ามะนาว พริ ก ช่วยให้รสดีข้ ึน
4. ต้มน้ าซุปจากผัก + เนื้อสัตว์ ไว้ใช้เอง แน่ใจว่าไม่เติมเกลือ
5. ผัก - เลือกใช้ผกั สด - ใหม่รสหวาน
6. ผลไม้ - ใช้ผลไม้สด ไม่ปรุ งแต่ง ควรงดผลไม้บรรจุกระป๋ อง
7. เนื้อสัตว์มี Sodium มากกว่าผัก - ผลไม้ ข้าว
8. นมทุกชนิด มี Sodium
9. เนย/มาการี น ควรใช้ชนิดจืด
10. น้ ามัน โดยธรรมชาติ ไม่มี Sodium
ข้อแนะนาในการทาอาหารจากัดโซเดียม
เพื่อให้ผปู ้ ่ วยยอมรับอาหารที่ขาดรสเค็มหรื ออ่อนเค็ม ควรปรุ งแต่งรสด้วย
- รส
- กลิ่น
- เนื้ อสัมผัส
- สี
รส :
ควรเลือกอาหารที่มีหลายรส เมื่อขาดรสเค็มจะได้ยงั มีรสอื่นเหลืออยู่ เช่น รสเปรี้ ยว หวาน
มัน ขม
กลิน่ :
ข่า ตะไคร้ ใบมะกรู ด หอมและกระเทียม (สดและเผา) รากผักชี ใบโหระพา กระเพรา
แมงลัก ฯลฯ
เนือ้ สั มผัส :
กรอบ เช่น ปลา และผักชุบแป้ งทอด ปลาดุกฟู
่ เช่น ลูกชิ้น และทอดมันปลา (ทาเอง)
- ยืดหยุน
-
สี :
จัดอาหารที่มีสีตามธรรมชาติเข้ากันน่าดู เช่น ผักสี เขียวบ้าง แสดบ้าง ถ้าอาหารไม่มีสี อาจ
ใช้สีธรรมชาติ เช่น ใช้ใบเตยใส่ ลอดช่อง สาคูเปี ยก ซ่าหริ่ ม
-
อืน่ ๆ :
ใช้ผกั ที่มีคนชอบทาอาหารเพื่อให้ชวนกิน เช่น เห็ด ถัว่ ลันเตา ข้าวโพดอ่อน หน่อไม้ ฯลฯ
ใส่ ใบผัก หรื อแกง หรื อยา
เปรี ยบเทียบอาหารที่มีโซเดียมน้อยและอาหารที่มีโซเดียมมาก
อาหารที่มโี ซเดียมน้ อย
อาหารที่มโี ซเดียมมาก
1. หมู่ข้าว
ข้าวสวย ข้าวเปล่า ข้าวเหนียวนึ่ง เส้น
ก๋ วยเตี๋ยว มักโรนี สปาเกตตี วุน้ เส้น
ข้าวโพดนึ่ง ต้มหรื เอผา ไม่ใส่ เกลือ ข้าวโพด
คัว่ ไม่ใส่ เกลือ มันเทศนึ่งหรื อต้มหรื อเผา
มันเทศต้มนาตาล เผือกนึ่งหรื อต้ม หรื อต้ม
น้ าตาล ข้าวเม่าราง (กินกับน้ ากะทิและ
น้ าตาล)
1. หมู่ข้าว
ข้าวมัน(ใส่ เกลือ) ข้าวเหนียวมูนกะทิ
(ใส่ เกลือ) ขนมปังปอนด์ธรรมดา
เส้นบะหมี่ส้ วั แป้ งเกี๊ยว บะหมี่สาเร็ จรู ป
โจ๊ก ข้าวต้มสาเร็ จรู ปชนิดแห้งบรรจุซอง
ข้าวโพดต้ม ข้าวโพดเผาที่ขายกันทัว่ ไป (ชุบ
น้ าเกลือ) ข้าวโพดคัว่ ที่ปรุ งแต่งรส
อาหารที่มโี ซเดียมน้ อย
2. หมู่เนือ้ สั ตว์ (ทีไ่ ม่ ได้ ปรุ งแต่ งรส)
ได้แก่ เนื้อสัตว์ทุกชนิด
(ที่ไม่ได้ปรุ งแต่งรส) เช่น หมู เนื้อ ไก่
สัตว์น้ าจืด เช่น ปลา กุง้ ปู หอย เนื้อปลา
น้ าเค็ม ไข่ เช่น ไข่เป็ ด ไข่ไก่
ไข่นกกระทา
อาหารที่มโี ซเดียมมาก
2. หมู่เนือ้ สั ตว์ (ทีไ่ ม่ ได้ ปรุ งแต่ งรส)
ปู กุง้ และหอยน้ าเค็ม (ถ้าเค็มต้องคานวณ
ปริ มาณโซเดียม ละไม่กินชนิดที่เค็มจัด เช่น
หอยแครง หอยแมลงภู่)
เนื้อสัตว์ทุกชนิดที่ใส่ เกลือ เช่น เนื้อเค็ม
ปลาแห้ง ปลาเค็ม กุง้ แห้ง หอยดอง
หมูแฮม หมูเบคอน หมูแผ่น หมูหยอง หมู
ตั้ง กุนเชียง หมูยอ ไส้กรอกทุกชนิด
อาหารเนื้อบรรจุกระป๋ อง เช่น ปลากระป๋ อง
เนื้อกระป๋ อง กุง้ และปู บรรจุกระป๋ อง ไข่
เค็ม เต้าหู ้ เต้าหูย้ ้ ี เต้าเจี้ยว
อาหารที่มโี ซเดียมน้ อย
3. หมู่นา้ นม
นมสด นมผง นมข้นจืด
ไอศกรี มชนิดไม่เติมเกลือ
ไม่เติมโซเดียมแอลจิเนต
4. หมู่ผกั
ส่ วนใหญ่มีโซเดียมน้อย เช่น ผักบุง้ ยอดแค
ผักกาดหอม มะเขือเทศ แตงกวา มะเขือ
เปราะ มะเขือหอม มะเขือเทศ แตงกวา
มะเขือเปราะ มะเขือยาว กระเจี๊ยบ ถัว่ สด
ดอกกะหล่า เห็ดสด ฯลฯ
อาหารที่มโี ซเดียมมาก
3. หมู่นา้ นม
นมเติมโกโก้ ช็อคโกแลต โอวัลติน
เนยแข็ง
4. หมู่ผกั
ผักสดบางชนิ ดที่มีโซเดียมมาก เช่น หัว
ผักกาดสี แสด สี ม่วงแดง และสี ขาว ผัก
ดองทุกชนิด ทั้งดองเค็มและดองเปรี้ ยว
ผักกระป๋ องทุกชนิด มะเขือเทศกระป๋ อง
และน้ ามะเขือเทศชนิดบรรจุกระป๋ อง
อาหารที่มโี ซเดียมน้ อย
5. หมู่ผลไม้
ผลไม้ส่วนมากมีโซเดียมน้อย แพทย์จึงมัก
อนุญาตให้กินได้มาก หากว่าไม่จากัด
พลังงาน เช่น ส้ม กล้วย มะละกอ สับปรด
ผลไม้เชื่อม หรื อต้มน้ าตาล เช่น กล้วยเชื่อม
(ถ้าจะราดกะทิตอ้ งไม่ใส่ เกลือในกะทิ)
6. หมู่ไขมัน
น้ ามันพืชบริ สุทธิ์ น้ ามันสัตว์บริ สุทธิ์ เนยแท้
และเนยเทียมชนิดไม่ใส่ เกลือ กะทิ (มี
โซเดียมบ้างแต่ไม่มากนัก ต่างจากน้ ามันพืช
ซึ่ งไม่มีโซเดียมเลย)
อาหารที่มโี ซเดียมมาก
5. หมู่ผลไม้
ผลไม้ที่นาไปปรุ งแต่ง เช่น กล้วยฉาบ (ใส่
เกลือเล็กน้อยเพื่อให้รสแหลม กล้วยบวชชี
(ใส่ เกลือ) ผลไม้แช่อิ่ม(ที่เคล้ากับเกลือก่อน)
ผลไม้ดอง
ผลไม้แห้ง บางชนิดโดยเฉพาะที่ส่งมาจาก
ต่างประเทศอาจมี Sodium sulphite ใส่ มา
ด้วยเพื่อป้ องกันมิให้มีสีคล้ า
6. หมู่ไขมัน
เนยแท้และเนยเทียมชนิดใส่ เกลือ (ถ้ากิน
ต้องคานวณปริ มาณโซเดียม) กะทิใส่ เกลือ
อาหารที่มโี ซเดียมน้ อย
7. เบ็ดเตล็ด
เครื่ องปรุ งรสที่ไม่ใส่ เกลือเลย น้ าตาล
ทรายขาว น้ าผึ้ง น้ าส้มพริ กดอง (มีแต่พริ ก
กับน้ าส้มเท่านั้น) น้ ามะนาวคั้นสดๆ
อาหารที่มโี ซเดียมมาก
7. เบ็ดเตล็ด
เครื่ องปรุ งรสที่ใส่ เกลือทุกชนิด เกลือ
น้ าปลา น้ าบูดู ซอสถัว่ ซอสพริ ก ซอส
มะเขือเทศและซอสอื่นๆ มัสตาร์ดเหลือง
อาหารที่ควรรับประทาน
-
-
ข้าว, แป้ ง
ผักใบเขียวทุกชนิด เพื่อให้ได้เส้นใยอาหาร
เนื้อสัตว์ที่มีไขมันต่า
ผลไม้สดต่างๆ
สิ่ งที่ควรหลีกเลีย่ ง
-
เลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง เช่น อาหารที่ทอดน้ ามันมาก และกะทิ
อาหารเค็มจัด
เครื่ องปรุ งที่มีส่วนผสมของเกลือ
สิ่ งที่ควรงดเว้ น
-
เครื่ องดื่มที่มีคาเฟอีนทุกชนิด
เครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอลล์
บุหรี่
เคล็ดลับการบริ โภคเกลือให้นอ้ ยลง






ไม่เติมเกลือแกงหรื อน้ าปลาลงในอาหารก่อนชิมรส
รับประทานผัก ผลไม้สด แทนผลไม้ดองเค็ม หรื อผลไม้กระป๋ อง
นากระปุกเกลือ หรื อถ้วยน้ าปลาออกไปจากโต๊ะอาหาร
ลดการบริ โภคอาหารที่มีปริ มาณเกลือสู ง เช่น เบคอน ไส้กรอก อาหารแช่แข็ง
อาหารปรุ งแต่ง อาหารฟาสต์ฟดู้
พยายามไม่ยดึ ติดกับรสชาติของอาหาร จะได้ไม่เติมน้ าปลา เกลือมากเกินไป
ควรใช้เครื่ องปรุ งรสตามธรรมชาติ เช่น กระเทียม พริ กไทย เครื่ องเทศต่างๆ
หลีกเลี่ยงอาหารสาเร็ จรู ป อาหารแปรรู ป เช่น โจ๊กสาเร็ จรู ป บะหมีก่ ่ ึง
สาเร็ จรู ป
คาถาม
ผลิตภัณฑ์ เสริมอาหาร
จาเป็ นหรือไม่
ความหมายและค่านิยม

ผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่กินเพื่อเสริ มอาหาร
หลักที่เรากินตามปกติ โดยรู ปแบบที่พบในปั จจุบนั คือ การนา
สารสกัดจาก
- พืชพรรณ ธรรมชาติ
- สัตว์น้ า
- สัตว์ทะเล ฯลฯ
- สารเคมีสงั เคราะห์กลุ่มแร่ ธาตุในรู ปแคปซูล หรื อของเหลว
ผลิตภัณฑ์อาหารเสริ ม หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่เสริ มอาหารให้กบั
เด็กวัยทารก , วัยเด็ก หรื อ ในผูป้ ่ วย
ประมวลแนวความคิดความเชื่อของผูบ้ ริ โภคเรื่ อง
ผลิตภัณฑ์อาหารเสริ ม
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
เพื่อเสริ มอาหาร
เพื่อให้สุขภาพดี
กลัวเจ็บ กลัวตาย
เชื่อเพราะเห็นว่า งานวิจยั มากมาย น่าเชื่อถือ
เห่อตามฝรั่ง
เชื่อเพราะเทคนิค การโฆษณาขายตรง
เหตุผล สาคัญเพื่อตัดสิ นใจใช้หรื อไม่ใช้ ผลิตภัณฑ์เสริ ม
อาหาร
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.
๙.
๑๐.
จาเป็ นหรื อไม่จาเป็ น
ราคาแพง
คุณประโยชน์ไม่แน่นอน
มีอนั ตรายที่คราดไม่ถึง
โฆษณาเกินจริ ง มุ่งแสวงแต่กาไร
อาจกลายเป็ นหนูทดลอง
ทาให้มีความเชื่อผิดๆ เรื่ องสุ ขภาพ
เสี ยโอกาสที่จะได้รับการรักษาโรคอย่างเหมาะสม
ทาลายสิ่ งแวดล้อม
ทาลายวัฒนธรรม การกินอาหารอย่างไทย
คาถาม
ความรู้ เรื่องสมุนไพรไทย
ความหมายของสมุนไพร
คาว่า สมุนไพร ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525
หมายถึง พืชที่ใช้ ทาเป็ นเครื่ องยา สมุนไพรกาเนิดมาจากธรรมชาติและมี
ความหมายต่อชีวติ มนุษย์โดยเฉพาะ ในทางสุ ขภาพ อันหมายถึงทั้งการส่ งเสริ ม
สุ ขภาพและการรักษาโรค ความหมายของยาสมุนไพรในพระราชบัญญัติยา พ.ศ.
2510 ได้ระบุวา่ ยาสมุนไพร หมายความว่า ยาที่ได้จากพฤกษาชาติสัตว์หรื อแร่
ธาตุ ซึ่ งมิได้ผสมปรุ งหรื อแปรสภาพ เช่น พืชก็ยงั เป็ นส่ วนของราก ลาต้น ใบ ดอก
ผลฯลฯ ซึ่ งมิได้ผา่ นขั้นตอนการแปรรู ปใด ๆ แต่ในทางการค้า สมุนไพรมักจะถูก
ดัดแปลงในรู ปแบบต่าง ๆ เช่น ถูกหัน่ ให้เป็ นชิ้นเล็กลง บดเป็ นผงละเอียด หรื ออัด
เป็ นแท่งแต่ในความรู ้สึกของคนทัว่ ไปเมื่อกล่าวถึงสมุนไพร มักนึกถึงเฉพาะ
ต้นไม้ที่นามาใช้เป็ นยาเท่านั้น
สมุนไพร หมายถึง พืชที่มีสรรพคุณในการรักษาโรค หรื ออาการ
เจ็บป่ วยต่าง ๆ การใช้สมุนไพรสาหรับรักษาโรค หรื ออาการ
เจ็บป่ วยต่างๆ นี้ จะต้องนาเอาสมุนไพรตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปมา
ผสมรวมกันซึ่งจะเรี ยกว่า "ยา" ในตารับยา นอกจากพืชสมุนไพร
แล้วยังอาจประกอบด้วยสัตว์และแร่ ธาตุอีกด้วย เราเรี ยกพืช สัตว์
หรื อแร่ ธาตุที่เป็ นส่ วนประกอบของยานี้วา่ "เภสัชวัตถุ"พืช
สมุนไพรบางชนิด เช่น เร่ ว กระวาน กานพลู และจันทน์เทศ เป็ น
ต้น เป็ นพืชที่มีกลิ่นหอมและมีรสเผ็ดร้อน ใช้เป็ นยาสาหรับขับลม
แก้ทอ้ งอืด ท้องเฟ้ อ พืชเหล่านี้ถา้ นามาปรุ งอาหารเราจะเรี ยกว่า
"เครื่ องเทศ" ในพระราชบัญญัติยาฉบับที่ 3 ปี พุทธศักราช 2522
ได้แบ่งยาที่ได้จากเภสัชวัตถุน้ ีไว้เป็ น 2 ประเภทคือ
1. ยาแผนโบราณ หมายถึง ยาที่ใช้ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณหรื อในการบาบัดโรค
ของสัตว์ ซึ่งมีปรากฏอยูใ่ นตารายาแผนโบราณที่รัฐมนตรี ประกาศ หรื อยาที่รัฐมนตรี ประกาศให้
เป็ นยาแผนโบราณ หรื อได้รับอนุญาตให้ข้ ึนทะเบียนตารับยาเป็ นยาแผนโบราณ
2. ยาสมุนไพร หมายถึงยาที่ได้จากพืชสัตว์แร่ ธาตุที่ยงั มิได้ผสมปรุ งหรื อแปรสภาพสมุนไพร
นอกจากจะใช้เป็ นยาแล้ว ยังใช้ประโยชน์เป็ นอาหาร ใช้เตรี ยมเป็ นเครื่ องดื่ม ใช้เป็ นอาหารเสริ ม
เป็ นส่ วนประกอบในเครื่ องสาอาง ใช้แต่งกลิ่น แต่งสี อาหารและยา ตลอดจนใช้เป็ นยาฆ่าแมลง
อีกด้วย ในทางตรงกันข้าม มีสมุนไพรจานวนไม่นอ้ ยที่มีพิษ ถ้าใช้ไม่ถูกวิธีหรื อใช้เกินขนาดจะมี
พิษถึงตายได้ ดังนั้นการใช้สมุนไพรจึงควรใช้ดว้ ยความระมัดระวังและใช้อย่างถูกต้อง ปัจจุบนั มี
การตื่นตัวในการนาสมุนไพรมาใช้พฒั นาประเทศมากขึ้น สมุนไพรเป็ นส่ วนหนึ่งในแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุ ขได้ดาเนิน โครงการ สมุนไพรกับสาธารณสุ ข
มูลฐาน โดยเน้นการนาสมุนไพรมาใช้บาบัดรักษาโรคใน สถานบริ การสาธารณสุ ขของรัฐมาก
ขึ้น และ ส่ งเสริ มให้ปลูกสมุนไพรเพื่อใช้ภายในหมู่บา้ นเป็ นการสนับสนุนให้มีการใช้สมุนไพร
มากยิง่ ขึ้น อันเป็ นวิธีหนึ่งที่จะช่วยประเทศชาติประหยัดเงินตราในการสัง่ ซื้ อยาสาเร็จรู ปจาก
ต่างประเทศได้ปีละเป็ นจานวนมาก
สมุนไพร หมายถึง “พืชที่ใช้ทาเป็ นเครื่ องยา” ส่ วน ยาสมุนไพร หมายถึง “ยาที่ได้จากส่ วนของพืช
สัตว์ และแร่ ซึ่งยังมิได้ผสมปรุ ง หรื อ แปรสภาพ” ส่ วนการนามาใช้ อาจดัดแปลงรู ปลักษณะ
ของสมุนไพรให้ใช้ได้สะดวกขึ้น เช่น นามาหัน่ ให้มีขนาดเล็กลง หรื อ นามาบดเป็ นผงเป็ นต้นมี
แต่พืชเพียงอย่างเดียวหามิได้เพราะยังมีสตั ว์และแร่ ธาตุอื่นๆอีกสมุนไพร ที่เป็ นสัตว์ได้แก่ เขา
หนัง กระดูก ดี หรื อเป็ นสัตว์ท้งั ตัวก็มี เช่น ตุ๊กแกไส้เดือน ม้าน้ า ฯลฯ
"พืชสมุนไพร" นั้นตั้งแต่โบราณก็ทราบกันดีวา่ มีคุณค่าทางยามากมายซึ่ ง เชื่อกันอีกด้วยว่า ต้นพืช
ต่างๆ ก็เป็ นพืชที่มีสารที่เป็ นตัวยาด้วยกันทั้งสิ้ นเพียงแต่วา่ พืชชนิดไหนจะมีคุณค่าทางยามากน้อย
กว่ากันเท่านั้น
"พืชสมุนไพร" หรื อวัตถุธาตุน้ ี หรื อตัวยาสมุนไพรนี้ แบ่งออกเป็ น 5 ประการ
1. รู ป ได้แก่ ใบไม้ ดอกไม้ เปลือกไม้ แก่นไม้ กระพี้ไม้ รากไม้ เมล็ด
2. สี มองแล้วเห็นว่าเป็ นสี เขียวใบไม้ สี เหลือง สี แดง สี ส้ม สี ม่วง สี น้ าตาล สี ดา
3. กลิ่น ให้รู้วา่ มรกลิ่น หอม เหม็น หรื อกลิ่นอย่างไร
4. รส ให้รู้วา่ มีรสอย่างไร รสจืด รสฝาด รสขม รสเค็ม รสหวาน รสเปรี้ ยว รสเย็น
5. ชื่อ ต้องรู้วา่ มีชื่ออะไรในพืชสมุนไพรนั้นๆ ให้รู้วา่ ขิงเป็ นอย่างไร ข่า เป็ นอย่างไร ใบขี้เหล็ก
เป็ นอย่างไร
คาแนะนาและการป้องกันอันตรายจากการใช้ ยาสมุนไพร







ต้องได้รับการวินิจฉัยโรคที่ถูกต้องเสี ยก่อน ให้รู้วา่ เป็ นโรคอะไรจะได้เลือกใช้ยา ให้ถูกกับโรค ถ้ายาใดไม่เคยกิน มา
ก่อนเลย ควรเริ่ มกินในขนาดน้อย ๆ ก่อน รอดูวา่ มีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นในร่ างกายหรื อไม่ ถ้าไม่จึงค่อยกินต่อไป
ศึกษาใช้ยาสมุนไพรให้ถูกชนิด เพราะยาสมุนไพรมีชื่อท้องถิ่นแตกต่างกัน และยังมีชื่อพ้องและซ้ าอีก คือสมุนไพร
ชื่อเดียวกัน แต่เป็ นคนละชนิด การรู้จกั ชื่อแต่ไม่รู้จกั ลักษณะของต้นไม้เหล่านี้ จะทาให้เกิดความผิดพลาด และอาจ
เกิด อันตรายจากการใช้ยาผิดชนิดได้
ต้องใช้สมุนไพรให้ถูกส่วน หรื อถูกอายุ เช่น ผลฝรั่ง ใช้รับประทานรักษาอาการท้องเดิน ผลฝรั่งสุก เป็ นยาระบาย
เปลือกผลทับทิมรักษาโรคท้องเดิน เปลือกรากหรื อเปลือกทับทิมใช้ถ่ายพยาธิ เด็กและคนชราห้ามใช้ยามาก เพราะมี
กาลังต้านทานน้อย
ใช้ให้ถูกขนาด ขนาดยามีความสาคัญมาก เพราะถ้าใช้นอ้ ยไปก็ไม่ได้ผล ใช้มากไปก็อาจจะเป็ นพิษได้
ต้องใช้ให้ถูกวิธี ถ้าผิดวิธีอาจเกิดพิษ เช่น ใบชุมเห็ดเทศ ใช้เป็ นยาระบาย ต้องปิ้ งไฟ ก่อนนาไปชงน้ า ถ้าไม่ปิ้งไฟ
อาจทาให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียนได้ ควรรู้พิษของยาก่อนใช้ เพื่อที่จะได้ระมัดระวังการใช้มากขึ้น
การใช้ยาครั้งแรก ไม่วา่ ยานั้นจะเป็ นยาภายนอกหรื อยารับประทาน ให้ทดลองใช้แต่นอ้ ยก่อน ถ้าเป็ นยาทาก็ทา
เฉพาะบริ เวณแคบ ๆ ถ้าเป็ นยารับประทานก็ลดขนาดลงครึ่ งหนึ่ง เพราะถ้าแพ้ยา อาการจะได้ไม่รุนแรงมากนัก
การรับประทานยาสมุนไพรนี้ ไม่ควรรับประทานติดต่อกันเป็ นเวลานาน ๆ โดยปกติรับประทานยา 2 - 3 วัน อาการ
ไม่ดีข้ ึน ควรปรึ กษาแพทย์แผนโบราณ เพราะอาจต้องเปลี่ยนยา เพราะยานั้นไม่ถูกกับโรค และการรับประทานยาติด
ต่อกันเป็ นเวลานานอาจเกิดการสะสมสิ่ งที่เป็ นพิษแก่ร่างกายได้
การนาสมุนไพรมาใช้และเก็บรักษา
นั้น ควรคานึงถึงความสะอาดเป็ นสาคัญ โดยเฉพาะการนาส่วนต่าง ๆ ของพืช มาใช้ เช่น ราก ลาต้น ใบ ดอก และผล
ควรล้างทาความสะอาดส่วนของสมุนไพรที่ จะใช้ก่อน เพื่อป้ องกันสิ่ งปลอมปน รวมทั้ง ภาชนะทุกชนิดที่ใช้ในการ
ปรุ งยา ตลอดจนความสะอาดของ ผูป้ รุ งยาเอง ส่วนสมุนไพรที่เหลือใช้อาจทาเป็ นสมุนไพร แห้งได้ โดยทาเป็ นชิ้น
เล็ก ๆ ตากแดดให้แห้ง เก็บในภาชนะปิ ดสนิทกันฝุ่ นละออง ส่วนขนาดที่ใช้น้ นั เป็ นขนาดสาหรับผูใ้ หญ่ ถ้าเป็ นเด็กก็
ควรลดลงตามส่วน
คาถาม
สมุนไพรไทย
สมุนไพรปลอดภัยจริงหรือ
“สมุนไพรจัดเป็ นยาชนิดหนึ่ง” ที่มี “ที่มีคุณอนันต์และโทษมหันต์”
ถ้าไม่จาเป็ นก็ไม่ควรใช้พร่ าเพรื่ อ
ข้ อควรรู้ ทวั่ ไปในการใช้
ยาสมุนไพร
คุณรู้จักยาสมุนไพรดีแค่ ไหน
ยาสมุนไพร คือยาที่ได้จากพฤกษชาติ สัตว์หรื อแร่ ซ่ ึ ง
ไม่ได้ผสม ปรุ ง หรื อแปรสภาพ
ส่ วนประกอบของพืชสมุนไพร
1.
ราก : จะมีหน้าที่สะสมและดูดซึมอาหารมาเลี้ยง บารุ งต้นพืช
สมุนไพรส่ วนที่ใช้ราก ได้แก่ กระชาย ปลาไหลเผือก รากมะละกอ
2.
ลาต้ น : ปกติเกิดบนดินหรื อมีบางส่ วนอยูใ่ ต้ดิน จะประกอบด้วย ตา
ข้อ ปล้อง เช่น บอระเพ็ด อ้อยแดง ฯลฯ
3.
4.
5.
ใบ : เช่น ใบกะเพรา ใบชุมเห็ด ฯลฯ
ดอก : เป็ นส่วนที่ใช้เป็ นยา เช่น กานพลู ดีปลี ฯลฯ
ผล : เช่น ดีปลี มะแว้ง กระวาน
คาถาม
อาหารทางการแพทย์
สาคัญอย่ างไร???
โภชนาการเป็ นรากฐานสาคัญสาหรับสุ ขภาพ
โรคขาดโปรตีนและพลังงานเป็ นภาวะทุพโภชนาการซึ่งพบ
ได้บ่อยในผูป้ ่ วยที่รับไว้รักษาที่โรงพยาบาล จากการศึกษาที่
โรงพยาบาลรามาธิบดี พบว่าร้อยละ 73 ของผูป้ ่ วยอายุกรรม และ
ร้อยละ 79 ของผูป้ ่ วยศัลยกรรมมีภาวะการขาดโปรตีนและพลังงาน
ร่ วมกับโรคที่ผปู ้ ่ วยเป็ นอยู่
ผูป้ ่ วยที่เป็ นโรคขาดโปรตีนและพลังงานร่ วมด้วย จะมีอตั รา
ความพิการและอัตราตายเพิ่มสูงขึ้น ตลอดจนต้องอยูร่ ับการรักษา
ในโรงพยาบาลนานขึ้น ดังนั้นการให้อาหารผ่านระบบทางเดิน
อาหารหรื อหลอดเลือดดาจึงมีความสาคัญอย่างยิง่ ต่อการป้ องกัน
และบาบัดโรคขาดโปรตีนและพลังงาน
ตราบใดที่ระบบทางเดินอาหารของผูป้ ่ วย ยังทางานได้
ตามปกติอยู่ ควรเลือกใช้การให้อาหารทางระบบทางเดินอาหาร
เพราะมีความปลอดภัยมากกว่าและค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการให้ทาง
หลอดเลือดดา การให้อาหารผ่านทางระบบทางเดินอาหารอาจทา
ได้โดยให้ผปู ้ ่ วยรับประทานอาหารทางปากหรื อให้ผา่ นทางสายให้
อาหาร
ประเภทของสู ตรอาหาร แบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ
1. สู ตรอาหารที่เตรียมขึน้ ภายในโรงพยาบาล
เป็ นอาหารที่เตรียมจากวัตถุดบิ ธรรมชาติ ได้ แก่ ผัก ผลไม้
เนือ้ สั ตว์ นา้ ตาล และไขมัน มาทาให้ สุกแล้ วปั่นผสมเข้ าด้ วยกัน
กรองเอากากหรือส่ วนที่ไม่ ละเอียดออก อาหารชนิดนีถ้ ูกจัดเตรียม
โดยแผนกอาหารของแต่ ละโรงพยาบาลตามสู ตรของผู้ป่วยก็จะได้
อาหารที่มีประโยชน์ และมีราคาถูก
2. สู ตรอาหารสาเร็จรู ป (Commercial formula)
เป็ นผลิตภัณฑ์จากบริ ษทั ผูผ้ ลิตอาหารทางการแพทย์ ปัจจุบนั
มีการนามาใช้ในโรงพยาบาลมากขึ้น เพราะสูตรอาหารประเภทนี ้
ได้ ผ่านการทดสอบว่ ามีคุณค่ าทางโภชนาการครบถ้ วน และมี
คุณสมบัติเหมาะสมสาหรั บผู้ป่วยแต่ ละกลุ่มตามที่ระบุในฉลาก
สะดวกในการนามาใช้มากกว่า เมื่อเทียบกับสูตรอาหารที่เตรี ยม
ขึ้นภายในโรงพยาบาล
เนื่องจากสูตรอาหารสาเร็ จรู ปแต่ละชนิด มีความแตกต่างกัน
ในชนิดของโปรตีน ไขมัน และคาร์โบไฮเดรต จึงเป็ นหน้าทีข่ อง
แพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ตอ้ งศึกษาถึงคุณค่าทาง
โภชนาการสูตรอาหารสาเร็ จรู ปเพื่อเลือกใช้ให้เหมาะสมกับโรคที่
ผูป้ ่ วยเป็ นอยู่
แพน-เอ็นเทอราล (PAN-ENTERAL)
PAN-ENTERAL เป็ นสูตรอาหารสาหรับทารกและเด็กเล็ก
ที่ป่วยด้วยปั ญหาเกี่ยวกับการย่อยและการดูดซึมอาหาร เป็ น
สารอาหารให้ทางสายให้อาหารหรื อดื่มเองในกรณี ที่ผปู้ ่ วย
สามารถดื่มได้
คุณสมบัตขิ อง PAN-ENTERAL
1. PAN-ENTERAL ให้พลังงานได้ในปริ มาตรที่จากัด
2. ไม่มีแล็คโตส (Lactose free)
3. มีไขมันชนิดมีเดียมเชนไตรกลีเซอไรด์ (MCT) ซึ่งย่อยดูดซึมและใช้
เป็ นพลังงานได้ง่าย
4. ให้กรดไขมันจาเป็ นทั้ง 2 ตัว ได้แก่ กรดไลโนเลอิก (Linoleic acid)
11.4% และกรดแอลฟา-ไลโนเลนิก (Alpha-Linolenic acid) 1.6% ของ
พลังงานรวม
สั ดส่ วนปริมาณสารอาหาร
- Prot 12%
- ให้พลังงาน 510 แคลลอรี /100กรัม
ส่ วนประกอบที่สาคัญโดยประมาณ (%w/w)
เด็กซ์ตริ น 28.6 %
ซูโครส 26.6 %
เคซีน 16.4 %
น้ ามันถัว่ เหลือง 12.2 %
มีเดียมเชนไตรกลีเซอไรค์ (MCT) 12.2 %
เกลือแร่ 2.93 %
วิตามิน 0.5 %
แต่งกลิ่นวานิลลา
เจ็น-ดีเอ็ม (GEN-DM)
คุณสมบัตขิ อง GEN-DM
1. ให้พลังงานและสารอาหารอื่นๆ ครบถ้วน
2. ไม่เติมน้ าตาลทราย
3. ไม่มีแล็คโตส (Lactose free)
4. มีคาร์นิทีน (Carnitine) ซึ่ งจาเป็ นต่อการเผาผลาญไขมันให้เกิดพลังงาน
5. ไม่ทาให้โคเลสเตอรอลสู ง
6. ใช้ดื่มหรื อให้ทางสายให้อาหาร
สั ดส่ วนปริมาณสารอาหาร
- Prot 15%
- ให้พลังงาน 452 แคลลอรี /100กรัม
ส่ วนประกอบที่สาคัญโดยประมาณ (%w/w)
เด็กซ์ตริ น 40.5 %
เคซีน 10.7 %
โปรตีนจากถัว่ เหลือง (Soy protein isolate) 10.7 %
น้ ามันถัว่ เหลือง 15 %
ฟรุ กโตส 9 %
โพลีเด็กซโตรส 5 %
โอลิโกฟรุ กโตส (Oligofructose) 4.2 %
เกลือแร่ 2.8 %
วิตามิน 0.28 %
คาร์นิทีน 0.06 %
แต่งกลิ่นสังเคราะห์
นีโอ-มูน (NEO-MUNE)
คุณสมบัตขิ อง NEO-MUNE
1. เป็ นสูตรอาหารที่มีกลูตามีน อาร์จีนีน และน้ ามันปลา
2. ให้โปรตีนสูง เป็ นอาหารทางสายให้อาหารสาหรับผูป้ ่ วยหนัก
3. เป็ นสูตรอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วน ซึ่งสามารถใช้เป็ นแหล่ง
ให้สารอาหารหรื อเป็ นอาหารเสริ มได้
ส่ วนประกอบที่สาคัญโดยประมาณ (%w/w)
เด็กซ์ตริ น 45.17 %
โซเดียมเคซี เนท 18.25 %
มีเดียมเชนไตรกลีเซอไรด์ (MCT) 6.48 %
อาร์จีนีน 5.21 %
โพลีเด็กซโตรส 4 %
น้ ามันข้าวโพด 3.48 %
กลูตามีน 2.61 %
น้ ามันปลา 2.32 %
เกลือแร่ 1.94 %
วิตามิน 0.77 %
แต่งกลิ่นสังเคราะห์และเลียนแบบธรรมชาติ
สั ดส่ วนปริมาณสารอาหาร
- Prot 26%
- ให้พลังงาน 417 แคลอรี /100กรัม
อะมิโนเลแบน-ออราล
(AMINOLEBAN-ORAL)
คุณสมบัตขิ อง AMINOLEBAN-ORAL
1. เป็ นสูตรอาหารที่มีปริ มาณกรดอะมิโนชนิดกึ่งสูง (High
concentration of Branched Chain Amino acid)
2. มีปริ มาณกรดอะมิโนชนิดวงต่า (Low concentration of
Aromatic Amino acid)
3. ใช้สาหรับเสริ มปริ มาณสารอาหารในผูป้ ่ วยที่มีการทางานของ
ตับเสื่ อมสมรรถภาพ
เปปตาเมน (PEPTAMEN)
คุณสมบัตขิ อง PEPTAMEN
1. มีซูโครส เป็ นส่ วนประกอบ และ มอลโตเด็กซ์ตริ น
แป้ งข้าวโพด
2. มีส่วนประกอบของ Whey Protein ในรู ปของ Peptide
3. มีน้ ามันถัว่ เหลือง และ Mct Oil
สั ดส่ วนปริมาณสารอาหาร
- Prot 18%
- ให้พลังงาน 478 แคลลอรี /100กรัม
เอนชัวร์ (ENSURE)
คุณสมบัตขิ อง ENSURE
1. มีซูโครส และมอลโตเด็กซ์ตริ น และ Corn Syrup
2. มีเคซีน และ Soy Bean
3. มี Mct Oil
สั ดส่ วนปริมาณสารอาหาร
- Prot 15%
- ให้พลังงาน 450 แคลลอรี /100กรัม
ไอโซคาล (ISOCAL)
คุณสมบัตขิ อง ISOCAL
1. มีซูโครส และมอลโตเด็กซ์ตริ น
2. มีโซเดียม แคลเซียมคาร์ซิเนต
3. มี Mct Oil
สั ดส่ วนปริมาณสารอาหาร
- Prot 15%
- ให้พลังงาน 470 แคลลอรี /100กรัม
ส่ วนประกอบที่สาคัญโดยประมาณ (%w/w)
เด็กซ์ตริ น 58.0 %
เจลาติน ไฮโดรไลเสท 13 %
กรดอะมิโน 13 %
น้ ามันราข้าว 7 %
เกลือแร่ 2.267 %
วิตามิน 0.138 %
แต่งกลิ่นเลียนแบบธรรมชาติ
เปรี ยบเทียบส่ วนประกอบ
คุณลักษณะ
เหมาะ
สาหรับ
ผูป้ ่ วย
PANENTERAL
อาหารสาหรับ
ทารกและเด็กที่
ป่ วยด้วยปั ญหา
เกี่ยวกับการ
ย่อยและการดูด
ซึ มอาหาร
GEN-DM
อาหารสาหรับคน
ปกติ ผูท้ ี่เป็ น
เบาหวาน ผูท้ ี่
ต้องการควบคุม
ระดับน้ าตาลใน
เลือด ผูท้ ี่มีระดับ
โคเลสเตอรอลสู ง
ในเลือด ผูป้ ่ วยที่
ต้องการทางสายให้
อาหาร
NEO-MUNE
AMINOLEBANORAL
อาหารสาหรับผูป้ ่ วยที่ อาหารชนิด
ต้องการโปรตีนและ โภชนาการ
พลังงานสู ง เช่น ผูท้ ี่มี ครบถ้วนเฉพาะ
ความต้องการ
ผูป้ ่ วยด้วยโรคตับ
สารอาหารเพิ่มขึ้น
ภายหลังผ่าตัด
อุบตั ิเหตุ แผลไฟลวก
และผูป้ ่ วยมะเร็ ง
-
คุณลักษณะ
PAN-ENTERAL
GEN-DM
NEO-MUNE
AMINOLEBAN
-ORAL
แหล่งที่มาของ
สารอาหาร
-โปรตีน
เคซี น
เคซีน โปรตีนจาก
ถัว่ เหลือง (Soy
protein isolate)
โซเดียมเคซิเนท
อาร์จีนีน กลูตามีน
กรดอะมิโน
เจลาติน ไฮโดรไล
เสท
คาร์โบไฮเดรต
เด็กซ์ตริ น
ซูโครส
เด็กซ์ตริ น
ฟรุ กโตส
เด็กซ์ตริ น ฟรุ กโตส
เด็กซ์ตริ น
ไขมัน
น้ ามันถัว่ เหลือง
มีเดียมเชนไตรกลีเซอ
ไรด์ (MCT)
น้ ามันถัว่ เหลือง
น้ ามันข้าวโพด
น้ ามันปลา
มีเดียมเชนไตรกลีเซอ
ไรด์ (MCT)
น้ ามันราข้าว
-
คาถาม
อ่านฉลากโภชนาการ
ฉลากโภชนาการเป็ นสิ่ งสาคัญ เพราะอาหารมากมายมีพลังงานสู ง
และไขมันสูงกว่าที่เราคาดคิด ในฉลากอาหารจะระบุคุณค่าทางโภชนาการ
อาหารซึ่งสามารถใช้เปรี ยบเทียบข้อมูลในผลิตภัณฑ์อาหารประเภทเดียวกัน
เพื่อให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพดีและคุม้ ค่าเงินที่สุด
นอกจากนี้ฉลากอาหารยังมีขอ้ ความอ้างสรรพคุณของอาหาร
ปริ มาณ และส่ วนประกอบของเครื่ องปรุ งแต่ละชนิดในอาหาร ผูผ้ ลิต วัน
ผลิต และวันหมดอายุ รวมทั้งเลขทะเบียนและเครื่ องหมาย อย.ด้วย มีกรอบ
ข้อมูลโภชนาการ
เกณฑ์ การอ่ านฉลากอาหาร
1.
2.
3.
4.
5.
เลือกอาหารที่เป็ นแหล่งที่ดีของใยอาหาร แคลเซียม ธาตุเหล็ก และ
วิตามินซี
เปรี ยบเทียบอาหารชนิดเดียวกันว่ายีห่ อ้ ไหนมีไขมันและแคลอรี่ ต่ากว่า
เลือกอาหารที่มีปริ มาณโซเดียม (เกลือต่า)
เลือกอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวและไขมันทรานส์ต่า
เลือกอาหารที่มีน้ าตาลต่า
ข้ อมูลโภชนาการบอกอะไรบ้ าง
จานวน 1 หน่วยบริ โภค
ระบุปริ มาณเป็ นถ้วยตวงหรื อช้อนตวง หรื อน้ าหนักเป็ นกรัม หรื อ
เป็ นปริ มาณ ซึ่งเป็ นปริ มาณที่ผผู ้ ลิตแนะนาในการบริ โภคต่อหนึ่งครั้ง
จานวนบริ โภคต่อ 1 กล่อง หรื อ 1 ห่ อ หรื อ 1 กระป๋ อง
ตัวอย่างเช่น
- จานวนหน่วยบริ โภค 4 หมายถึง กินได้ 4 ครั้ง
- ถ้าปริ มาณ 1 หน่วยบริ โภคเท่ากับ 1 ถ้วยตวง แต่รับประทาน 2
ถ้วยตวง ก็จะได้พลังงาน ไขมัน และสารอาหารอื่นๆที่ระบุไว้เป็ น 2 เท่า

คุณค่ าโภชนาการต่ อ หนึ่งหน่ วยบริโภค
โดยแสดงข้อมูลเป็ นปริ มาณพลังงาน ไขมันรวม ไขมันอิ่มตัว คอเล
สตอรอล โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ใยอาหาร น้ าตาล (ที่เติมหรื อที่มีอยูต่ าม
ธรรมชาติในอาหารชนิดนั้นๆ) โซเดียม วิตามินเอ วิตามินซี วิตามินบี
แคลเซียม ธาตุเหล็ก หรื อสารอาหารอื่นๆ ที่มีอยูใ่ นบัญชีสารอาหารที่
แนะนาให้บริ โภคประจาวันสาหรับคนไทยอายุ 6 ขวบขึ้นไป
ปริมาณพลังงานและไขมันรวม
คือข้อมูลที่บอกให้ทราบว่า ใน 1 หน่วยบริ โภคให้พลังงานเท่าใด
และมีพลังงานจากไขมันเท่าใด หากคุณกาลังควบคุมน้ าหนักหรื อลด
น้ าหนัก ควรเลือกผลิตภัณฑ์ที่ลดแคลอรี และไขมัน (โดยเฉพาะไขมัน
อิ่มตัว)
ร้ อยละของปริมาณที่แนะนาให้ บริโภคต่ อวัน
เป็ นค่าเฉลี่ยของสารอาหารเทียบสาหรับผูท้ ี่ตอ้ งการพลังงานวันละ
2,000 กิโลแคลอรี เช่น อาหารที่จะให้อาหารเป็ นสัดส่ วนเท่าใดของที่เราควร
ได้รับในวันที่กิน เช่น ปริ มาณคาโบไฮเดรตที่แนะนาสาหรับระดับ 2,000
กิโลแคลอรี คือ 300 กรัม ต่อวัน แต่หนึ่งหน่วยบริ โภคให้คาร์โบไฮเดรต
ทั้งหมด 45 กรัม คิดเป็ น (45/300) X 100 = 15% ของที่แนะนา ในวันนั้น
เราต้องการอีก 85% จากอาหารอื่นๆ
ไขมันรวม
หมายถึง ไขมันอิ่มตัว (ไขมันไม่ดี) ไขมันอิ่มตัวหลายตาแหน่ง และไขมัน
อิ่มตัวตาแหน่งเดียว (ไขมันดี) จากัดให้นอ้ ยกว่า 100 เปอร์เซ็นต์ของความ
ต้องการประจาวัน
อาหารที่มีไขมันต่าจะต้องมีไขมันไม่เกิน 3 กรัมต่อ 1 หน่ วยบริ โภค
เลือกอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวต่าที่สุด หรื อน้อยกว่า 1 กรัมต่อ 1 หน่ วย
บริ โภค หรื อ
•ไขมันทรานส์
เป็ นไขมันตัวใหม่ที่ถูกระบุไว้บนข้อมูลโภชนาการตั้งแต่ปี 2006
(ในประเทศอเมริ กา) เพราะไขมันอิ่มตัวและไขมันทรานส์เพิ่มความเสี่ ยงต่อ
โรคหัวใจ ควรเลือกอาหารที่มีไขมันทรานส์ให้นอ้ ยที่สุด
•โซเดียม
มีผลเพิ่มความดันโลหิ ต ดังนั้นควรเลือกอาหารที่มีโซเดียมไม่เกิน
140 มิลลิกรัมต่อหนึ่งหน่วยบริ โภค
•โปรตีน
เลือกโปรตีนที่ดี เช่น เนื้อสัตว์ไขมันต่า ไข่ ผลิตภัณฑ์นมไขมันต่า
และถัว่ ต่างๆ
•คาร์ โบไฮเดรต
มี 3 ชนิด คือ น้ าตาล แป้ ง และใยอาหาร ซึ่งจะระบุไว้ในฉลาก
ข้อมูลโภชนาการ เป็ นปริ มาณคาร์โบไฮเดรททั้งหมด เป็ นกรัม) ซึ่งจะรวม
ปริ มาณน้ าตาลและใยอาหารไว้ดว้ ยกัน ควรเลือกคาร์โบไฮเดรตที่ดี เช่น
เลือกข้าวซ้อมมือ ขนมปังโฮลวีท ซีเรี ยล พาสต้า ผลิตภัณฑ์ธญ
ั พืชไม่ขดั สี
ผักและผลไม้
•สาหรับผู้ทเี่ ป็ นเบาหวาน
ซึ่งจะต้องควบคุมปริ มาณคาร์โบไฮเดรต ทุกๆ 15 กรัมของ
คาร์โบไฮเดรตจะนับเป็ น 1 คาร์บ หรื อ 1 หน่วยแลกเปลี่ยนของอาหารกลุ่ม
ข้าว แป้ ง และขนมปัง
•ปริมาณน้าตาล
อาจเป็ นน้ าตาลที่มีอยูใ่ นอาหารธรรมชาติ เช่น น้ าผลไม้(ฟรักโทส))
หรื อมาจากน้ าตาลทราย น้ าเชื่อม น้ าผึ้งที่เติมลงไป ซึ่งข้อมูลโภชนาการที่ไม่
แยกให้เห็นและคาร์โบไฮเดรทที่ตอ้ งจากัด แต่อาจดูจากองค์ประกอบของ
อาหารที่ระบุไว้วา่ มีเปอร์เซ็นต์ของน้ าตาลเท่าไร
•เลือกอาหารที่มีสารอาหารที่ดี
เช่น ใยอาหาร วิตามินเอและซี แคลเซียม และธาตุเหล็ก เพื่อ
เสริ มสร้างสุ ขภาพที่ดี ลดความเสี่ ยงโรคกระดูกพรุ นและโลหิ ตจาง เป็ นต้น
เลือกผักและผลไม้เพื่อให้ได้สารอาหารเหล่านี้ให้มากขึ้น กินวิตามินแร่ ธาตุ
และใยอาหารให้เพียงพอ
•ตารางแสดงระดับพลังงาน 2,000 กิโลแคลอรีต่อวัน
แสดงถึงปริ มาณไขมันรวมและไขมันอิ่มตัวสูงสุ ด คอเลสตอรอล
คาร์โบไฮเดรต ใยอาหาร โซเดียม ที่ควรรับประทานใน 1 วัน
ฉลากโภชนาการยังระบุส่วนประกอบและปริ มาณของเครื่ องปรุ งที่
มีในอาหาร อาหารที่มีองค์ประกอบมากกว่า 1 อย่าง จะต้องแสดงรายการใน
ฉลาก โดยจะเรี ยงลาดับน้ าหนักมากที่สุดไปน้อยที่สุด องค์ประกอบที่มีมาก
ที่สุดจะเป็ นรายการแรก ข้อมูลส่ วนนี้จะเป็ นประโยชน์ต่อผูท้ ี่แพ้
องค์ประกอบของอาหารบางชนิดซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยง เช่น อาหารทะเล ไข่
ผงชูรส หรื อบางคนอาจจะต้องการองค์ประกอบอาหารมังสวิรัติ ก็จะทาให้
เลือกอาหารได้ตามเป้ าหมาย
ความหมายของข้ ออ้ างบนฉลากโภชนาการ
การอ้างสรรพคุณ ในฉลากโภชนาการจะพบเสมอ เพราะเป็ นจุด
ขายสิ นค้า เช่น พลังงานต่า ไขมันต่า น้ าตาลต่า คอเลสตอรอลต่า คาอ้างต้อง
เป็ นไปตามที่องค์การอาหารและยากาหนดไว้ ตามกฎหมายข้อมูล
โภชนาการควรมีความหมายที่ชดั เจนและไม่อา้ งสรรพคุณเกินความจริ ง
ฉะนั้นผลิตภัณฑ์อาหารที่อา้ งว่าเป็ นอาหารเพื่อสุ ขภาพจะหมายถึงอาหารที่มี
ไขมันต่า โซเดียมต่า และคอเรสตอรอลต่า และต้องมีวิตามินเอและซี ธาตุ
เหล็กโปรตีน แคลเซียมและใยอาหารอย่างน้อย 10 เปอร์เซ็นต์ของความ
ต้องการประจาวัน
คาอ้าง
ปลอดพลังงาน
พลังงานต่า
ไลท์
ปลอดไขมัน
ไขมันต่า
ลดไขมัน
พลังงานน้อยกว่า
ปลอดไขมันอิ่มตัว
ความหมาย
มีพลังงาน > 5 กิโลแคลอรี ต่อหนึ่งหน่วยบริ โภค
มีพลังงานต่ากว่า 40 กิโลแคลอรี ต่อหนึ่งหน่วยบริ โภค
มีพลังงานต่าลง 1 ใน 3 หรื อไขมันน้อยกว่าผลิตภัณฑ์ปกติ 50
เปอร์เซ็นต์
มีไขมันน้อยกว่า 0.5 กรัมต่อหนึ่งหน่วยบริ โภค
มีไขมันต่ากว่า 3 กรัมต่อหนึ่งหน่วยบริ โภค
มีไขมันลดลงอย่างน้อย 25 เปอร์เซ็นต์ต่อหนึ่งหน่วยบริ โภคเมื่อ
เทียบกับสู ตรปกติ
พลังงานลดลงอย่างน้อย 25 เปอร์เซ็นต์ต่อหนึ่งหน่วยบริ โภค
เมื่อเทียบกับสู ตรปกติ
มีไขมันอิ่มตัวน้อยกว่า 0.5 กรัมต่อหนึ่งหน่วยบริ โภค และมี
ไขมันทรานส์ไม่เกิน 0.5 กรัม ต่อหนึ่งหน่วยบริ โภค
คาอ้าง
ไขมันอิ่มตัวต่า
คอเรสตอรอลต่า
ปลอดคอเรสตอรอล
ปลอดน้ าตาล
ปลอดโซเดียม
โซเดียม
ไม่เติมน้ าตาล
ความหมาย
มีไขมันอิ่มตัวไม่เกิน 1 กรัมและไม่เกิน 15 เปอร์เซ็นต์ของ
พลังงานจากไขมันอิ่มตัว
มีคอเรสตอรอลไม่เกิน 20 มิลลิกรัมหรื อไขมันอิ่มตัวไม่เกิน 2
กรัมต่อหนึ่งหน่วยบริ โภค
มีคอเรสตอรอลน้อยกว่า 2 มิลลิกรัม หรื อไขมันอิ่มตัวไม่เกิน 2
กรัมต่อหนึ่งหน่วยบริ โภค
มีน้ าตาลน้อยกว่า 0.5 มิลลิกรัมต่อหนึ่งหน่วยบริ โภค
มีโซเดียมเกินหรื อน้อยกว่า 5 มิลลิกรัมต่อหนึ่งหน่วยบริ โภค
มีโซเดียมไม่เกิน 140 มิลลิกรัมต่อหนึ่งหน่วยบริ โภคเทียบกับ
อาหารสู ตรเดิม
ไม่เติมน้ าตาลในระหว่างกระบวนการผลิตหรื อกระบวนการ
ผลิตไม่ทาให้มีน้ าตาลเพิ่มขึ้นจากที่มีอยูเ่ ดิมในธรรมชาติ
องค์การอาหารและยา ได้กาหนดมาตรฐานการอ้างสรรพคุณบน
ฉลากอาหารที่ช่วยให้ผบู ้ ริ โภคพิจารณาว่า อาหารนั้นมีสารอาหารที่ตอ้ งการ
สูงหรื อไม่ และอาจช่วยลดความเสี่ ยงโรคบางชนิด ตัวอย่างสรรพคุณอ้าง
อาจจะแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างแคลเซียมและกระดูกพรุ น โรคหัวใจ
และไขมัน หรื อความดันโลหิ ตสูงและโซเดียม
การอ่านข้อมูลโภชนาการถือเป็ นสิ่ งสาคัญที่จะนามาใช้ในการเลือก
ซื้ออาหารและเป็ นสิ่ งที่ทาให้ผผู ้ ลิตแข่งขันในการผลิตสิ นค้าที่มีคุณค่าแก่
สุ ขภาพยิง่ ขึ้น
จดบันทึกการกิน
โดยบันทึกอาหารที่บริ โภคตั้งแต่เช้าเรื่ อยไปจนเข้านอน รวมถึง
เวลาสถานที่ ชนิดอาหาร สัดส่ วนอาหาร และเครื่ องดื่มที่บริ โภค
การจดบันทึกจะช่วยให้เข้าใจถึงพฤติกรรมการบริ โภคและปั จจัย
สิ่ งแวดล้อมที่มีผลต่อการเพิม่ น้ าหนักตัวและความเสี่ ยงต่อโรคเรื้ อรังไม่ติด
เชื้อ มองเห็นวิถีชีวิตที่ตอ้ งปรับปรุ ง และทาให้ตอ้ งระมัดระวังพฤติกรรมการ
บริ โภคและการเลือกชนิดอาหารให้มีคุณภาพมากขึ้น
ข้ อแนะนาการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
กินกลางคืน
ไม่งดมื้ออาหารหลัก 3 มื้อ กินเป็ นเวลา
เบนความสนใจการกินในเวลากลางคืนโดยหากิจกรรมอื่น
ทดแทน เช่น ดูหนัง ฟังเพลง คุยโทรศัพท์

กินไม่อ้ นั พฤติกรรม ไม่งดมื้ออาหารหลัก 3 มื้อ กินเป็ นเวลา
กินไม่อ้ นั เป็ นปั ญหาจิต หลบหลีกสถานการณ์และสิ่ งยัว่ ยวนที่จะนาไปสู่ พฤติกรรม
เวชที่ไม่ควรมองข้าม กินไม่อ้ นั
อาหารกระตุน้ ให้
อยากกิน
ปริ มาณอาหารเกินพิกดั
เก็บให้ห่างจากสายตา และวางแผนการกินอาหารประเภทนี้
โดยเลือกโอกาสที่เหมาะสามารถควบคุมปริ มาณการกินได้

เรี ยนรู ้สัดส่ วนมาตรฐานตักแบ่งปริ มาณอาหารที่ควร
บริ โภคและไม่ควรตักเพิ่ม
แบ่งอาหารให้ผร
ู ้ ่ วมโต๊ะเมื่อต้องการกินอาหารนอกบ้าน

กินสนองความรู ้สึกทาง รู ้จกั สังเกตอารมณ์เหล่านี้ วา่ เกิดเมื่อใดและมองหากิจกรรม
อารมณ์ (เครี ยด เบื่อ
ทดแทน เพื่อบาบัดอารมณ์เหล่านี้ เช่น เดินเที่ยว คุยกับเพื่อน
ฯลฯ)
ฝึ กเทคนิคการผ่อนคลาย
อาหารว่างบ่อยเกินไป วางแผนเลือกอาหารว่างที่มีคุณภาพ เช่น โยเกริ ต ธัญพืชที่มี
ใยอาหารสู ง ขนมของว่าง ที่มีใยอาหารและมีไขมันต่าหรื อ
ผลไม้
งดมื้ออาหาร
กินให้เป็ นเวลา การงดมื้ออาหารจะทาให้หิวและกิ นมากขึ้น
เครื่ องดื่มทดแทนมื้ออาหารและอาหารแท่งไขมันต่าและ
น้ าตาลต่า อาจใช้แทนได้
เครื่ องดื่มแคลอรี มาก เลือกเครื่ องดื่มที่ไม่มีแคลอรี ไม่มีคาเฟอีน ไม่มีโซเดียม
เกินไป
(น้ าเปล่า เครื่ องดื่มไม่เติมน้ าตาล)
เลี่ยงกิจกรมบางชนิ ด
ขณะกิน
กินอาหารนอกบ้าน
บ่อยเกินไป
ขณะกินอาหารไม่ดูทีวี อ่านหนังสื อขับรถ เพราะจะทาให้
เพลินกับการกิน

วางแผนการเลือกเมนูก่อนออกไปกิน เลือกกินอาหารไขมัน
ต่า แยกน้ าสลัดและซอส ลดปริ มาณอาหารที่กินลงครึ่ งหนึ่ง
ลดเมนูอาหารทอด เพิ่มเมนูอาหารผัก

คาถาม
ไขมัน
ไม่ ใช่ ผู้ร้ายอย่ างทีค่ ดิ
ฝ่ ายโภชนาการ รพ.ภูมพิ ลฯ
ความหมายของไขมัน
ไขมัน เป็ นสารอาหารที่สาคัญ และจาเป็ นสาหรับร่ างกาย
หน้ าที่และประโยชน์
1. ไขมันทาให้ อาหารมีลก
ั ษณะน่ ารับประทาน
2. เป็ นฉนวนป้องกันไม่ ให้ ร่างกายสู ญเสี ยความร้ อน
3. จาเป็ นสาหรั บผิวหนังทาให้ ผว
ิ หนังชุ่มชื่น
4. แหล่ งเกิดวิตามิน A D E K ทีล
่ ะลายในไขมัน
ไขมันที่ดีที่สุด
กรดไขมันในอาหารแบ่ งออกเป็ น 2 ชนิด


กรดไขมันอิม่ ตัว พบในไขมันสั ตว์ นม ครีม เนยแท้
กรดไขมันไม่ อมิ่ ตัว
กรดไขมันไม่ อมิ่ ตัวเชิงเดีย่ ว เป็ นไขมันที่ดที ี่สุด พบในน้ามันพืชบางชนิด
เช่ น น้ามันมะกอก น้ามันถั่วลิสง ช่ วยบรรเทาโรคหัวใจ
 กรดไขมันไม่ อม
ิ่ ตัวเชิงซ้ อนจากพืช เป็ นไขมันที่ดีรองลงมา พบในน้ามัน
ข้ าวโพด น้ามันดอกทานตะวัน
 กรดไขมันไม่ อม
ิ่ ตัวจากสั ตว์ เช่ น น้ามันปลาทะเล มีโครงสร้ างต่ างจาก
สั ตว์ บก ช่ วยลดคอเลสเตอรอลได้

ปริ มาณกรดไขมันในน้ ามัน
ประเภทนา้ มัน
มะกอก
ถั่วลิสง
ถั่วเหลือง
ข้ าวโพด
ตารางเปรีดอกทานตะวั
ยบเทียบ น
มะพร้ าว
หมู
กรดไขมันอิม่ ตัว
14 %
17 %
15 %
13 %
11 %
89 %
39 %
กรดไขมันไม่ อมิ่ ตัว
เชิงเดีย่ ว
เชิงซ้ อน
76 %
9%
47 %
32 %
24 %
59 %
25 %
59 %
20 %
67 %
6%
45 %
2%
11%
น้ ามันพืชที่ดี
นา้ มันพืชที่ดี ควรมีส่วนประกอบของกรดไขมันไม่ อมิ่ ตัว
เชิงเดีย่ วในปริมาณมากๆ แต่ กไ็ ม่ จาเป็ นต้ องมากที่สุด
จากตารางจะเห็นว่ า นา้ มันมะกอก นา้ มันถั่วลิสง นา้ มัน
ถั่วเหลืองมีกรดไขมันไม่ อมิ่ ตัวเชิงเดีย่ วมาก แต่ กม็ กี รดไขมัน
ชนิดอืน่ ปนอยู่ในปริมาณไม่ เท่ ากัน
เห็นได้ ว่าไม่ มนี า้ มันชนิดใดทีด่ สี มบูรณ์ แบบ ดังนั้น
แนวคิดใหม่ ในการเลือกใช้ นา้ มันพืชคือ ใช้ สลับสั บเปลีย่ นกัน
ได้ เพียงยึดหลัก
โคเลสเตอรอล “ ผูร้ ้ายหมายเลขหนึ่งจริ งหรื อ ”
คอเลสเตอรอล
เป็ นไขมันที่ตับผลิตขึน้ เพือ่ นาไปสร้ างส่ วนประกอบของ
อวัยวะที่สาคัญ เช่ น




เป็ นส่ วนประกอบของเซลล์ ประสาท และสมอง
สร้ างฮอร์ โมนเพศชายและหญิง
สร้ างนา้ ดีในระบบทางเดินอาหาร เพือ่ ช่ วยย่ อยไขมัน
เปลีย่ นพลังงานจากแสงแดดให้ เป็ นวิตามินดี
โคเลสเตอรอล “ ผูร้ ้ายหมายเลขหนึ่งจริ งหรื อ ”
แหล่งที่มาของโคเลสเตอรอล มี 2 ทาง คือ
 เนือ
้ สั ตว์ ที่รับประทานเข้ าไป
 ร่ างกายสร้ างขึน
้ เองที่ตับ
กินไขมันอย่างไรไม่ให้หลอดเลือดอุดตัน
แนวทางปฏิบัติ




ใช้ นา้ มันพืชในอาหารปรุงอาหาร
ลดอาหารเนือ้ สั ตว์ ประเภทเนือ้ หมู เนือ้ วัว แฮม เบคอน ไส้
กรอก หลีกเลีย่ งอาหารทะเล ตับ และเครื่องในสั ตว์ ให้ น้อยลง
กินปลาทะเลให้ มากขึน้
กินถั่วเมล็ดแห้ ง ธัญพืชชนิดต่ างๆ กินเต้ าหู้แทนเนือ้ สั ตว์ บ่อยๆ
จากการวิจัย พบว่ า โปรตีนจากถั่วเหลือง 30 กรัม สามารถลด
โคเลสเตอรอลได้ 10 % และสร้ าง HDL ได้ ด้วย
กินไขมันอย่างไรไม่ให้หลอดเลือดอุดตัน
แนวทางปฏิบัติ







ปรุงอาหารใช้ นา้ มันให้ น้อย โดยวิธีอบ ปิ้ ง ตุ๋น นึ่ง
ดืม่ นมขาดมันเนย พร่ องมันเนย
กินข้ าวและแป้งทีย่ งั ไม่ ได้ ขัดสี ราข้ าวออก
เลีย่ งการกินถั่วทอด ถั่วลิสง
ลดการกินขนมหวาน นา้ ตาล
งดอาหารทีม่ รี สเค็ม
กินสมุนไพรและเครื่องเทศ เช่ น กระเทียมสด
เรื่ องน่ารู ้เกี่ยวกับโคเลสเตอรอล
นา้ มันมะพร้ าวและนา้ มันปาล์ ม ไม่ มีโคเลสเตอรอล แต่ ทาให้
ร่ างกายสร้ างโคเลสเตอรอลเพิม่ ขึน้
 นา้ มันถัว
่ เหลือง ถั่วลิสง ราข้ าว นา้ มันงา นา้ มันปลา ทาให้
ร่ างกายสร้ างโคเลสเตอรอลลดลง แต่ ร่างกายก็ขับ
โคเลสเตอรอลออกไปมากขึน้
 ปริ มาณโคเลสเตอรอลในอาหารไม่ ได้ เป็ นตัวบ่ งชี้ถึงระดับ
โคเลสเตอรอลโดยตรง แต่ ตัวบ่ งชี้ที่สาคัญ คือ ปริ มาณกรด
ไขมันอิม่ ตัวในอาหารชนิดต่ าง ๆ จะทาให้ คอเลสเตอรอลใน
เลือดสู ง

เรื่ องน่ารู ้เกี่ยวกับโคเลสเตอรอล
อาหารที่มีโคเลสเตอรอลสู ง ไม่ ได้ เพิม่ ความเสี่ ยงต่ อการเป็ น
โรคหัวใจ แต่ ขนึ้ อยู่กบั พฤติกรรมการกิน
 เด็กโตกินไข่ ได้ วน
ั ละ 1 ฟอง
 ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุที่มีสุขภาพปกติ ไม่ ได้ เป็ นโรค สามารถกิน
ไข่ ได้ วนั ละ 1 ฟอง
