IHPP - กระทรวงสาธารณสุข

Download Report

Transcript IHPP - กระทรวงสาธารณสุข

ระบบสุขภาพไทยกับประชาคมอาเซียน
โรงแรมทีเคพาเลซ
๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖
นพ. ศุภกิจ ศิริลกั ษณ์ พ.บ., อ.ว., MPHM
ที่ปรึกษากระทรวงด้านเวชกรรมป้ องกันระดับทรงคุณวุ1 ฒิ
Pretest:
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ที่ไม่ได้เป็ นสมาชิก ASEAN คือ
ประเทศที่มีประชากรน้อยที่สุดใน ASEAN คือ
ประเทศที่เป็ นสมาชิก ASEAN หลังสุ ดคือ
ประเทศกลุ่ม CLMV คือ
ประเทศที่ยากจนมากที่สุดคือ
วิชาชีพที่ ลงนามในข้อตกลงยอมรับร่ วม (MRA) แล้วทั้งหมดกี่วิชาชีพ
วิชาชีพด้านสุ ขภาพใดบ้างที่มีขอ้ ตกลงยอมรับร่ วมแล้ว
เป้ าหมายเดิมของการเป็ น AC คือปี 2020 แต่ได้กาหนดเป้ าหมายให้เร็ วขึ้นเป็ นปี ใด
การดาเนินการทางด้านสุ ขภาพอยูใ่ นเสาหลักด้านใดมากที่สุด
สุขภาพโลก กับ สาธารณสุขระหว่ างประเทศ
Global vs International Health
Global Health
International
Health
Public Health
Health issues that can
transcend national
boundaries
Health issues of countries
Health issues of a
other than
particular community or
one’s own, especially those country
of low-income and
middle-income
requires global
cooperation
requires bi-national
cooperation
Implement within
Health equity among
nations and for all people
Seeks to help people of
other nations
Health equity within a
nation or community
Highly interdisciplinary
and multidisciplinary
within
and beyond health
sciences
A few disciplines but has
not
emphasized
multidisciplinary
Encourages
multidisciplinary
approaches, particularly
within
health sciences and with
social sciences
country
ประเด็นในสุขภาพโลก (1)
•
ภาวะคุกคามจากโรค Threats from diseases
– Outbreak of pandemic diseases (SARS, H1N1, H5N1)
– Changing lifestyle (higher incidence of NCDs)
– Change in population structure (higher proportion of
elderly  higher incidence of chronic diseases)
•
ภาวะโลกร้อน Climate changes
– Impacts of climate changes on health (diseases, thermal
stress)
IHPP
ประเด็นในสุขภาพโลก (2)
•
ผูเ้ ล่นในเวทีสุขภาพโลก Global health actors
– Actors expanded beyond the conventional health sector
(civil society, international organization)
– Foreign policies and health
•
อาหารปลอดภัยและความมัน่ คง Food
safety (chemical
contamination, disease contamination) and food
security
IHPP
ประเด็นในสุขภาพโลก (3)
•
ผลกระทบจากการค้าข้ามชาติ
trade
–
–
–
–
•
Impacts of international
IPR
FTA
Migration of health workforce
Mobility of international patients
การเคลื่อนย้ายคน Mobility of people
– Migrants - Health of migrants along borders
– Disease transmission
•
การอภิบาลระบบ Global health governance issues
– Multiple key actors and roles of UN agencies
IHPP
วิเคราะห์ ประเทศไทย
SWOT Analysis and Global Health of Thailand
IHPP
Strengths (1)
• ระบบสุขภาพที่เข้ มแข็ง (achieving
•
•
•
•
universal health coverage with
better financial risk protection and more equitable access to
health care)
บทบาทนาในเวทีโลก (WHO Executive Board, WHA, Global Fund,
Asia Pacific Observatory, AAAH, FCTC, food safety, ASEAN FETN,
etc…)
นวัตกรรมด้ านนโยบาย (National Health Assembly, Thai Health, HIA,
NHCO, etc…)
การเฝ้าระวังควบคุมโรค Strong and well managed disease
control/management/ surveillance
ศักยภาพของบุคลากร (medical supports, medical and public health
training
IHPP
Strengths (2)
• การจัดการภัยภิบัติ Disaster management
• ระบบข้ อมูลข่ าวสารสุขภาพ (almost 100% complete birth and death
registration)
• คุณภาพระบบห้ องปฏิบัตกิ ารณ์ Good quality laboratory, clinical
trials
•
•
•
•
การวิจัยและพัฒนา Research and development
การบริการทางการแพทย์ Good quality medical services
การแพทย์ แผนไทย Thai traditional medicine
การมีส่วนร่ วมของประชาชนด้ านสุขภาพ (village health volunteers,
self reliance on health)
IHPP
Weaknesses
• ค่ าใช้ จ่ายด้ านรั กษาสูงกว่ าส่ งเสริมป้องกัน High
proportion of health
expenditure on curative care, high focus on medical technology,
limited resource allocation for health promotion
• การกระจายบุคลากร Geographically
mal – distribution of health
workforce
• การวิจัยและพัฒนายาและผลิตภัณฑ์ ทางการแพทย์ Limited
capacity of
pharmaceutical production (research and development)
• การกากับดูแลเอกชน Poor
regulatory mechanism on the private
sector
• อ่ านหนังสือน้ อย Poor reading habit
IHPP
Opportunities (1)
• การลงทุนด้ านสุขภาพเพิ่มขึน้
High government investment in the
health sector (14% of total government budget in 2011)
• การลงทุนจากต่ างประเทศ Foreign investment in several sectors
• การเติบโตทางเศรษฐกิจอย่ างต่ อเนื่อง Continuous economic growth
(immigration of labor force, higher education, job opportunity)
• การเมืองระบอบประชาธิปไตย Democratic system
• ความครอบคลุมของโครงสร้ างพืน้ ฐานรวมถึงด้ านสุขภาพ Nation-wide
coverage of health infrastructure
IHPP
Opportunities (2)
• ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ใ ห้ ค ว า ม ย อ ม รั บ ก า ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ไ ท ย
Increasing
international recognition (health system development, disease
control, primary care, role of Thailand in global health)
• ความร่ วมมือกับภาคส่ วนต่ างๆ Increasing
coordination between the
health and non-health sectors (MOPH and other ministries, PPP)
• การลงทุนด้ านบุคลากรระยะยาว Long-term
investment in capacity
building of human resources
• การร่ วมสร้ างนโยบายสาธารณะ Higher
public participation in policy
formulation and implementation (NHA)
• การเกิดขึน้ ของผู้เล่ นใหม่ ในเวทีสุขภาพโลก Emerging of new actors in
global health (Global Fund, GAVI, HMN, Stop TB Partnership, etc…)
IHPP
Threats
• ภัยพิบัติ Natural disaster
• การขาดธรรมาภิบาล Poor
governance
(corruption,
quality
of
politicians)
• ความขัดแย้ งทางการเมือง Political conflicts
• ช่ องว่ างรายได้ Widening of the rich-poor gap
• ผลด้ านลบจากการค้ าเสรี Negative impacts from
international trade
agreements
• ภาระโรคที่เปลี่ยนไป Change of disease burden (health risk behaviors,
higher NCD incidence)
• การเปลี่ ยนโครงสร้ างประชากร
proportion of elderly)
Demographic
change
(higher
IHPP
14
Timor-Leste
ปชก 1.2 ล้ าน
เอกราช 1999-02
Papua New Guinea
ปชก 6 ล้ าน > 800 เผ่ า
เอกราช 1973
การค้ าโลก The globalization trade
• World Trade Organization (WTO) to RTAs, FTAs
• 34 countries in NAFTA
• 28 countries in EU
• 9 countries in TPP
• ASEAN + 3
• ASEAN + 6
GMS: Greater Mekong Sub-region
• ประกอบด้ วย ไทย เวียดนาม กัมพูชา ลาว พม่ า จีน (มณฑลยูนนาน)
• ประชากร 250 ล้ านคน 2.3 ล้ าน ตร.กม.
• ความร่ วมมือ 9 สาขา (2550) สนับสนุนโดย ADB
คมนาคมขนส่ ง
โทรคมนาคม
พลังงาน
การค้ า
การลงทุน
เกษตร
สิ่งแวดล้ อม
การท่ องเที่ยว
การพัฒนาทรั พยากรมนุษย์
EWEC : East-West Economic Corridor
เส้ นทาง R 9 ระยะทาง 1,530 kms.
เมาะลาไย-เมียววดี-แม่ สอด-พิษณุโลก-ขอนแก่ น-มุกดาหาร-สะหวันนะเขต-เว้ -ดานัง
NSEC : North-South Economic Corridor
1) เส้ นทาง R3E : คุนหมิง – หยวนเจียง – บ่ อหาน (จีน) – บ่ อเต็น – ห้ วยทราย (ลาว) –
เชียงของ – เชียงราย – ตาก – กรุ งเทพฯ (ไทย)
2) เส้ นทาง R3W: เชียงตุง – ท่ าขีเ้ หล็ก (พม่ า) – แม่ สาย – เชียงราย – ตาก – กรุ งเทพฯ (ไทย)
3) เส้ นทาง R5 : คุนหมิง – หยินซ่ อ – เฮียโค่ ว (จีน) – ลาวไค – ฮานอย – ไฮฟอง (เวียดนาม)
R3W
R5
R3E
ท่ าเรือนา้ ลึกทวาย
ความแตกต่ าง
• ใหญ่ สุด อินโดนีเซีย 1,900,000 ตร.กม.
เล็กสุด สิงคโปร์
700 ตร.กม.
• คนมากสุด อินโดนีเซีย
240 ล้ านคน
คนน้ อยสุด บรู ไน
0.4 ล้ านคน
• รายได้ ต่อหัวสูงสุด สิงคโปร์
46,241 usd ต่ อคนต่ อปี
รายได้ ต่อหัวต่าสุด กัมพูชา(พม่ า?) 900 usd ต่ อคนต่ อปี
• IMR ดีสุด สิงคโปร์
2.6/1000 live birth
IMR แย่ สุด กัมพูชา
72/1000 live birth
• ศาสนา อิสลาม พุทธ คริสต์ ไม่ มีศาสนา
• ภาษา ของตัวเอง อังกฤษภาษากลาง
• ประวัตศิ าสตร์ รบกันมาตลอด
เป้ามายการส่งออก ปี 2555
ประเทศ
อเมริกาเหนือ
ออสเตรเลีย
สหภาพยุโรป
จีน
ญี่ปุ่น
อินเดีย
อาเซียน
มูลค่ า
800,000
315,000
785,000
1,020,000
820,000
190,000
2,020,000
The 4 modes
• Mode 1: การให้ บริการข้ ามแดน Cross border
• Mode 2: การบริโภคในต่ างประเทศ Consumption aboard
• Mode 3: การจัดตัง้ ธุรกิจเพื่อให้ บริการ Commercial presence
• Mode 4: การให้ บริการทั่วไป Movement of natural persons
Based on GATT
การเคลื่อนย้ ายเสรี The free flow
• Goods and services
• People
• Finance and capital
• Information, knowledge and technology
ขอตกลงยอมรั
บรวมกั
น
้
่
(MRAs : Mutual Recognition Arrangement)
•
•
•
•
•
•
•
•
•
Bali Concord
วิศวกร
พยาบาล
สถาปนิก
นักสารวจ
แพทย ์
ทันตแพทย ์
นักบัญชี
การทองเที
ย
่ ว
่
2546
2548
2549
2550
2550
2551(2)
2551(2)
2552
2552
ข้อ 1
วัตถุประสงค์
•
วัตถุประสงคของข
อตกลงฯ
คือ:
้
์
เพือ
่ อานวยความสะดวกแกการเคลื
อ
่ นยายแพทย
ภายในประเทศ
่
้
์
สมาชิกอาเซียน
•
เพือ
่ แลกเปลีย
่ นขอมู
่ งมาตรฐานและคุณสมบัต ิ
้ ล ความชานาญเรือ
•
เพือ
่ ส่งเสริมให้มีการสรางแนวปฏิ
บต
ั ท
ิ ด
ี่ ท
ี ส
ี่ ุดสาหรับการให้บริการ
้
วิชาชีพแพทยที
่ ท
ี ส
ี่ ุด
์ ด
•
เพือ
่ เปิ ดโอกาสให้มีการพัฒนาและการฝึ กฝนของแพทย ์
2.7
หน่ วยงานกากับดูแลวิชาชีพแพทย์ (PMRA: Professional
Medical Authority Regulatory) หมายถึง หน่วยงานทีไ่ ดรั้ บอานาจจาก
รัฐบาลของแตละประเทศสมาชิ
ก ให้มีหน้าทีก
่ ากับดูแลการประกอบวิชาชีพแพทยซึ
่
์ ง่ มี
รายชือ
่ ทีร่ ะบุตอไปนี
้
่
บรูไน ดารุสซาราม
กัมพูชา
อินโดนีเซีย
ลาว
มาเลเซีย
พมา่
ฟิ ลป
ิ ปิ นส์
สิ งคโปร ์
ไทย
เวียดนาม
คณะกรรมการกากับดูแลวิชาชีพแพท
แพทยสภาและกระทรวงสาธารณสุข
แพทยสภาและกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข
แพทยสภา
แพทยสภาและกระทรวงสาธารณสุข
คณะกรรมาธิการดานกฎระเบี
ยบวิชาชีพ
้
และคณะกรรมการกากับดูแลวิชาชีพแพทย ์
แพทยสภาและคณะกรรมการกากับดูแล
ผู้เชีย
่ วชาญเฉพาะทาง
แพทยสภาและกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข
ข้อ 3
การยอมรับ คุณสมบัติ และสิทธิของแพทย์ต่างชาติ
3.1 คุณสมบัต ิ ตองเป็
นไปตามกฎระเบียบภายในของประเทศผู้รับ
้
ภายใตเงื
่ นไข
้ อ
• สาเร็จการศึ กษาทีย
่ อมรับทัง้ ประเทศตนทางและผู
้
้รับ
• ขึน
้ ทะเบียนในประเทศตนทางและยั
งมีผล
้
• มีประสบการณในวิ
ชาชีพไมน
่ ้ อยกวา่ 5 ปี
์
• CPD ในประเทศตนทางเป็
นทีน
่ ่ าพอใจ
้
• ไดใบรั
บรองในประเทศตนทางว
าไม
มี
้
้
่
่ ประวัตเิ สี ยหาย
• ไมอยู
างการสอบสวนหรื
อมีคดี
่ ระหว
่
่
• คุณสมบัตอ
ิ น
ื่ ที่ PMRA ของประเทศผู้รับเห็นสมควร
คณะกรรมการประสานงานด้ านวิชาชีพแพทย์ อาเซียน
(AJCCM : ASEAN Joint Coordinating Committee on Medical
Practitioner)
6.1 ประกอบดวยผู
้
้แทนจากหน่วยงานกากับดูแลวิชาชีพแพทย(PMRA)
์
ของประเทศสมาชิกอาเซียนแตละประเทศไม
เกิ
บต
ั ิ
่
่ น 2 คนและจะตองปฏิ
้
ตามเงือ
่ นไขดังตอไปนี
้:
่
• อานวยความสะดวกในการดาเนินการตามขอตกลงฯ
และการพัฒนากล
้
ยุทธส
้
์ าหรับการดาเนินการตามขอตกลงฯ
• ส่งเสริมประเทศสมาชิกอาเซียนในการกาหนดมาตรฐานสาหรับกลไกและ
ขัน
้ ตอนกระบวนการตางๆ
ในการดาเนินการตามขอตกลงฯ
่
้
• ส่งเสริมการแลกเปลีย
่ นขอมู
นทางดานกฎหมาย
แนวปฏิบต
ั ิ
้ ลระหวางกั
่
้
และการพัฒนาตางๆ
สาหรับการประกอบวิชาชีพแพทยในภู
มภ
ิ าค
่
์
• พัฒนากระบวนการสาหรับการแลกเปลีย
่ นขอมู
อเนื
้ ลอยางต
่
่ ่อง
• ทบทวนขอตกลงยอมรั
บรวมทุ
กๆ 5 ปี หรือเร็วกวานั
้
่
่ ้น
• กระทาการอืน
่ ใดทีเ่ กีย
่ วของกั
บขอตกลงฯ
ฉบับนี้
้
้
ศักยภาพในการผลิตบุคลากร
สาขา
1. แพทย์
2. ทันตแพทย์
3. พยาบาล
4. เภสัชกร
5. นักกายภาพบาบัด
6. นักเทคนิคการแพทย์
7. นักรั งสีเทคนิค
สถาบันการผลิต
20 แห่ ง
9 แห่ ง
80 แห่ ง
16 แห่ ง
14 แห่ ง
9 แห่ ง
6 แห่ ง
กาลังการผลิต (ต่ อปี )
2,000-2,500 คน
800 คน
8,000-10,000 คน
2,000 คน
1,000 คน
800-900 คน
300 คน
Medical tourism
International patients by
destination
in thousand
1000
800
600
400
200
0
2003
2004
2005
Thailand
Singapore
Malaysia
India
การเปรียบเทียบข้อได้เปรียบบริการสุขภาพ Competitive advantage
Competitive Advantage of private health facilities in some countries in Asia
Competitive Advantage
Thailand
Singapore
India
Malaysia
Hong Kong
Service & Hospitality
*****
**
*
*
**
Hi-technological Hardware
****
****
**
*
**
HR Quality
****
****
**
**
***
International Accredited Hosp.
**
**
-
*
*
Pre-emptive Move
**
***
*
*
*
Synergy/Strategic Partner
**
**
*
*
*
Accessibility/Market Channel
***
***
*
**
**
****
*
****
***
*
Reasonable Cost
Source: Modified from Private Hospital Association and Business Council of Thailand, 2004
number of foreign patients
จานวนผู้ป่วยต่ างชาติ Number of foreign patients
1,450,000
1,250,000
1400000
1200000
ปั จจุบัน > 2,000,000
1,103,095
973, 532
1000000
800000
600000
,
550 161
630,000
400000
200000
0
2001
2002
2003
2004 2005
2006
year
Sources: Department of Export Promotion, Ministry of Commerce
Medical services
Specialized Services
Dental
Medical Check-Up
Care
Health Promotion (Wellness)
Thai Spa
Traditional
Thai Massage
Long Stay
Food Drugs and Herbal Products
Food
Drug
Cosmetic
แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาให้ ประเทศไทยเป็ นศูนย์ กลางสุขภาพ
นานาชาติ Medical Hub ภายใต้ Country Strategy
เป้าหมาย 4 Hubs
1) Service Hub
2) Wellness Hub
3) Academic Hub -------- > MoPH University?
4) Product Hub
เป้าหมายรายได้ 5 ปี 800,000 ล้ านบาท
ยุทธศาสตร์ การดาเนินงาน ประกอบด้ วย
1) เพิ่มขีดความสามารถในการจัดบริการสุขภาพ
2) พัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ ให้ มีความเป็ นเลิศ
3) ส่ งเสริมการตลาดและประชาสัมพันธ์
4) บริหารและขับเคลื่อนนโยบายโดยไม่ เกิดผลกระทบด้ านลบ
ต่ อระบบสุขภาพไทย
โครงการสนับสนุ นการเป็ นเมืองศูนยกลางบริ
การสุขภาพใน
์
ASEAN
• มีเมืองสุขภาพขนาดใหญในภู
มภ
ิ าค 5 แหง่
่
• มีเมืองบริวารสุขภาพขนาดกลางและขนาดเล็กกระจายทัว่ ประเทศ
ไดแก
้ ่ โรงพยาบาลรัฐขนาดกลางและขนาดเล็กตามแนวตะเข็บ
ชายแดน จานวน 50 แหง่
• มีเมืองศูนยกลางสุ
ขภาพ ไดแก
นเลิศและศูนยวิ
ั
้ ่ ศูนยความเป็
์
์
์ จย
และพัฒนาองคความรู
ด
ทน
ั ตกรรม เครือขายโรค
้ านเทคโนโลยี
้
่
์
ผิวหนังรวมทัง้ การปลูกถายรากผม
ดานจั
กษุ รวมทัง้ การป้องกัน
่
้
ตาบอดจากโรคเบาหวานในภูมภ
ิ าคอาเซียน ระดับตติยภูม ิ
• มีศน
ู ยรั
ขตางๆ
้
่
์ บรองมาตรฐานบริการดานสาธารณสุ
• สถานบริการสุขภาพในจังหวัดทีเ่ ป็ นเมืองสุขภาพผานเกณฑ
่
์
มาตรฐาน
• มีระบบการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผล
การใช้ภารกิจดานสาธารณสุ
ขเสริมสรางความสามารถในการ
้
้
แขงขั
่ เชือ
่ มโยง
่ นของสิ นค้า บริการ และการลงทุน เพือ
โอกาสจากอาเซียน
• มีระบบการคัดกรอง ณ ดานช
่
่ องทางเขา-ออกของ
้
ไทยไดรั
้ บการยอมรับจากนานาชาติ
• มีระบบขอมู
ขทีเ่ ป็ น
้ ลสารสนเทศดานสาธารณสุ
้
ภาพรวมของประเทศ
• มีการแปรรูปวัตถุดบ
ิ สมุนไพรให้ไดมาตรฐาน
เพือ
่
้
ยกระดับการผลิตผลิตภัณฑสุ
์ ขภาพเป็ น Champion
Products
อยางน
่
้ อย 5 รายการ
• มีการจัดทา MRA การนวดไทยและบุคลากรดานนวด
้
ไทยไดรั
้ บการรับรองมาตรฐานฝี มือแรงงาน
• มีหลักสูตรการนวดไทยเพือ
่ สุขภาพไดมาตรฐาน
้
ภายใต้ Brand “นวดไทย (Nuad Thai)”
การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขเพือ
่
คุ้มครองผู้บริโภคและพัฒนาคุณภาพชีวต
ิ ในประชาคมอาเซียน
• ดาเนินงานในพืน
้ ทีท
่ ม
ี่ ค
ี วามเสี่ ยงในการคุมครองผู
้
้บริโภคและ
ควบคุมโรคในพืน
้ ทีป
่ ระเทศไทย 31 จังหวัด ทีต
่ ด
ิ ตอกั
่ บ
ประเทศเพือ
่ นบาน
้
• จังหวัดและอาเภอทีม
่ ช
ี ่ องทางเข้า - ออกระหวางประเทศ
่
(Designated Ground Crossings) จานวน 17 ช่องทาง
• มีระบบสารสนเทศภูมศ
ิ าสตรเพื
่ เฝ้าระวังผลิตภัณฑสุ
์ อ
์ ขภาพ
จานวน 1 ระบบ
• มีห้องปฏิบต
ั ก
ิ าร Teleconference & Management Cockpit
War Room งานคุมครองผู
บริ
ตภัณฑสุ
่
้
้ โภคดานผลิ
้
์ ขภาพ เพือ
ใช้ในการประเมินผลการปฏิบต
ั งิ าน และสื่ อสารระหวางภาคี
่
เครือขายงานคุ
มครองผู
บริ
จานวน
่
้
้ โภคทัง้ ในและตางประเทศ
่
1 ระบบ
• จัดหวัดชายแดนและเครือขายสามารถจั
ดระบบเฝ้าระวัง
่
ผลิตภัณฑ ์ สิ นคา้ และควบคุมโรคระหวางจั
งหวัดชายแดน
่
Sawasdee
Sukhothai Historical Park
Elephant Show
The Grand Palace
The Southern Sea