31Jan201109-AttachFile3Self, PROMISE1_ผศ.ดร.อังศินันท์ อินทร

Download Report

Transcript 31Jan201109-AttachFile3Self, PROMISE1_ผศ.ดร.อังศินันท์ อินทร

3Self & PROMISE
ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ผูช้ ่วยศาสตรจารย์ ดร.อังศินันท์ อินทรกาแหง
สถาบันวิจยั พฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
1
สถานการณ์ภาวะโรคอ้วน
และอ้วนลงพุงของคนไทย
2
ผลวิจัยชี้
คนไทยนิยมกินอาหารนอกบ้าน13 มื้อ
ต่อสัปดาห์ สูงเป็ นอันดับหนึ่งในเอเชีย
ตะวันออกเฉี ยงใต้ ทาให้ประชากร 12
ล้านคนหรื อ 1 ใน 6 กลายเป็ นคนอ้วน
3
 National health examination survey ในปี
พ.ศ.2534, พ.ศ.2539 และ พ.ศ.2547 พบว่า การ
เสี่ยงต่อโรคอ้วนเพิ่มขึน้ จากร้อยละ 20 เป็ น 25
และ 34 ตามลาดับ
 คนไทยกินน้าตาลเฉลี่ย 16 ข้อนชาต่อวัน โดย
่ที่ 11 ช้อนชาต่อวัน
ค่าเฉลี่ยทัวโลกอยู
่
4
สรุปผลการสารวจภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคอ้วน เบาหวาน และความดัน
โลหิตสูงที่สาคัญในประชากรอายุ 17-74 ปี เปรียบเทียบ
ระหว่างปี พ.ศ. 2548 และ พ.ศ. 2550
ความชุก(ร้อยละ)/ค่าเฉลี่ยของภาวะ
การเปลี่ยนแปลง
สุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงโรคที่ พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2550
เพิ่มขึน้
ลดลง
สาคัญ
1. ภาวะน้าหนักเกินและภาวะอ้วน
- ผูท้ ี่มีภาวะน้าหนักเกิน(BMI > 25 16.1(7.3 ล้าน 19.1(8.8 ล้าน 3(1.5 ล้าน
กก./ม.2)
คน)
คน)
คน)
-ผูท้ ี่มีภาวะอ้วน (BMI > 30 กก./ม.2)
ค่าเฉลี่ยเส้นรอบเอว (นิ้ว)ใน
ประชากรชาย
- ค่าเฉลี่ยเส้นรอบเอว (นิ้ว)ใน
ประชากรหญิง
-
3.0 (1.4 ล้าน
คน)
31.8 นิ้ว
3.7 (1.7 ล้าน
คน)
31.9 นิ้ว
0.7(0.3 ล้าน
คน)
0.1 นิ้ว
-
30.2 นิ้ว
30.6 นิ้ว
0.4 นิ้ว
-
-
5
ที่มา : ศูนย์ข้อมูลเฝ้ าระวังพฤติ กรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่ อ กระทรวงสาธารณสุข (2550)
6
ผลที่คาดจากผลการปรับพฤติกรรมและการจัดการตนเอง
7
การบริหารจัดการโรคเรื้อรัง ตามแนวนโยบาย
เป็ นการบริ หารจัดการโรคแบบเชิงรุ ก(pro-active, population-based approach)เพื่อ
1. ระบุหรื อค้นหาผูป้ ่ วยโรคเรื้ อรังตั้งแต่เริ่ มแรกยังไม่มีภาวะแทรกซ้อน
2. ป้ องกันหรื อชะลอมิให้โรคพัฒนาไปและลดภาวะแทรกซ้อนด้วย
1) ดูแลรักษาเชิงรุ กที่มีการวางแผนล่วงหน้า ให้ความสาคัญกับการมีสุขภาพที่ดี
2) ผูป้ ่ วยและครอบครัวเป็ นศูนย์กลางของการรักษา โดยผูป้ ่ วยมีบทบาทรุ กใน
การจัดการภาวะสุ ขภาพของตนเอง
3) การดูแลรักษาเป็ นระบบและเชื่อมโยง ด้วยการตรวจคัดกรอง
ภาวะแทรกซ้อนอย่างสม่าเสมอ สนับสนุนการจัดการตนเอง ช่วยเหลือใน
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและวิถีชีวิต
4) การดูแลรักษาร่ วมกันระหว่างสหสาขาวิชาชีพ และ
5) ให้การดูแลรักษาอย่างเนื่องโดยมีกิจกรรมที่ผรู ้ ับริ การได้มาติดต่อ มาทา 8
ประสบการณ์การจัดการในประเทศอังกฤษ
1) ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อเข้าถึงข้อมูลสาคัญรายบุคคลและภาพรวม
2) ระบุและค้นหาผูป้ ่ วยโรคเรื้ อรัง
3) แจกแจงผูป้ ่ วยตามความเสี่ ยง
4) ให้ ผ้ ปู ่ วยมีบทบาทเป็ นเจ้ าของในการดูแลรั กษา
5) การดูแลรักษาที่เชื่อมโยง
6) ใช้ทีมสหสาขาวิชาชีพ
7) บูรณาการการดูแลรักษาระหว่างแพทย์ผเู ้ ชี่ยวชาญกับแพทย์เวชปฏิบตั ิ
8) บูรณาการการดูแลรักษาระหว่างหน่วยงาน
9) มุ่งลดการเข้ารับบริ การที่ไม่จาเป็ นทั้งผูป้ ่ วยนอกและผูป้ ่ วยใน และ
10)ให้การดูแลรักษา ณ หน่วยบริ การปฐมภูมิซ่ ึงซับซ้อนน้อยทีส่ ุ ด
9
10
ความหมายของ พฤติกรรมสุขภาพ
หมายถึง การกระทา การปฏิบตั ิ การแสดงออกและท่าทีที่จะ
กระทา ซึ่งจะก่อให้เกิดผลดี หรือผลเสียต่อสุขภาพของตนเอง
จาแนกได้ 2 ประเภท
การกระทาหรือการปฏิบตั ิ ของบุคคลที่มีผลดีหรือผลเสียต่อ
สุขภาพ
การงดเว้นไม่กระทาหรือการไม่ปฏิบตั ิ ของบุคคลที่มีผลดีหรือ
ผลเสียต่อสุขภาพ
11
การปรับพฤติกรรมสุขภาพให้ต่อเนื่ องตามแนวทาง
การปรับพฤติกรรมสุขภาพ 3Self ด้วยหลัก PROMISE
 3Self :
 Self-care : การมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง
 Self-efficacy : ความเชื่อมั ่นของตนเองที่จะปรับพฤติกรรมสุขภาพ
 Self-regulation : การกากับพฤติกรรมสุขภาพตนเอง
 PROMISE :
P – Positive reinforcement : หลักการเสริมแรงทางบวก
R – Result base manage : หลักการบริหารจัดการมุ่งผลสัมฤทธ์ ิ ของงาน
O – Optimism : การมองโลกในแง่ดี
M – Motivation : สร้างแรงจูงใจแก่ผรู้ บั การปรับพฤติกรรม
I – Individual or Client cent : หลักการจัดที่สอดคล้องกับปัญหา
และความต้องการด้านสุขภาพของผูเ้ ข้ารับการปรับพฤติกรรม
 Se – Self – esteems : คือ การเสริมสร้างคุณค่าในตนเอง





12
มาจาก 3 แนวคิดหลักคือ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
และขัน้ ตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
การสร้างพลังอานาจ
13
รากฐานของแนวคิดการปรับพฤติกรรม
 แนวคิดการปรับพฤติกรรม (Behavior modification)
ตามหลักการแห่งพฤติกรรม
ทฤษฎีขนั ้ ตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
(Stages of change theory)
การสร้างพลังอานาจ (Empowerment)
14
แนวคิดการปรับพฤติกรรม (Behavior
modification) ตามหลักการแห่งพฤติกรรม
15
แนวคิดการปรับพฤติกรรม (Behavior modification)
ตามหลักการแห่งพฤติกรรม
การผสานหลักการเรียนรูต้ ามทฤษฏีต่างๆ เข้ามาใช้อย่างเป็ นระบบ
เช่น ทฤษฎีการวางเงือ่ นไขแบบการกระทา (Operant conditioning
theory) ของ สกินเนอร์ (B.F Skiner)
ในช่วงเริม่ แรก ใช้เป็ นกลวิธกี ารรักษา หรือเรียกว่า พฤติกรรมบาบัด
เวลาต่อมานามาใช้ในการสร้างเสริมสุขภาพ สาหรับประชาชนทัวไป
่
เพือ่ ให้มสี ขุ ภาวะทีด่ ปี กติสขุ เรียกว่า การปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
สุขภาพ (Health behavior change)
ประยุกต์แนวคิดทางจิตวิทยา และพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
เข้าไว้ดว้ ยกัน
16
คุณสมบัติของกระบวนการปรับพฤติกรรมตาม
แนวคิดด้านจิตวิทยาการปรับพฤติกรรม
การปรับพฤติกรรมไม่เน้ นอดีต (A historical)
การปรับพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการใช้การตีตรา
การปรับพฤติกรรม เป็ นเรือ่ งเข้าใจได้ (Sensible)
ความสัมพันธ์ระหว่างนักปรับพฤติกรรม กับผูร้ บั การปรับ
พฤติกรรม ไม่จาเป็ นต้องเป็ นความสัมพันธ์แบบตัวต่อตัว
(One-to-one relationship)
การปรับพฤติกรรมสามารถฝึ กบุคคลให้ปรับพฤติกรรม
ของตนเองได้
17
ความหมายการปรับพฤติกรรม
การประยุกต์หลักการแห่งพฤติกรรม หรือ
หลักการเรียนรู้ เพื่อเปลี่ยนแปลงแก้ไข
พฤติกรรม โดยเน้ นที่พฤติกรรมที่สามารถวัด
ได้จากพฤติกรรมสุขภาพ 3 ด้านคือ การรับรู้
ความสามารถในการปรับพฤติกรรมตนเอง
(Self -efficacy) การกากับพฤติกรรมสุขภาพ
ตนเอง (Self- regulation) และพฤติกรรมการ
ดูแลสุขภาพตนเอง (Self- care)
18
ความหมาย หลักแห่งพฤติกรรม
 เป็ นหลักการทีค่ รอบคลุมทัง้ แนวคิดของทฤษฎีการเรียนรู้ การวางเงือ่ นไข และ
แนวคิดทางจิตวิทยาต่างๆ ทีศ่ กึ ษาเกีย่ วกับพฤติกรรมของมนุษย์ เข้ามาประยุกต์ใช้
ได้ และแนวคิดของการใช้หลักการแห่งพฤติกรรมมาเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม แบ่ง 2
กรณี
กรณีทไ่ี ม่สามารถควบคุมสภาพแวดล้อม สามารถจัดกระทาโดยการเปลีย่ น
ที่ ความรูส้ กึ (Feeling) ซึง่ ส่งผลทาให้พฤติกรรมเปลีย่ น หรือ จัดกระทาโดย
เปลีย่ นทีค่ วามรูค้ ดิ (Cognitive) ซึง่ ส่งผลทาให้พฤติกรรมเปลีย่ น
กรณีทส่ี ามารถควบคุมสภาพแวดล้อมได้ สามารถกระทา โดยการ
เปลีย่ นแปลงทีพ่ ฤติกรรมโดยตรง นักปรับพฤติกรรมใช้ทฤษฎีการเรียนรูก้ ารวาง
เงือ่ นไข จัดการกับพฤติกรรมโดยตรง ด้วยการควบคุมสภาพแวดล้อมให้ได้
19
การปรับพฤติกรรมในปัจจุบนั
Albert Band เสนอทฤษฎีการเรียนรูป้ ญั ญาสังคม
(Social cognitive theory) ได้รบั การนิยมในช่วง
ค.ศ 1980
ปจั จุบนั ได้นาแนวคิดการเปลีย่ นแปลงทางสรีระ
เข้ามาใช้ประกอบรูจ้ กั กันในนามของการป้อนกลับ
ทางชีวภาพ (Bio feedback)
20
จุดเน้ นของ การปรับพฤติกรรมของบุคคล
เน้ นที่พฤติกรรมเจาะจงเฉพาะกลุ่มเสี่ยง
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลโดยผ่านกระบวนการเรียนรู้
ต้องมีการกาหนดพฤติกรรมเป้ าหมายที่ชดั เจน
ต้องคานึ งถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็ นสาคัญ
เน้ นที่เหตุการณ์ หรือพฤติกรรมที่เกิดขึน้ ในปัจจุบนั เท่านัน้
เน้ นความเป็ นมนุษย์ของบุคคล โดยไม่มีการบังคับใดๆ ทัง้ สิ้น
เทคนิคต่างๆ ได้รบั การพิสจู น์ แล้วว่าเป็ นเทคนิคที่มีประสิทธิภาพ แต่
การนาไปใช้จาเป็ นต้องคานึ งถึงข้อดีและข้อจากัด ตลอดจนเกณฑ์
การใช้เทคนิคเหล่านัน้ ให้รอบคอบด้วย
 การปรับพฤติกรรมจะเน้ นการใช้วิธีการทางบวกมากกว่าวิธีการลงโทษ
 วิธีการปรับพฤติกรรมสามารถใช้ได้อย่างเหมาะสมตามลักษณะปัญหา
ของแต่ละบุคคล







21
ทฤษฎีขนั ้ ตอนการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม (Stages of change theory)
(Prochaska, James O. & DiClimente, Carlo, 1983; Horneffer-Ginter, 2008)
22
ขัน้ ตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Stage of change)
 กระบวนการต่อเนื่ องเริ่มจากขัน้ ที่ไม่สนใจปัญหาไปจนถึงขัน้
ลงมือปฏิบตั ิ เพื่อเปลี่ยนแปลงแก้ไข ไปสู่พฤติกรรมใหม่
 นับเป็ นโครงสร้างหนึ่ งของรูปแบบ ทรานส์ทิโอเรทิคอล
(Thans theoretical model: TTM)
 เริ่มต้นจาก โปรชาสกาและ ดิคลีเมนเท่ ได้ใช้ทฤษฎีขนั ้ ตอน
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการศึกษาผูต้ ิ ดบุหรี่
 การประยุกต์ทฤษฎีดงั กล่าวเพื่อการให้คาปรึกษา แนะแนว
เพื่อการเลิกบุหรี่ซึ่งได้ผลสาเร็จเป็ นอย่างดี
23
ขัน้ ตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Stages of change
theory) แบ่งออกเป็ น 6 ขัน้ ตอน
24
25
ระยะเวลาทีใ่ ช้ ในการเปลีย่ นแปลง โดยเฉลีย่ ในแต่ ละขั้น
26
การแสดงพฤติกรรมตาม Stage of Change
ต้องคานึงถึงระยะของความพร้อมทีจ่ ะรับการเปลีย่ นแปลงของแต่ละ
บุคคลซึง่ มีไม่เท่ากัน
บางคนอาจยังไม่สนใจปัญหาไม่เห็นประโยชน์ทจ่ี ะเปลีย่ นแปลง
พฤติกรรมตนเอง ไม่รา้ ก่อนถึงปญั หาตนเอง ปฏิเสธไม่ยอมรับ เคย
ล้มเหลวจากทีเ่ คยพยายาม มองว่าทาให้เสียเวลาเสียเงิน
บางคนสนใจแต่ยงั ลังเลใจอยู่ ยังกลัวๆ กล้าๆ ทีจ่ ะเข้าร่วมกิจกรรม
การปรับเปลีย่ นพฤติกรรม ขาดความเชื่อมัน่ ค้นหาข้อมูลเพื่อตัดสินใจ
บางคนอาจเริ่มเปลี่ยนแปลงแล้ว แต่ยงั ต้องการกาลังใจและ
แรงจูงใจภายนอกอยู่ เห็นประโยชน์ มัน่ ใจสู่เป้ าหมายตามที่วางแผน27
การแสดงพฤติกรรมตาม Stage of Change
บางคน อาจเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมได้ ตามทีต่ ้งั ใจทีต่ ้งั เป้าหมาย
ปรับเปลี่ยนทาให้สม่าเสมอขึ้น อาจมีสิ่งยัว่ ยุให้กลับไปเหมือนเดิม จึง
เสี่ ยงที่กลับสู่พฤติกรรมเดิมได้
บางคนสามารถกระทาพฤติกรรมใหม่ ได้ อย่ างต่ อเนื่อง 6 เดือนเป็ นอย่ างน้ อย
พยายามเต็มที่ที่จะไม่กลับสู่พฤติกรรมเดิม มัน่ ใจที่จะเปลี่ยนได้ตลอด
อาจพลั้งเผลอได้ถา้ มีความเครี ยดหรื อสถานการณ์วิกฤติเข้ามา
บางคน กลับเข้าไปสู่ข้นั ตอนเดิม หรื อคงต่อเนื่องตลอดไป
28
แนวทางการดาเนินกิจกรรม
ระยะเวลา
ขัน้ ที่
(เดือน)
1
2
1
3
ขัน้ ตอนการ
เปลี่ยนแปลง
แนวทางการจัดกิจกรรม
ขัน้ ไม่สนใจปัญหา
(Precontemplation)
ขัน้ ลังเลใจ
(Contemplation)
1. ให้ข้อมูล ความรู้ ความจริงอย่างมีเหตุผล
โดยไม่ชี้นา ใช้ Motivation Interview
ขัน้ ตัดสินใจและ
เตรียมตัว
(Preparation)
3. วางแผนว่าจะทาอะไรบ้าง ในการเข้าร่วม
กิจกรรม
ฟังบรรยาย ขอคาปรึกษา ค้นคว้าแสวงหา
ความรู้เพิ่มเติม
2. พูดคุยข้อดีข้อเสียของพฤติกรรมใหม่และ
พฤติกรรมเก่า ให้โอกาสและเวลาในการชัง่
น้าหนักก่อนการตัดสินใจ
Motivation Interview
29
ระยะเวลา
ขัน้ ที่
(เดือน)
4
4-6
5
6
6
-
ขัน้ ตอนการ
เปลี่ยนแปลง
แนวทางการจัดกิจกรรม
ขัน้ ลงมือปฏิบตั ิ
(Action)
4. พฤติกรรมบรรลุตามข้อกาหนด/ตัวชี้วดั เช่น
ลดจานวนบุหรี่ที่สบู (ต้องหยุดสูบเท่านัน้ จึงถึงขัน้
ลงมือทา) ลดน้าหนักโดยลดแคลอรี่จากไขมัน
อย่างน้ อย 30% ต่อวันจึงต้องให้กาลังใจ ส่งเสริม
ให้ลงมือทาอย่างต่อเนื่ อง พร้อมช่วยขจัดปัญหา
อุปสรรค ใช้ Social-cognitive behavior
ขัน้ กระทาต่อเนื่ อง
(Maintenance)
ขัน้ กลับไปมีปัญหา
ซา้ (Relapse)
5. คงทาพฤติกรรมใหม่ โดยลดอิทธิพลลง และเชื่อ
ว่าตนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ให้ดียิ่งขึน้ ต่อไป
6. ถอยกลับไปมีพฤติกรรมเดิม เพราะ อารมณ์
จิตใจเปราะบาง ไม่แข็งแกร่งพอซึ่งโดยปกติร้อย
ละ 80 จะไม่กลับไปสู่ขนั ้ ต้น จึงควรจัดโปรแกรม
เสริมความแข็งแกร่งทางจิต และการสร้างแกนนา
ใช้ Motivation Interview
30
เทคนิคการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม ตามขั้นตอนการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม
(TTM Stage of change)
31
แนวคิดการปรับพฤติกรรม
ด้วยการเสริมพลังอานาจ (Empowerment)
32
ความหมาย Empowerment
ใช้ช่วงแรก 20 กว่าปี ที่ผา่ นมา เป็ นการกระตุ้นเร้าให้
กลุ่มเป้ าหมายเกิดความตระหนักในศักยภาพที่ตนมี และดึง
ศักยภาพนัน้ ออกมาใช้อย่างเต็มที่และเต็มใจ เพื่อปรับปรุง
พัฒนาวิถีชีวิต วิถีการทางาน ให้บรรลุผลสาเร็จ ซึง่ ผลสาเร็จที่
เกิดขึน้ นี้ จะมีความต่อเนื่ องและยังยื
่ น
ในเชิงจิตวิทยา “Empowerment” หมายถึง การทาให้บคุ คลที่
ปฏิบตั ิ งาน เกิดแรงจูงใจภายใน (Intrinsic motivation) รวมทัง้
ทาให้เกิดความเชื่อมันในตนเองว่
่
ามีการรับรู้ความสามารถของ
ตนเองเพียงพอ (Self-efficacy) ที่จะทางานนัน้ สาเร็จ
33
รูปแบบ Empowerment
การเสริมสร้างพลังอานาจโครงสร้างและการเสริมสร้าง
พลังอานาจจิตใจซึ่งเป็ นการคานึ งถึงการเสริมแรง
ทางด้านจิตใจเพื่อให้ผปู้ ฏิบตั ิ งานมีความเชื่อมันใน
่
สมรรถนะของตนเองที่จะทาให้งานประสบความสาเร็จ
การเสริมสร้างพลังอานาจด้านโครงสร้างที่มีแนวคิดที่
เน้ นการปฏิบตั ิ งานตามหน้ าที่การมีส่วนร่วมและการ
พัฒนาผูป้ ฏิบตั ิ งาน
34
แนวคิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ด้วยหลัก PROMISE Model
35
ความเป็ นมาของ PROMOSE Model
พัฒนาโดย สถาบันวิจยั พฤติกรรมศาสตร์ มศว
การบริหารจัดการและดาเนินโครงการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมเสีย่ งโรคเม
ตาบอลิก ในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2551-2552 โดยทุน สปสช.
 ได้นาแนวคิด PROMISE model เพือ่ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมสุขภาพ
3 ด้านหรือ 3 Self
กาหนดตัวบ่งชีผ้ ลจากการแสดงพฤติกรรมไว้ชดั เจน เช่น ค่า BMI
น้าหนักตัว รอบเอว ความดันโลหิต ไขมันในเลือด น้าตาลในเลือด
พฤติกรรมการสูบบุหรี่
36
37
การเสริมแรงทางบวก (Positive reinforcement: P)
พัฒนาโดยนักจิตวิทยาชาวอเมริ กนั ชื่อ Burrhus F. Skinner
เชื่อว่า พฤติกรรมของบุคคลเป็ นผลพวงมาจากการ
ปฏิสมั พันธ์กบั สภาพแวดล้อม
พฤติกรรมที่เกิดขึ้น (Emitted) ของบุคคลจะเปลี่ยนไป
เนื่องมาจากผลกรรม (Consequence)
กล่าวถึงเฉพาะผลกรรมที่เป็ นตัวเสริ มแรงทางบวก
(Positive reinforcer)
38
ความหมาย การเสริมแรงทางบวก
หมายถึง การทาให้ ความถี่ของพฤติกรรมเพิม่ ขึน้ อันเป็ น
ผลเนื่องมาจากผลกรรมที่ตามหลังพฤติกรรมนั้น
ผลกรรมทีท่ าให้ พฤติกรรมมีความถี่เพิม่ ขึน้ เรียกว่ า
ตัวเสริมแรงทางบวก (Positive reinforcer) ลักษณะของ
ตัวเสริมแรงมี 2 ชนิด มีผลต่ อผู้ได้ รับโดยตรงต่ อร่ างกาย
เช่ น อาหาร ความเย็น เป็ นต้ น และตัวเสริมแรงทุตยิ ภูมิ
เช่ น เงิน รางวัล คาชมเชย เป็ นต้ น
39
หลักการทัวไปในการใช้
่
การเสริมแรงทางบวก
อย่างมีประสิทธิภาพ
 หลังจากการเกิดพฤติกรรมเป้าหมายเท่ านั้น
 การเสริมแรงต้ องกระทาทันทีที่พฤติกรรมเป้ าหมายเกิดขึน้
 การเสริมแรงควรให้ อย่ างสมา่ เสมอ
 ควรมีการบอกถึงเงื่อนไขการให้ การเสริมแรง
 ตัวเสริมแรงนั้นควรจะมีปริมาณพอเหมาะทีจ่ ะเสริมแรงพฤติกรรมโดยไม่ ก่อให้ เกิดการ
หมดสภาพการเป็ นตัวเสริมแรง
 ตัวเสริมแรงนั้นจะต้ องเลือกให้ เหมาะกับแต่ ละบุคคล
 ถ้ าเป็ นไปได้ ควรใช้ ตวั เสริมแรงทีม่ อี ยู่ในสภาพแวดล้ อมนั้น
 ควรมีการใช้ ตวั แบบหรือการชี้แนะควบคู่ไปกับการเสริมแรงด้ วย
 ควรมีการวางแผนการใช้ ตารางการเสริมแรง
40
ข้อควรคานึ งถึงและการเลือกใช้ตวั เสริมแรงประเภทต่างๆ
 ตัวเสริมแรงทีเ่ ป็ นสิ่ งของ ควรให้เมื่อบุคคลแสดงพฤติกรรมเป้ าหมายที่กาหนด
ทันที
 ตัวเสริมแรงทางสั งคม ต้องชมต่อหน้าทันที ต้องบอกว่าชมพฤติกรรมอะไรที่ดี
 ตัวเสริมแรงเป็ นกิจกรรมทีบ่ ุคคลชอบทา แต่อาจไม่สามารถให้ได้ทนั ทีในขณะเกิด
พฤติกรรม
 ตัวเสริมแรงทีเ่ ป็ นเบีย้ อรรถกร เมื่อยุติการใช้อย่างทันทีทนั ใดจะทาให้พฤติกรรมที่
เปลี่ยนไปนั้นกลับสู่ สภาพเดิมทันที
 ตัวเสริมแรงทีเ่ ป็ นข้ อมูลป้ อนกลับ ควรให้ขอ้ มูลป้ อนกลับที่มีความชัดเจนถูกต้อง
41
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธ์ ิ (Result Based
Management – RBM: R)
การทางานในการจัดกิจกรรมหรื อโครงการสาเร็ จได้
ตามเป้ าหมาย
ให้ความสาคัญกับการกาหนด เป้ าหมายของโครงการ
หรื อพฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ไว้อย่างชัดเจน
มีทิศทางในการปฏิบตั ิงาน มีระบบการประเมินผล
การปฏิบตั ิงานโครงการเป็ นระยะ ๆ
42
ลักษณะการบริหารมุ่งผลสัมฤทธ์ ิ
 เกี่ยวข้องกับทุกกระบวนการของการบริ หาร (PDCA)
 เป็ นส่ วนหนึ่งของการบริ หารเชิงกลยุทธ์
 เกณฑ์การกาหนดตัวชี้วดั ผลสัมฤทธิ์ ควรคานึ งตามหลัก SMART ประกอบด้วย 1.
Specific มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจงชัดเจน 2. Measurable สามารถวัดได้
3. Achievable สามารถบรรลุหรื อสาเร็ จได้ 4. Realistic สอดคล้องกับความ
เป็ นจริ ง และ 4. Timely ตามเงื่อนไขเวลา
 ตัวชี้วดั ผลสั มฤทธิ์ ผลผลิตวัดจาก ร้อยละของจานวนผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ
 ตัวชี้วดั ผลลัพธ์ วัดจาก ร้อยละของจานวนผูเ้ ข้าร่ วมโครงการที่มีผลการเปลี่ยนแปลง
ของพฤติกรรมสุ ขภาพดีข้ ึน และผลการเปลี่ยนแปลงทางร่ างกาย และผลการเลือดไป
ในทางที่ดีข้ ึน เป็ นต้น
43
การมองโลกแง่ดี (Optimism: O)
ผูท้ ี่สามารถปรับเปลี่ยนมุมมองของความคิดให้แตกต่างไปจากเดิม ก็จะพบ
ในสิ่ งดีๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างน่าอัศจรรย์
การมองโลกในแง่ดี (Optimism) ถูกจัดเป็ นองค์ประกอบหนึ่งของปรี ชาเชิง
อารมณ์ (Emotional Intelligence, EQ)
บาร์ ออน เสนอแนะว่าการมองโลกในแง่ดีเป็ นองค์ประกอบหนึ่งของอีคิว
(EQ) ที่จะช่วยจัดการชีวิตและสภาพแวดล้อมรอบด้านที่กดดัน
เซลิกแมน เห็นว่าคนที่มองโลกในแง่ดีมีความยืดหยุน่ (Resilience)
สามารถฟื้ นตัวจากเหตุการณ์ที่เลวร้ายได้ และเริ่ มต้นชีวิตได้อีก ทาให้
บุคคลที่มองโลกในแง่ดีประสบความสาเร็ จในชีวิตในการทางาน
44
ความหมาย การมองโลกแง่ดี
ความสามารถของบุคคลที่มีมุมมองชีวิตในด้านดี หรื อในด้านบวก มี
ความหวังในชีวิตแม้จะเผชิญสถานการณ์เลวร้าย หรื ออุปสรรคใดๆ ก็ตาม
ผูท้ ี่คิดว่าปัญหาอาจเกิดจากหลายสาเหตุมิใช่ตนเองเป็ นสาเหตุผเู ้ ดียว เป็ น
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นชัว่ คราวเท่านั้น และมีผลในวงแคบเฉพาะ หรื อส่ งผล
กระทบในระยะสั้น
“ไม่ มีอะไรทีเ่ ป็ นไปไม่ ได้ ”
45
แรงจูงใจ ( Motivation: M)
 เป็ นแรงขับเคลือ่ นทีท่ าให้ บุคคลเกิดพฤติกรรมอย่ างใดอย่ างหนึ่งอย่ างต่ อเนื่องและมี
จุดมุ่งหมาย โดยแบ่ ง แรงจูงใจ ออกเป็ น 2 ประเภท
แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic motivation) หมายถึง สิ่ งผลักดันภายนอกตัว
บุคคลทีม่ ากระตุ้นให้ เกิดพฤติกรรม อาจจะเป็ นรางวัล เกียรติยศชื่อเสี ยง คาชม
แรงจูงใจภายใน
(Intrinsic motivation) หมายถึง การทีบ่ ุคคลมองเห็น
คุณค่ าของกิจกรรมทีท่ าจึงทาด้ วยความเต็มใจ ตระหนักว่ าการบรรลุผลสาเร็จใน
กิจกรรมนั้นเป็ นรางวัลอยู่ในตัว
46
การพัฒนาบุคคลเพื่อให้เกิดแรงจูงใจภายใน
ความต้ องการสิ่ งทีท่ ้ าทาย ต้องการทาในสิ่ งที่แปลกใหม่มีความยากพอ
เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล
ความสนใจ-เพลิดเพลิน มีความกระตือรื อร้น เพลิดเพลินในการทากิจกรรม
ที่น่าสนใจ
ความเป็ นตัวของตัวเอง มีอิสระในการคิดและการกระทา
ความต้ องการมีความสามารถ ต้องการที่จะเรี ยนรู ้ พัฒนาทักษะและ
ความสามารถของตนเอง
ความมุ่งมั่น ทุ่มเทให้กบั สิ่ งที่ทาโดยไม่หวังผลตอบแทนภายนอก
47
แนวทางการส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจสาหรับกลุ่มเสี่ยง
บรรยากาศการเข้าร่ วมกิจกรรมที่ทา้ ทายความอยากรู ้อยากเห็น
บอกเป้ าหมายของการออกกาลังกาย
ให้งานและให้โอกาสสมาชิกในกลุ่มเสี่ ยงมีประสบการณ์กบั ความสาเร็ จ
ให้ขอ้ มูลย้อนกลับแก่กลุ่มเสี่ ยงในการช่วยปรับปรุ งพฤติกรรม
มีการพบกลุ่มเสี่ ยงเป็ นรายบุคคลและให้คาแนะนาที่เป็ นประโยชน์
บรรยากาศของการพบกันต้องมีลกั ษณะอบอุ่น
ทาตัวเป็ นแบบอย่างที่ดีในการแสดงความกระตือรื อร้น
48
ผูใ้ ห้บริการต้องให้การช่วยเหลือกลุ่มเสี่ยงในการสร้าง
แรงจูงใจภายในด้วยวิธีการ
 ควรให้ กลุ่มเสี่ ยงตั้งเป้ าหมายเฉพาะตัวเองในการดูแลสุ ขภาพที่ตนต้ องการ
 ให้ กลุ่มเสี่ ยงวางแผนในการพัฒนาตนเองทั้งระยะสั้ นและระยะยาว
 กลุ่มเสี่ ยงมีการดูแลสุ ขภาพตามวิธีการที่ตนเองได้ เลือกเพือ่ ให้ บรรลุเป้ าหมาย
 ต้ องช่ วยให้ กลุ่มเสี่ ยงวิเคราะห์ ความสาเร็จและไม่ สาเร็จด้ วยตนเอง
 ต้ องให้ กลุ่มเสี่ ยงได้ เห็นคุณค่ าในตนเองเกีย่ วกับการดูแลสุ ขภาพของตนเอง
 ต้ องช่ วยให้ กลุ่มเสี่ ยงได้ ค้นพบศักยภาพทีม่ อี ยู่ในตัวเองทีจ่ ะดูแลสุ ขภาพต่ อไป
 ชี้แจงให้ กลุ่มเสี่ ยงเข้ าใจความแตกต่ างระหว่ างบุคคล
 ช่ วยให้ กลุ่มเสี่ ยงจัดตารางเวลาในการออกกาลังกาย
49
การให้บริการโดยเน้ นผูร้ บั บริการเป็ นศูนย์กลาง
(Individual or Clients-Center Approach: I)
เปลี่ยนจากเน้นการตั้งรับเป็ นหลักมาเป็ นการให้บริ การโดย
คานึงถึงผูร้ ับบริ การเป็ นศูนย์กลาง
รองรับต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น (3C) ได้แก่
 Change เหตุที่ตอ้ งมีการปรับตัวเพราะโลกมีการเปลี่ยนแปลง
 Clients การให้บริ การที่ตอ้ งให้ความสาคัญกับผูร้ ับบริ การ
เป็ นลาดับแรก
 Competition สภาวการณ์แข่งขันขององค์กรทุกระดับ
50
ความเป็ นมาของการให้บริการเน้ นผูร้ บั บริการ
เป็ นศูนย์กลาง
รากฐานจาก การให้คาปรึ กษาแบบยึดบุคคลเป็ นศูนย์กลาง
(Client-centered Therapy)
ผูใ้ ห้กาเนิด คือ คาร์ ล โรเจอร์ นักมนุษยนิยม ได้รับอิทธิพลจาก
เจสซี ทาฟต์
ผูใ้ ห้การบาบัดทาหน้าที่เป็ นผูช้ ่วยเหลือที่ไม่มีทศั นคติตดั สิ น
ไม่ทาตนเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญ
เน้นการทางานที่ทาให้ผรู้ ับบริ การได้รู้จกั ตัวตนที่แท้จริ ง
(Self-actualization)
51
การบาบัดตามแนวของโรเจอร์ แบ่งออกได้เป็ น 4 ระยะ
ระยะที่ 1 การให้การปรึกษาแบบไม่นาทาง(non-directive counseling)
ระยะที่ 2 การบาบัดแบบเน้นผูร้ บั บริการเป็ นศูนย์กลาง (Client
centered therapy)
ระยะที่ 3 "การเป็ นตัวตนทีแ่ ท้จริงของตนเอง“
ระยะที่ 4 Person Centered Therapy
52
การเห็นคุณค่าในตัวเอง (Self-esteem: Se)
เกิดจากการตัดสิ นคุณค่าของ “ตน” (Self)
มาสโลว์ กล่าวถึงการเห็นคุณค่าในตนเองว่ามี 2 ด้าน
ความรู้สึกนับถือตนเอง (Self respect)
การเห็นคุณค่าในตนเองที่ได้รับจากผูอ้ ื่น (Esteem from other)
ลักษณะผูท้ ี่ร้จู กั ตนเองอย่างถ่องแท้มากขึน้
 เปิ ดรับประสบการณ์ มากขึน้
 มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง
 ประเมินสิ่ งต่ างๆโดยใช้ มุมมองของตนเองมากกว่ าจากมุมมองของผู้อนื่
 ปรารถนาทีจ่ ะเสริมสร้ างตนเองให้ เจริญงอกงามเพิม่ ขึน้
53
ผู้ทเี่ ห็นคุณค่ าในตนเองตา่ มีปฏิสัมพันธ์ กบั คนรอบข้ าง
ด้ วยการกระทาดังนี้
มักพูดเกีย่ วกับตนเองในทางลบ เช่ น “ไม่ น่าจะมาเสียเวลากับฉัน” “แย่ จัง”
 กล่าวขอโทษบ่ อยๆ และสงสั ยในความสามารถของตนเอง
 เพ่งเล็งความผิดพลาดของตนเอง
 ปฏิเสธเมื่อได้ รับคาชมจากผู้อนื่
 มุ่งความถูกต้ องสมบูรณ์และมักจะรู้สึกว่ าตนเองล้มเหลว
54
ผู้ทเี่ ห็นคุณค่ าในตนเองสู งมักจะมีการกระทาหรือมี
ปฏิสัมพันธ์ กบั คนรอบข้ าง ดังนี้
ไม่ อยู่กบั ความทุกข์ นานเช่ น ความสิ้นหวัง เหงา ความรู้สึกไร้ ค่า ความละอาย
ใจและอับอาย
 มีความกล้าทีบ่ อกถึงความต้ องการและความคิดเห็นด้ วยความมั่นใจ
มีสัมพันธภาพทีม่ ั่นคง ซื่อตรงไม่ อดึ อัดทีจ่ ะติดต่ อกับผู้อนื่ และไม่ เอาใจผู้อนื่
มากเกินไป
 กาหนดเกณฑ์ และมาตรฐานสาหรับตนเองและผู้อนื่ ได้ เหมาะสม
สามารถชะลอความเครียดเมื่อพบสิ่ งทีค่ วามท้ าทายผิดหวัง
ไม่ พบปัญหาสุ ขภาพซึ่งเกิดจากความเครียด
55
พฤติกรรมสุขภาพ 3 Self
56
พฤติกรรมสุ ขภาพ 3Self
การรับรู้ความสามารถของตนเองในการปรับเปลีย่ น
พฤติกรรมสุ ขภาพ (Self-efficacy)
การกากับตนเอง (Self-regulation)
การดูแลตัวอง (Self-care)
57
การรับรู้ ความสามารถของตนเองในการปรับเปลีย่ น
พฤติกรรมสุ ขภาพ (Self-efficacy)
เป็ นหนึ่งในแนวคิด 3 ประการของทฤษฎีการเรียนรู้ทางสั งคมปัญญาของ
แบนดูรา
ความหมาย เป็ นความคาดหวังที่เกีย่ วข้ องกับความสามารถของตน ใน
ลักษณะทีเ่ ฉพาะเจาะจง และความคาดหวังนี้เป็ นตัวกาหนดการแสดงออก
ของพฤติกรรม
เวลาต่ อมา เป็ นการทีบ่ ุคคลตัดสินเกีย่ วกับความสามารถของตนเอง ทีจ่ ะ
จัดการและดาเนินการกระทาพฤติกรรมให้ บรรลเุ ป้ าหมายทีก่ าหนดไว้ โดยที่
แบนดูรานั้นไม่ ได้ กล่ าวถึงคาว่ าคาดหวังอีกเลย
58
การรับรู ้ความสามารถของตนเองนั้น มีผลต่อการกระทาของบุคคล
ความสามารถของคนเรานั้นไม่ตายตัว หากแต่ยดื หยุน่ ตามสภาพการณ์
59
60
แหล่ งของการสร้ างให้ เกิดการรับรู้ ความสามารถของตนเอง
ประสบการณ์ ที่ประสบความสาเร็จ (Mastery experiences )
การใช้ ตัวแบบ (Modeling)
การใช้ คาพูดชักจูง
การกระตุ้นทางอารมณ์
61
ประสบการณ์ ทปี่ ระสบความสาเร็จ (Mastery experiences )
เป็ นวิธีการทีม่ ีประสิ ทธิภาพมากทีส่ ุ ดในการพัฒนาการรับรู้ ความสามารถ
ของตนเอง
จาเป็ นที่จะต้ องฝึ กให้ เขามีทกั ษะเพียงพอที่จะประสบความสาเร็จได้ พร้ อมๆ
กับการทาให้ เขารับรู้ว่า เขามีความสามารถจะกระทาเช่ นนั้น
บุคคลทีร่ ับรู้ว่าตนเองมีความสามารถนั้น จะไม่ ยอมแพ้อะไรง่ ายๆ แต่ จะ
พยายามทางานต่ างๆ เพือ่ ให้ บรรลุถึงเป้าหมายทีต่ ้ องการ
62
การใช้ ตัวแบบ (Modeling)
การทีไ่ ด้ สังเกตตัวแบบแสดงพฤติกรรมที่มคี วามซับซ้ อน และได้ รับผลกรรม
ที่พงึ พอใจ
เป็ นเทคนิคทีพ่ ฒ
ั นามาจากแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้ทางปัญญาสั งคมของ
แบนดูรา
เชื่อว่ าการเปลีย่ นแปลงของพฤติกรรมของคนเรานั้นไม่ ได้ เป็ นผลมาจากการ
ที่คนเรามีปฏิสัมพันธ์ กบั สภาพแวดล้อมเท่ านั้น แต่ ยงั ขึน้ อยู่กบั ปัจจัยส่ วน
บุคคลทีป่ ระกอบด้ วยความคิดและความรู้สึก
63
64
ตัวแบบมีผลต่ อพฤติกรรมของบุคคล
ช่ วยให้ บุคคลเรียนรู้พฤติกรรมใหม่ ๆ หรือทักษะใหม่ ๆ
มีผลทาให้ เกิดการระงับ (Inhibition) หรือยุติการระงับ (Disinheriting) การ
แสดงพฤติกรรมของผู้ทสี่ ั งเกตตัวแบบ
ช่ วยให้ พฤติกรรมทีเ่ คยได้ รับการเรียนรู้มาแล้วได้ มีโอกาสแสดงออก
65
การใช้ คาพูดชักจูง (Verbal persuasion)
เป็ นการบอกว่ าบุคคลนั้นมีความสามารถทีจ่ ะประสบความสาเร็จได้
การใช้ คาพูดชักจูงนั้นไม่ ค่อยจะได้ ผลนักในการทีจ่ ะทาให้ คนเราสามารถ
พัฒนาการรับรู้ความสามารถของตนเอง ควรจะใช้ ร่วมกับการทาให้ บุคคลมี
ประสบการณ์ ของความสาเร็จ
ต้ องค่ อยๆ สร้ างความสามารถให้ กบั บุคคลอย่ างค่ อยเป็ นค่ อยไป และให้ เกิด
ความสาเร็จตามลาดับขั้นตอน
66
การกระตุ้นทางอารมณ์ (Emotional arousal)
บุคคลทีถ่ ูกกระตุ้นอารมณ์ ทางลบ จะนาไปสู่ การรับรู้ความสามารถของ
ตนเองต่าลง
ถ้ าอารมณ์ ด้านลบเกิดมากขึน้ ก็จะทาให้ บุคคลไม่ สามารถทีจ่ ะแสดงออกได้ ดี
จะนาไปสู่ ประสบการณ์ ของความล้มเหลว
บุคคลสามารถลดหรือระงับการถูกกระตุ้นทางอารมณ์ ได้ จะทาให้ การรับรู้
ความสามารถของตนดีขนึ้ อันจะทาให้ การแสดงออกถึงความสามารถดีขนึ้
67
งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ องกับการประยุกต์ ใช้ แนวคิดการรับรู้
ความสามารถของตนเอง
กุลนิตย์ ศักดิ์สุภา (2547) ซึ่งทาการศึกษาประสิ ทธิผลของโปรแกรมสุ ขศึกษา
ทีม่ ีผลต่ อภาวะโภชนาการเกินของนักเรียนโรงเรียนอนุบาลลพบุรี
ธิดารัตน์ โชติกอนุชิต (Thidarat chotik-Anuchid, 2005) ซึ่งทาการประเมิน
สิ ทธิผลของโปรแกรมการให้ คาปรึกษาทางด้ านพฤติกรรมเป็ นรายบุคคลเพือ่
ปรับเปลีย่ นรูปแบบการดาเนินชีวติ ในเด็กวัยรุ่นทีอ่ ้วนและมีความคงทนต่ อ
กลูโคสผิดปกติ
ฮอล์คอมและคณะ (Holcomb et al, 1998: 282-8) ศึกษาผลของโปรแกรมการ
ป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในเด็กชนพืน้ เมือง Webb County ในรัฐ
เทกซัส สหรัฐอเมริกา
68
แซควิกและคณะ (Saksvig et al, 2005: 2392–8) ได้ ศึกษาประสิ ทธิผล
ของโปรแกรมนาร่ องเกีย่ วกับการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการบริโภค
อาหารและการเคลือ่ นไหวออกกาลังในนักเรียนเกรด 3,4,5 ซึ่งเป็ นชน
พืน้ เมืองชาว Ojibway-Cree ประเทศแคนาดา
เกรย์ และคณะ (Grey et al, 2004: 10-5) ได้ ทาการศึกษานาร่ องเพือ่
ทดสอบประสิ ทธิผลของโปรแกรมการป้ องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ใน
วัยรุ่นทีม่ ีความเสี่ ยง กลุ่มตัวอย่ างเป็ นนักเรียนอายุ 10-14 ปี จานวน 41
คน โดยเป็ นชาวอัฟริกนั -อเมริกนั ชาวฮิสพานิค และชาว คอเคเชี ยน ใน
Connecticut middle school 2 แห่ ง
69
การกากับตนเอง (Self-regulation)
หมายถึง กระบวนการทีบ่ ุคคลปฏิบัติและสนับสนุนต่ อพฤติกรรมความรู้
ความเข้ าใจและอารมณ์ ความรู้สึกทีม่ ุ่งไปสู่ เป้าหมายทีต่ ้ังไว้ ด้วยตนเอง
อย่ างเป็ นระบบ (Schunk, 1991: 348)
หมายถึง กระบวนการทีก่ ระตุ้นและสนับสนุนต่ อความรู้ความเข้ าใจ
พฤติกรรมและความพอใจเพือ่ นาไปสู่ การบรรลุเป้าหมายทีต่ นเองตั้งไว้
ในทีส่ ุ ด แมน (Schunk and Zimmerman, 1997: 195-208
สรุป การแสดงออกถึงการกระทาในสั งเกต พฤติกรรมและการ
เปลีย่ นแปลงด้ านสุ ขภาพของตนเอง พร้ อมทั้งตั้งเป้าหมายและวางแผน
ในการกระทาทีจ่ ะดูแลตนเองให้ มีสุขภาพดีตามเป้าหมายทีต่ ้ังไว้
70
ทฤษฎีที่เกีย่ วข้ องการกากับตนเอง
 กลุ่มแนวคิดของลูเรีย (Luria) ไววอตสกี (Vygotsky) และ ลีออนเทียฟ (Leontief)
การกากับตนเองเป็ นส่ วนหนึ่งของการพัฒนาการมนุษย์ และได้ รับอิทธิพลมา
จากสั งคมและวัฒนธรรมโดยผ่ านกระบวนการเสริมสร้ างคุณลักษณะของ
ตนเอง (Internalization)
 กลุ่มแนวคิดของ แคนเฟอร์ และคณะ (Kanfer and his associaters)
การติดตามตนเอง (Self – monitoring) การประเมินตนเอง (Self –
evaluation) และการเสริมแรงตนเอง (Self – reinforce)
 กลุ่มแนวคิดของและคูห์ล (Ach and Kuhl)
การกากับตนเองเกีย่ วข้ องกับความตั้งใจ (Willpower) และกาลังใจ
(Voliutional)
71
การกากับตนเอง ได้ รับอิทธิพลมาจากสั งคม
ได้ รับแนวคิดจากทฤษฎีต่างๆ
 ทฤษฎีเชิงปัญญาสั งคม (Social cognitive theory)
ทฤษฎีวฒ
ั นธรรมเชิงสั งคม (Sociocultural theory)
ทฤษฎีการตัดสิ นใจด้ วยตนเอง (Self – determination
theory)
72
กระบวนการย่ อยของการกากับตนเอง
 การสั งเกตตนเอง (Self-observation)
การตัดสิ นตนเอง (Self-judgment)
การแสดงปฏิกริ ิยาต่ อตนเอง (Self-reaction)
73
74
การสั งเกตตนเอง (Self-observation)
หมายถึง ความสนใจต่ อลักษณะทีจ่ าเพาะในพฤติกรรมของบุคคลอย่ างพินิจ
พิเคราะห์
การตั้งเป้าหมาย (goal setting) : การกาหนดพฤติกรรมเป้าหมายหรือกาหนด
เกณฑ์ ในการแสดงพฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่งทีต่ ้ องการเปลีย่ นแปลง
1.ความเฉพาะเจาะจงเป็ นการระบุพฤติกรรมทีช่ ัดเจน
ความใกล้เคียง เป็ นเป้าหมายที่ใช้ ระยะเวลาสั้ นๆ
การตั้งเป้าหมายทีย่ ากทาให้ บุคคลใช้ ความพยายามจะทาให้ เกิดความพึง
พอใจ
75
การตั้งเป้ าหมาย มี 2 แบบ
การตั้งเป้าหมายด้ วยตนเอง : การทีบ่ ุคคลเป็ นผู้กาหนด
พฤติกรรมเป้ าหมายทีต่ ้ องการกระทาด้ วยตนเอง
การตั้งเป้าหมายโดยบุคคลอืน่ : การทีบ่ ุคคลอืน่ เป็ นผู้กาหนด
พฤติกรรมเป้าหมายทีต่ ้ องการเปลีย่ นแปลงให้ กบั บุคคล
76
กระบวนการเตือนตนเอง (Self-monitoring)
 หมายถึง กระบวนการทีบ่ ุคคลสั งเกตและบันทึกพฤติกรรมเป้ าหมายทีเ่ กิดขึน้ ด้ วย
ตนเองเพือ่ เป็ นข้ อมูลเกีย่ วกับพฤติกรรมที่ตนเองกระทา
 จาแนกเป้ าหมายให้ ชัดเจนว่ าจะต้ องสั งเกตพฤติกรรมอะไร
 กาหนดเวลาทีจ่ ะสั งเกตและบันทึกพฤติกรรม
 กาหนดวิธีการบันทึกและเครื่องมือทีใ่ ช้ ในการบันทึกพฤติกรรม
 ทาการสั งเกตและบันทึกพฤติกรรมตนเอง
 แสดงผลการบันทึกพฤติกรรมตนเองเป็ นกราฟ หรือแผนภาพ
 วิเคราะห์ ข้อมูลทีบ่ ันทึกเพือ่ ใช้ เป็ นข้ อมูลย้ อนกลับและเพือ่ พิจารณาผลการ
เปลีย่ นแปลงพฤติกรรม
77
ปัจจัยอืน่ ๆ ที่มีอทิ ธิพลต่ อการสั งเกตตนเอง
เวลาที่ทาการสั งเกตและบันทึกพฤติกรรมตนเอง
การให้ ข้อมูลย้ อนกลับจะทาให้ บุคคลทราบว่ าตนกระทาพฤติกรรมเป็ น
อย่ างไรเป็ นไปตามเป้าหมายทีต่ ้ังไว้ หรือไม่
ระดับของแรงจูงใจการทีบ่ ุคคลมีแรงจูงใจทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม
ของตน
คุณค่ าของพฤติกรรมทีส่ ั งเกต
ความสาเร็จและความล้มเหลวของพฤติกรรมทีส่ ั งเกต
ระดับความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมทีส่ ั งเกต
78
การตัดสิ นตนเอง (Self-Judgment)
การเปรียบเทียบผลทีไ่ ด้ รับจากการกระทากับเป้าหมายหรือมาตรฐาน
ทีต่ ้ังไว้ การตัดสิ นตนเอง (Self – judgment) ขึน้ กับชนิดของมาตรฐาน
(Type of standards)
พฤติกรรมจะประสบความสาเร็จหรือล้มเหลวขึน้ อยู่กบั มาตรฐานที่
นามาประเมิน
การตั้งมาตรฐานทีด่ ีคอื การตั้งพฤติกรรมทีเ่ ฉพาะเจาะจงระบุอย่ าง
ชัดเจนมีแนวทางในการกระทาอย่ างแน่ นอนเป็ นมาตรฐานทีใ่ กล้เคียงกับ
ความเป็ นจริงและสามารถปฏิบัติได้
79
การตั้งเป้ าหมายในการกระทาพฤติกรรมให้ มีประสิ ทธิภาพ
ควรเป็ นเป้าหมายทีเ่ ฉพาะเจาะจง
ควรเป็ นเป้าหมายทีม่ ีลกั ษณะท้ าทาย
ควรเป็ นเป้าหมายทีร่ ะบุแน่ ชัดและมีทศิ ทางในการกระทาแน่ นอน
ควรเป็ นเป้าหมายระยะสั้ น
ควรเป็ นเป้าหมายทีอ่ ยู่ในระดับใกล้เคียงกับความเป็ นจริงและสามารถ
ปฏิบัติได้
80
81
ปัจจัยต่ างๆ ที่มีอทิ ธิพลต่ อกระบวนการกากับตนเอง
ประโยชน์ ส่วนตัว (Personal benefits)
รางวัลทางสั งคม (Social reward)
การสนับสนุนจากตัวแบบ (Modeling supports)
ปฏิกริ ิยาทางลบจากผู้อนื่ (Negative sanctions)
การลงโทษตนเอง (Self – inflicted punishment)
การสนับสนุนจากสภาพแวดล้อม (Contextual supports)
82
งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ องกับการประยุกต์ ใช้ แนวคิดการกากับตนเอง
 พนิดา มีต้องปัน (2532: ก-ข) ศึกษาถึงประสิ ทธิผลของโปรแกรมลดนา้ หนักด้ วยวิธี
ควบคุมตนเองทีม่ ีต่อพฤติกรรมลดนา้ หนัก ทั้งด้ านความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัตติ วั
ในการลดนา้ หนักและผลของพฤติกรรมการลดนา้ หนัก
 ยุพา อภิโกมลกร (2531: ก-ข) ศึกษาประสิ ทธิผลของการปรับพฤติกรรมสุ ขภาพ
ด้ วยวิธีการกากับตนเองของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ของโรงเรียน
สั งกัดสานักงานการศึกษา กรุ งเทพมหานคร เขตบางเขน จานวน 2 โรงเรียนทีม่ ี
ปัญหาเกีย่ วกับความสะอาดของร่ างกายในส่ วนต่ างๆ เช่ น ผม เหงือกและฟัน
 มาโฮนี และคณะ (Mahony et al, 1973: 65-69 อ้างใน เกศแก้ว สอนดี, 2548: 40)
ได้ ทาการศึกษาผลของการให้ รางวัลตนเอง การลงโทษตนเอง และการสั งเกตตนเอง
ต่ อพฤติกรรมการรับประทานอาหาร
83
การดูแลตัวเอง (Self-care)
พฤติกรรมการเรียนรู้ อย่ างหนึ่งทีเ่ ริ่มพัฒนามาตั้งแต่ วยั เด็ก และ
ค่ อยๆ พัฒนาเต็มทีใ่ นวัยผู้ใหญ่ ซึ่งเป็ นวัยทีส่ ามารถดูแลตนเอง
ได้ อย่ างสมบูรณ์
แต่ ความสามารถดังกล่ าวจะลดลงเมื่อเกิดความเสื่ อม หรือความ
เจ็บป่ วยขึน้ ในร่ างกาย หรือกรณีทกี่ ารดูแลตนเองถูกจากัดจาก
ความรู้ ความชานาญ การขาดแรงจูงใจ กิจกรรมการดูแลตนเองก็
จะไม่ เกิดขึน้
84
แนวคิดและทัศนะการดูแลตนเอง
 เลวิน กล่ าวว่ า การดูแลตนเองเป็ นกระบวนการทีบ่ ุคคลหนึ่งๆ ทาหน้ าทีโ่ ดยตัวเอง
และเพือ่ ตัวเอง ในการป้ องกันและส่ งเสริมสุ ขภาพตลอดจนการสื บค้ นหาโรคและ
การรักษาขั้นต้ นด้ วยตนเอง
 สไตเกอร์ และลิบสั น ให้ ความหมายของการดูแลตนเองว่ าเป็ นกิจกรรมทีร่ ิเริ่ม
กระทาโดย บุคคล ครอบครัว ชุ มชน เพือ่ ให้ บรรลุ หรือคงไว้ ซึ่งภาวะสุขภาพให้ ดี
ทีส่ ุ ด
 เพนเดอร์ กล่ าวว่ าการดูแลตนเองเป็ นการปฏิบัตทิ ี่บุคคลริเริ่มและกระทาในวิถีทาง
ของตนเองเพือ่ ดารงรักษาชีวิต ส่ งเสริมสุ ขภาพและความเป็ นอยู่ทดี่ ขี องตน
85
ผลสรุปในแนวคิดการดูแลตนเองนั้นมีคุณลักษณะดังนี้
การดูแลตนเองมีอยู่ในสถานการณ์ และวัฒนธรรมทีเ่ ฉพาะ
 เกีย่ วข้ องกับความสามารถทีจ่ ะกระทาและการเลือก
 ความรู้ ทักษะ การให้ คุณค่ า แรงจูงใจ การรับรู้
ความสามารถ การควบคุม และสมรรถนะของตนเอง
(Efficacy) มีอทิ ธิพลต่ อการดูแลตนเอง
 แนวคิดการดูแลตนเองมีจุดเน้ นการดูแลสุ ขภาพ อยู่ภายใต้
การควบคุมของบุคคล
86
แนวคิดและทัศนะการดูแลตนเอง
 เลวิน กล่ าวว่ า การดูแลตนเองเป็ นกระบวนการทีบ่ ุคคลหนึ่งๆ ทาหน้ าทีโ่ ดยตัวเอง
และเพือ่ ตัวเอง ในการป้ องกันและส่ งเสริมสุ ขภาพตลอดจนการสื บค้ นหาโรคและ
การรักษาขั้นต้ นด้ วยตนเอง
 สไตเกอร์ และลิบสั น ให้ ความหมายของการดูแลตนเองว่ าเป็ นกิจกรรมทีร่ ิเริ่ม
กระทาโดย บุคคล ครอบครัว ชุ มชน เพือ่ ให้ บรรลุ หรือคงไว้ ซึ่งภาวะสุขภาพให้ ดี
ทีส่ ุ ด
 เพนเดอร์ กล่ าวว่ าการดูแลตนเองเป็ นการปฏิบัตทิ ี่บุคคลริเริ่มและกระทาในวิถีทาง
ของตนเองเพือ่ ดารงรักษาชีวิต ส่ งเสริมสุ ขภาพและความเป็ นอยู่ทดี่ ขี องตน
87
มุมมองทางการพยาบาล
การดูแลตนเองเป็ นกระบวนการการดูแลตนเองเป็ นการกระทาทีจ่ งใจ
และมีเป้าหมาย
ระยะที่ 1 เป็ นระยะของการพินิจพิจารณาและตัดสิ นใจซึ่งจะนาไปสู่ การ
กระทา
ระยะที่ 2 เป็ นการกระทาและผลของการกระทา
โอเร็มได้ จาแนกพฤติกรรมการดูแลตนเองออกเป็ น 3 สถานะ
ความต้ องการการดูแลตนเองทัว่ ไปในภาวะปกติ
ความต้ องการดูแลตนเองตามพัฒนาการ
88
ความต้ องการดูแลตนเองตามการเบี่ยงเบนทางสุ ขภาพ
มุมมองสาขาจิตวิทยา
เป็ นการกระทาทีจ่ งใจของบุคคลอย่ างมีเหตุผลทีเ่ กีย่ วข้ องกับ
สุ ขภาพ โดยแบ่ งการดูแลตนเองเป็ น 3 แบบ
แบบที่ 1การดูแลตนเองในการบรรเทาความเจ็บป่ วย
แบบที่ 2การดูแลตนเองในการรักษาหรือเผชิญกับอาการ
แบบที่ 3 การดูแลตนเองในการป้องกันอันตรายทีจ่ ะมีผลต่ อ
สวัสดิภาพ
89
มุมมองสาขาสุ ขศึกษา
มุ่งการให้ ความรู้ หรือข้ อมูลเพือ่ ช่ วยให้ บุคคลได้เลือกทา
พฤติกรรมสุ ขภาพทีด่ ี
เป็ นการรวบรวมประสบการณ์ การเรียนรู้ ต่างๆ มาส่ งเสริมให้
บุคคลสมัครใจทาพฤติกรรมทีน่ าไปสู่ สุขภาพ
กิจกรรมทีก่ ระทาโดยบุคคลรับรู้ ว่าตนเองเจ็บป่ วย และมีความ
ต้ องการทีจ่ ะฟื้ นหายดีขนึ้ การดูแลตนเอง รวมถึงพฤติกรรมที่ลด
การพึง่ พาผู้อนื่ ด้ วย
90
มุมมองสาขาสั งคมศาสตร์
สนใจการดูแลตนเองในความสั มพันธ์ ท้งั 3 ระบบ คือ ระบบบุคคล ระบบ
กลุ่มย่ อย และระบบชุ มชน
มุ่งเน้ นทีส่ ั งคม กฎหมาย นโยบาย และองค์ กรทีส่ นับสนุนและส่ งเสริม
การดูแลตนเอง
การดูแลตนเองเป็ นพฤติกรรมในการดาเนินชีวติ ประจาวัน ซึ่งมีรูปแบบ
ของการมีปฏิสัมพันธ์ ในสั งคม
การให้ คุณค่ า ความเชื่อทีเ่ รียนรู้ในสั งคมวัฒนธรรม มีผลต่อการ
ปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
91
การดูแลตนเองในทัศนะทีเ่ ป็ นผลลัพธ์
รู ปแบบทางคลินิก (Clinical model
รู ปแบบทางด้ านการปฏิบัตติ วั ตามบทบาท (Role
performance model)
รู ปแบบด้ านการปรับตัว (Adaptation model)
รู ปแบบด้ านความผาสุ ก (Eudemonistic model)
92
งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ องกับการดูแลตนเอง
 ภาวินี โภคสิ นจารู ญ (2540) มีความสนใจศึกษา ความสั มพันธ์ ระหว่ างความเชื่อ
ด้ านสุ ขภาพกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ ชาวไทยมุสลิมทีม่ ีภาวะ
ความดันโลหิตสู งเนื่องจากการตั้งครรภ์ โดยใช้ ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเอซิส
เป็ นแนวทางในการศึกษากลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ชาวไทยมุสลิมทีม่ ภี าวะความดันโลหิต
สู งเนื่องจากการตั้งครรภ์ ทมี่ ารับการตรวจทีแ่ ผนกฝากครรภ์ ในโรงพยาบาล
 อมาวสี อัมพันศิริรัตน์ (2539) ความสามารถในการดูแลตนเองกับภาวะสุ ขภาพของ
ผู้สูงอายุเขตชนบท อาเภอพล จังหวัดขอนแก่ น
93
ขวัญใจ ตันติวฒ
ั นเสถียร (2535) ปัจจัยทีส่ ั มพันธ์ กบั
พฤติกรรมการดูแลตนเองด้ านสุ ขภาพ มีตวั อย่ างเป็ น
ผู้ป่วยทีแ่ พทย์ วนิ ิจฉัยว่ าเป็ นโรคประสาท ในโรงพยาบาล
ชุมชน จังหวัดอุบลราชธานี
94
95
96