B39_HOW TO APLLY-9-edit - Tanit Sorat V
Download
Report
Transcript B39_HOW TO APLLY-9-edit - Tanit Sorat V
Supply Chain Management
การจัดการโซ่ อุปทาน
โดยว่าที่ รต ธเนศร์ โสรัตน์
รองประธานกรรมการ V-SERVE
GROUP
Chapter 9
1
บทที่ 9
Outsourcing Logistics Service
ผูบ้ ริการภายนอกในงานโลจิสติกส์
B39
2
Outsource
1.
2.
3.
4.
5.
Overview
Reasons for outsourcing
Process of outsourcing
Criticisms of outsourcing
Evaluation of outsourcing
3
Process of outsourcing
1.Deciding to outsource.
2.Supplier proposal.
3.Supplier Competition.
4
Process of outsourcing
4.Negotiations.
5.Contract finalization.
6.Transition.
5
Process of outsourcing
7. Transformation.
8. Ongoing service delivery.
9. Termination or renewal.
6
How to Choose the
right outsource
7
รายการตรวจเช็คสาหรับขั้นตอนการคัดเลือกตัวผูใ้ ห้บริ การ
คาถาม
ตัวแปร
1
ประสบการณ์ และความชานาญ ผูใ้ ห้บริ การรายนี้
ดาเนินธุรกิจนี้มานานแค่ไหน และเขามี
ประสบการณ์อะไรบ้างจากโครงการอื่นที่มีความ
คล้ายคลึงกันกับโครงการเอาต์ซอร์สนี้
ประวัติ ส่ วนที่ 1 ข้อมูลสมรรถนะการทางานที่ผา่ น
มา การให้ความสาคัญกับลูกค้า และชื่อเสี ยงว่า
เป็ นไปตามที่พนักงานขายได้โฆษณาไว้ไหม
ประวัติ ส่ วนที่ 2 ข้อมูลสมรรถนะการทางานที่ผา่ น
มา การให้ความสาคัญกับลูกค้า และชื่อเสี ยงจาก
การศึกษาวิจยั อิสระ
2
3
นา้ หนัก ผู้ให้ บริการ ผู้ให้ บริการ
ที่ 2
ที่ 1
0.15
0.02
0.07
8
รายการตรวจเช็คสาหรับขั้นตอนการคัดเลือกตัวผูใ้ ห้บริ การ
คาถาม
ตัวแปร
4
การไปเยือนสถานทีจ่ ริง เครื่ องไม้เครื่ องมืออุปกรณ์
ต่างๆตรงตามความต้องการของคุณหรื อไม่
0.1
5
ความมัน่ คงของสถานะการเงิน พิจารณาว่าสถานะ
การเงิน ความน่าเชื่อถือและความมีเสถียรภาพของ
ผูใ้ ห้บริ การจะส่ งเสริ มสนับสนุนการลงทุนครั้ง
ใหญ่ของคุณ หรื อว่าเป็ นบริ ษทั ที่เพิ่งจัดตั้งและไม่มี
เงินทุนสักเท่าใด
ความยืดหยุ่น รู ปแบบทางธุรกิจ สัญญา และ
ความสามารถในการเพิ่มขนาด
0.1
6
นา้ หนัก ผู้ให้ บริการ ผู้ให้ บริการ
ที่ 2
ที่ 1
0.15
9
รายการตรวจเช็คสาหรับขั้นตอนการคัดเลือกตัวผูใ้ ห้บริ การ
คาถาม
ตัวแปร
7
ความซื้อสั ตย์ ความไว้เนื้อเชื่อใจ ความปลอดภัย
สิ ทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ระเบียบแบบแผน
แบบจาลองธุรกิจ และมาตรฐานคุณภาพ
บุคลากร พนักงานที่เอาจริ งเอาจังและตื่นตัวในการ
ทางานการศึกษาและการรับรองคุณวุฒิที่ถูกต้อง
เหมาะสม
0.17
ราคาและกาไร
0.15
8
9
นา้ หนัก ผู้ให้ บริการ ผู้ให้ บริการ
ที่ 2
ที่ 1
0.17
*หากข้อมูลจากการศึกษาวิจยั อิสระแตกต่างจากข้อมูลอ้างอิงที่ได้จากตัวผูใ้ ห้บริ การ ให้ปรับคะแนนของคุณตามนั้นด้วย 10
Outsource
รายการ
เป้า
ทาได้จริง Hit
จานวนสินค้าส่งมอบ JIT
100%
95%
ความถูกต้องของเอกสาร
100%
80%
Responsive
100%
70%
Form Submit
100%
91%
Billing JIT
100%
30%
Total
500%
366%
Miss
11
การบริหารจัดการโซ่อปุ ทานโลจิสติกส์เป็ นกิจกรรมที่เกีย่ วข้อง
กับการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการเคลื่อนย้าย
สินค้าและบริการ, การรวบรวม , จัดซื้อ-จัดหา , การบรรจุภณ
ั ฑ์ ,
การจัดเก็บ และการกระจายสินค้า ผ่านกระบวนการต่างๆ ในโซ่
อุปทานโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้สินค้าได้มีการรับและส่งมอบ
เป็ นช่วงๆ ตัง้ แต่ต้นน้า-กลางน้า จนถึงสินค้าและบริการนัน้ ๆได้
ส่งมอบไปยังผูบ้ ริโภค (Origin to Customer)
12
ความหมายของผูใ้ ห้บริการภายนอก (Outsources)
Lomas 1997 :
• ได้ให้คานิยามความหมายของ Outsourcing หมายถึง กิจกรรม
ทางด้านผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์เป็ นการเลือกสรรให้องค์กรภายนอกมา
ดาเนินกิจกรรมต่างๆบางส่วนหรือทัง้ หมดให้กบั องค์กรธุรกิจ ภายใต้
สัญญาเพือ่ ให้แลกเปลีย่ นกับค่าธรรมเนียม โดยให้คานึงถึงความ
จาเป็ นทีจ่ ะต้องตัดค่าใช้จา่ ยสาหรับการนาระบบเทคโนโลยีทางด้านโล
จิสติกส์ซง่ึ มีการเติบโตและมีความซับซ้อนมาใช้ เพือ่ เป็นการเพิม่ ขีด
ความสามารถในการแข่งขัน
13
ความหมายของผูใ้ ห้บริการภายนอก (Outsources)
ธนิต โสรัตน์ (2005):
Outsources คือผูใ้ ห้บริการภายนอก เป็ นกลุ่มของบุคคล หรือผูป้ ระกอบการ
ภายนอกซึง่ มีความเชีย่ วชาญเฉพาะด้านในงานหนึ่งงานใด ซึง่ มีความสามารถ
ซึง่ จะเข้ารับบทบาทการทางานนัน้ ๆ ได้ดกี ว่าการทีอ่ งค์กรจะดาเนินการด้วย
ตนเอง ภายใต้สญ
ั ญาเพือ่ แลกเปลีย่ นกับค่าธรรมเนียมหรือผลประโยชน์ทจ่ี ะ
ได้รบั เป็ นการตอบแทน โดยผลลัพธ์ทไ่ี ด้จากการว่าจ้างผูใ้ ห้บริการภายนอก ควร
จะดีกว่าองค์กรจะดาเนินการเอง ทัง้ ในด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล หรือ
อีกนัยหนึ่งก็คอื การให้ผปู้ ระกอบการทีใ่ ห้บริการภายนอกรับงานทีม่ คี วามสาคัญ
น้อยกว่าไปทา โดยองค์กรเลือกทีจ่ ะดาเนินงานเฉพาะงานทีม่ คี วามสาคัญและ
คุม้ ค่ากว่า การเลือกใช้ผบู้ ริการภายนอก (Outsourcing Service) เป็ นเรือ่ งที่
เกีย่ วข้องกับการจัดการความสมดุลของต้นทุน เวลา กับเงินทีต่ อ้ งจ่าย
14
ความหมายของผูใ้ ห้บริการภายนอก (Outsources)
Lieb et al (1993)
ผูใ้ ห้บริการด้านโลจิสติกส์ หมายถึง ผูใ้ ห้บริการภายนอกบริษทั ที่
นาเสนอบริการบางกิจกรรม หรือทุกกิจกรรมของโลจิสติกส์แก่
ผูร้ บั บริการ
JJ. Vogt, WJ Pienaar de Wie (2007)
Each of the service provider is chosen to fulfill am integral
function in the chain , service providers may come from
department within the enterprise or may be external – or a
combination of these. ความหมายนี้ ทาให้ขยายคาจากัดความถึง ผู้
ให้บริการ “โลจิสติกส์อาจเป็ นหน่วยงานในบริษทั หรือกิจการภายนอก
หรือการผสมผสานร่วมกันระหว่างหน่วยงานในองค์กรกับผูใ้ ห้บริการ
ภายนอก”
15
What is Outsourcing?
Outsourcing คือ การจัดจ้างผูเ้ ชี่ยวชาญในเรื่องหนึ่ ง ๆ ให้เข้ามา
จัดการหน่ วยธุรกิจหลักซึ่งไม่ใช่ธรุ กิจหลัก โดยถือเป็ นวิธีการใน
การขยาย จานวนพนักงานโดยไม่ต้องเพิ่มจานวนพนักงาน เพื่อลด
ต้นทุนและเพิ่มคุณภาพหรือเพื่อเพิ่มผลิตภาพ
Offshoring คือ การจัดจ้างผูเ้ ชี่ยวชาญในต่างประเทศเพื่อให้เข้า
ดาเนินการเกี่ยวกับกระบวนการทางธุรกิจ
Linda R Dominquez
16
เหตุผลซึง่ ธุรกิจต้องใช้ผใู้ ห้บริการภายนอก
• เป็ นกลไกในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
• เพ่ิ มประสิทธิภาพในการลดต้นทุนรวม
• หลักการสาคัญของการจัดการโลจิสติกส์จะมุ่งเน้ นการแบ่งแยก
งานไปตามความถนัด (Division of Labour)
• องค์กรธุรกิจจะมอบหมายงานที่ตนเองมีความเชี่ยวชาญน้ อย
กว่า หรือมีต้นทุนในการดาเนินการสูงกว่าไปให้กบั ผูใ้ ห้บริการ
ภายนอกในงานโลจิสติกส์ (Outsourcing Logistics Service)
• องค์กรจะเลือกดาเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมหลัก
(Core Business) เช่น ด้านการตลาด การผลิต ด้านที่เกี่ยวข้อง
กับเทคนิคการวิจยั และพัฒนา การควบคุมคุณภาพ
17
เหตุผลซึง่ ธุรกิจต้องใช้ผใู้ ห้บริการภายนอก
• มอบหมายงานที่มีความสาคัญน้ อยกว่าไปให้กบั ผูใ้ ห้บริการ
ภายนอก ซึ่งมีต้นทุนในการดาเนินงานที่ตา่ กว่า และมี
ประสิทธิภาพดีกว่าที่บริษทั ฯจะเป็ นผูด้ าเนินการด้วยตนเอง
• การมอบหมายงานนี้ ยังมีจดุ ประสงค์หลักในการที่จะเป็ นการ
กระจายต้นทุน (Cost Sharing) และการกระจายความเสี่ยง
(Risk Management)
• งานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการกระจายสินค้าจาเป็ นที่จะต้อง
อาศัยเครือข่าย ยิ่งระบบการค้ามีความซับซ้อนและเป็ นการค้า
ระหว่างประเทศ
• การเลือกใช้องค์กรภายนอกจะเป็ นการเพิ่มประสิทธิภาพของ
การกระจายสินค้า โดยอาศัยเครือข่ายหรือ Network ของผู้
18
ให้บริการ ที่เรียกว่า Logistics Service Provider : LSP
TANIT SORAT
ลักษณะการของ Outsourcing
•
•
•
•
•
•
IT
Finance
Legal Consultant
Production
Training
HR
19
ลักษณะของผูใ้ ห้บริการด้านโลจิสติกส์ของไทย
สามารถแบ่ง ได้ดงั ต่อไปนี้
Transport Service
Place Utility
Electronic Utility
Form & Facilitation
Consultance Service
Logistics Equipment
20
Role of Logistics Outsources
บทบาทของผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์
ความสาเร็จของ Supply Chain จะมุ่งไปสู่การลดต้นทุน
และความรวดเร็ว เพิ่มศักยภาพการแข่งขัน ลดต้นทุน
คงที่ (Fixed Cost) โดยมอบหมายงานบางส่วนไปให้
ธุรกิจภายนอกรับไปทา โดยหลีกเลี่ยงการลงทุนในด้าน
บุคลากรและ Fixed Asset ซึ่งเกี่ยวข้องกับงานโลจิสติกส์
โดยทาให้ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์เป็ นค่าใช้จา่ ยผันแปร
(Variable Cost) ให้มากที่สดุ เพื่อที่จะขจัดแรงงาน
ส่วนเกิน (Head Count Reduction)
21
เคล็ดลับทีส่ าคัญในการใช้ผใู้ ห้บริการภายนอก
• ต้องมีปฏิสมั พันธ์แบบหุ้นส่วนธุรกิจ (Business
Partnership)
• ต่างจะมีส่วนร่วมในการกระจายความเสี่ยงที่เกิด
จากความแปรผันของต้นทุน
• มีส่วนรับจากผลกาไรที่จะได้จากการทาธุรกิจ
ร่วมกัน (Business Reward)
22
The Reason to Use Logistics Service Provider
เหตุผลที่ธรุ กิจควรตัดสินใจใช้ผใู้ ห้บริการโลจิสติกส์
• Market Demand Forecasting ทาให้รคู้ วามต้องการของตลาดได้
ล่วงหน้า
• Econmies of Scope การร่วมมือทางเครือข่าย ทาให้การให้บริการ
ของ Outsources Service ซึง่ มีขอบเขตทีก่ ว้างไกล
• Cost Utilize เป็ นการลดต้นทุนรวมของธุรกิจ
• Transport Efficiency เป็ นการเพิม่ ประสิทธิภาพของการขนส่ง
• Working Capital Flow ทาให้มสี ภาพคล่องทางการเงินทีด่ กี ว่า
23
The Reason to Use Logistics Service ProviderMarket Demand Forecasting
เหตุผลที่ธรุ กิจควรตัดสินใจใช้ผใ้ ู ห้บริการโลจิสติกส์
• Spacialist Value การใช้ให้บริการภายนอกจะทาให้ได้ผเู้ ชีย่ วชาญ
เฉพาะงานในการให้บริการแก่องค์กร และเป็ นผูเ้ ชีย่ วชาญในระดับ
Best -In- Class และให้การบริการและทางานได้ดกี ว่า
• Services Flexibility การให้บริการมีความยืดหยุน่ เปลีย่ นแปลงใน
ด้านการให้บริการได้ดกี ว่า
• Time Interest การใช้ผใู้ ห้บริการภายนอกไปทางานทีส่ าคัญน้อยกว่า
• Business Synergies ส่งผลต่อการผนึกกาลังทางธุรกิจ
• Multiple Needs Responsiveness การใช้ผใู้ ห้บริการโลจิสติกส์ จะ
ส่งผลต่อการสนองตอบต่อความต้องการทีห่ ลากหลายของลูกค้าได้
ดีกว่าทีอ่ งค์กรหรือบริษทั จะดาเนินการเองได้
24
Outsources Management
การบริหารจัดการผูใ้ ห้บริการภายนอก
การค้าในปัจจุบนั เป็ นการแข่งขันในระดับโลก แนวโน้ มของ
ความซับซ้อนต่อการส่งมอบสินค้าภายใต้ภมู ิ ศาสตร์ขนส่ง ซึ่งมี
ระยะทางที่ยาวขึน้ โดยมีต้นทุนที่ตา่ สุด ทาให้บทบาทของผู้
ให้บริการโลจิสติกส์จะมีความซับซ้อนสามารถให้บริการในการ
สนองตอบต่อพืน้ ที่ซึ่งหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิผล
25
องค์ ประกอบของการจัดการ Outsourcing
• Place Utility อรรถประโยชน์ด้านสถานที่
• Time Utility อรรถประโยชน์ด้านเวลา
• Condition Utility คืออรรถประโยชน์จากการส่งมอบ
สินค้ าตรงตามเงื่อนไข
26
T
Liability
• Liability การให้ บริ การในงานโลจิสติกส์เป็ นเรื่ องของข้ อตกลงที่
เป็ นสัญญาหรื อข้ อตกลงทางพฤตินยั ซึง่ ผู้รับขนส่งมีหน้ าที่
รับผิดชอบในฐานะเป็ นตัวการ ที่เรี ยกว่า ผู้รับจ้ างในการส่งมอบ
สินค้ านันๆ
้ ให้ กบั ผู้รับตามเวลาและสถานที่ซงึ่ ได้ มีการตกลงกัน
รวมไปถึงการมีหน้ าที่ในการชดใช้ คา่ เสียหาย หรื อสูญหายใน
ระหว่างที่ตนเองหรื อบริ วารหรื อผู้ให้ บริ การภายนอก
(Outsources) ซึง่ ตนเองได้ วา่ จ้ างเป็ นผู้ขนส่งโดยความ
รับผิดชอบนี ้ยังรวมไปถึงบุคคลภายนอก ซึง่ เป็ นบุคคลที่สาม
27
ลักษณะของผู้ให้ บริการในงานโลจิสติกส์
• In house logistics service คือการขนส่งสินค้ าโดย
หน่วยงานภายในองค์กร เป็ นผู้ดาเนินการเอง
• Outsourcing logistics service เป็ นการจัดจ้ างกลุม่
บุคคลหรื อบุคคลหรื อธุรกิจภายนอกให้ เป็ นผู้บริการด้ าน
การขนส่งสินค้ า ในฐานะเป็ นมืออาชีพด้ านการขนส่ง
(Professional logistics Service Provider)
28
ประเภทของผู้ให้ บริการโลจิสติกส์
• Freight Asset carrier ผู้ให้ บริการขนส่ง ซึง่ มีพาหนะเป็ นของตนเอง
• Non Asset carrier ผู้ให้ บริการขนส่งซึง่ ไม่มีพาหนะเป็ นของตนเองจะ
ทาหน้ าที่เป็ นผู้ให้ บริการในการจัดการขนส่ง ในฐานะเป็ นตัวแทนรับ
จัดการขนส่งที่เป็ น Transport Integrated Services
• MTO : Multimodal Transport Operators เป็ นผู้ให้ บริการขนส่ง
ซึง่ มีลกั ษณะผสมผสาน Asset Carrier และ Non Asset Carrier
• International Freight Forwarders เป็ นผู้ให้ บริการขนส่ง ซึง่ จะมี
ลักษณะการขนส่งระหว่างประเทศจัดเป็ นผู้ให้ บริการประเภท Non
Asset
• Freight Brokerage ผู้ให้ บริการขนส่งในฐานะเป็ นตัวกลางระหว่าง
29
ผู้สง่ สินค้ าและผู้ให้ บริการ ประเภทที่มี Asset Carrier
Liability of Outsources Provider
ความรั บผิดชอบของผู้ให้ บริการภายนอก
• Damage and lost Liability เป็ นการรับผิดชอบ การชดใช้ ตอ่ ความ
•
•
เสียหายทังบางส่
้
วนหรื อทังหมด
้
ซึง่ เกิดจากความเสียหายซึง่ เกิดขึ ้นภายใต้ ความ
รับผิดชอบของ Freight Logistics Service Provider
Value Responsibility คือความรับผิดชอบของผู้ให้ บริการขนส่งต่อความ
เสียหายที่อาจเกิดจากพนักงานขับรถ หรื อนายเรื อ , กัปตัน , ไต้ ก๋งเรื อหรื อผู้
ควบคุมพาหนะขนส่ง , อุปกรณ์เคลื่อนย้ ายสินค้ าทังที
้ ่เคลื่อนที่ได้ และเคลื่อนที่
ไม่ได้ ซึง่ ก่อให้ เกิดความเสียหายต่อสินค้ าและความเสียหายต่างๆทีเ่ กิดขึ ้น
Scope of Liability ขอบข่ายความรับผิดชอบของผู้ประกอบการขนส่ง
หมายถึง ความเสียหายซึง่ ก่อให้ เกิดความเสียหาย กับตัวสินค้ าและส่วนประกอบ
ที่ติดมากับตัวสินค้ า รวมถึงความเสียหายกับลูกค้ า หรื อกับบุคคลภายนอก หรื อ
กับสาธารณะ
30
Liability of Outsources Provider
ความรั บผิดชอบของผู้ให้ บริการภายนอก
• Intermode liability ความรับผิดชอบที่ผ้ ใู ห้ บริ การขนส่งซึง่ อาจ
มีการว่าจ้ าง Sub contact มาเป็ นผู้ให้ บริ การรับช่วงหรื อ
ลักษณะการขนส่งสินค้ า แบบต่อเนื่องหลายรูปแบบ (Multi
Model Transport Operator)
• Just in time liability เป็ นข้ อตกลงในการที่ผ้ ใู ห้ บริ การขนส่ง
จะต้ องชดเชย หรื อชดใช้ ความเสียหาย อันเกิดจากการไม่
สามารถส่งสินค้ าถึงสถานที่และตามเงื่อนเวลา ซึง่ ได้ มีการตกลง
กัน
31
หลักการที่สาคัญในการบริหารจัดการผูใ้ ห้บริการ
ภายนอก
• Cost and Outcome Efficiency การควบคุมประสิทธิภาพทัง้ ในด้านต้นทุน
และผลลัพธ์ของงาน จึงจะต้องจัดให้มรี ะบบการตรวจสอบ ผลการดาเนินการ
อย่างเป็ นระบบ
• Key Performance Indicator โดยให้มเี ครือ่ งมือชีว้ ดั ทัง้ ในด้านทีเ่ ป็ น
พารามิเตอร์
• Just in Time Monitor โดยการให้นาระบบการติดตามงานทางอิเล็กทรอนิกส์
ทีเ่ รียกว่า Electronic Tracking
• ERP : Enterprise Resource Planning การนาระบบโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ
นามาใช้เชื่อมโยงบูรณาการข้อมูลข่าวสารกับผูใ้ ห้บริการภายนอก
• Parameter Performance Evaluate การประเมินผลการทางานของผู้
ให้บริการอย่างต่อเนื่อง
• Chain Collabolate การร่วมมือและประสานงานในฐานะเป็ นหุน้ ส่วนธุรกิจกับผู้
ให้บริการภายนอกเป็ นหัวใจของการบริหาร Outsources Management
32
การประสานงานและควบคุมผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์
• ต้องมีระบบการจัดการที่เกี่ยวข้องกับการประสานงานและควบคุมผูใ้ ห้
บริการให้สามารถขับเคลื่อนปฏิสมั พันธ์ทงั ้ ในระดับภายในองค์กรของผู้
ให้บริการ (Service Provider)
• การจัดการ ติดตาม และควบคุม เพื่อให้ผใ้ ู ห้บริการภายนอกสามารถ
เชื่อมโยงข้อมูลข่าวสาร และทางานภายใต้ความสัมพันธ์ที่ดีตอ่ ผู้
ให้บริการของบริษทั คู่ค้า หรือลูกค้าในโซ่อปุ ทาน
• การจัดการความสัมพันธ์ตรงรอยต่อของกิจกรรมการให้บริการระหว่าง
กันของผูใ้ ห้บริการภายนอก จะเป็ นเรื่องที่มีความยุ่งยากและซับซ้อน
เพราะจะเกี่ยวข้องกับต้นทุนและความรับผิดชอบ
• เป็ นหน้ าที่ขององค์กรธุรกิจจะต้องจัดให้มีหน่ วยงานสาหรับรับผิดชอบใน
การบริหารความสัมพันธ์ของผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ เพราะในช่องว่างใน
รอยต่อของการให้บริการซึ่งเป็ นสุญญากาศจะเกี่ยวข้องกับความ
33
รับผิดชอบของผูร้ บั สินค้าและผูส้ ่งสินค้า
ปัจจัยแห่งการประสบความสาเร็จในการลดต้นทุนโลจิสติกส์ด้วย
การใช้บริการจากผูใ้ ห้บริการที่เป็ น Logistics Services
• อยู่ที่ความสามารถของบริษทั ในการบริหารคนในองค์กรของตนเองให้
เข้าใจถึงความร่วมมือในการทางานร่วมกับผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ในฐานะ
เป็ นหุ้นส่วนธุรกิจไม่ใช่ค่แู ข่ง
• ต้องมีกระบวนการในการจัดทายุทธศาสตร์ การสร้างโซ่แห่งคุณค่า ด้วย
การนาผูใ้ ห้บริการภายนอกเข้ามาอยู่ในกระบวนการจัดการของบริษทั ใน
ฐานะที่เป็ นหุ้นส่วนทางธุกิจไม่ใช่ในฐานะกิจการรับจ้าง
• ต้องเริ่มที่การปรับเปลี่ยนทัศนคติทงั ้ ของพนักงาน และการปรับเปลี่ยน
วัฒนธรรมองค์กร (Organization Culture) ด้วยการใช้ผใ้ ู ห้บริการ
ภายนอกให้เกิดประสิทธิภาพได้อย่างจริงจัง จะต้องเริ่มด้วยการปรับ
ทัศนะคติของคนในองค์กรให้ได้เสียก่อน โดยเฉพาะในประเด็น “ผู้
ให้บริการภายนอกควรได้รบั การปฏิบตั ิ ในฐานะเป็ นเพื่อนร่วมงานและ
พันธมิตรทางธุรกิจ
34
Outsources in Supply Chain
JIT Delivery
Buy
Supplier
(Seller)
A
Logistics
Activities
Outsourcing
Sale
Customer
(Buyer)
C
JIT Delivery
Buy
Manufacturer
B
Sale
สั ดส่ วนของการขนส่ งสิ นค้ าระหว่ างประเทศในแต่ ละ
ประเภทของการขนส่ ง
ทางบก, 5.91%
ทางอากาศ,
0.49%
ทางทะเล,
93.60%
36
การประหยัดต้นทุนจากการใช้บริการของผู้
ให้บริการโลจิสติกส์
Cost Utilize การกระจายต้นทุน
Economies of scope การประหยัดจากการขยายขอบเขต
งาน
Expertise Services Value การประหยัดจากความ สามารถ
และความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของผูใ้ ห้บริการภายนอก
Logistics Network การประหยัดจากการใช้เครือข่ายร่วมกัน
37
Economy of scope
การใช้บริการจากผูใ้ ห้บริการภายนอก จะสามารถลด
ต้นทุนโลจิสติกส์ได้ถึงร้อยละ 15 เหตุผลสาคัญก็เกิดจากการ
กระจายต้นทุน (Cost Sharing)
ก่อให้เกิดการขยายปริมาณการให้บริการ และเป็ นการเพิ่ม
ความสามารถในการให้บริการ โลจิสติกส์ในพืน้ ที่ไม่
สามารถเข้าไปดาเนินการได้เองอย่างมีประสิทธิภาพ
38
สั ดส่ วนค่ าใช้ จ่ายทีเ่ พิม่ ขึน้ ของการจ้ างผู้ให้ บริการ
ภายนอกของประเทศสหรัฐอเมริกา
35%
30%
25%
20%
USA
15%
10%
5%
0%
1999 2000 2001 2002 2003
39
How to selection Outsourcing Logistics Service
การเลือกใช้ผใ้ ู ห้บริการโลจิสติกส์
การจะพิจารณาคุณสมบัติของผูใ้ ห้บริการให้เหมาะสมกับแต่ละธุรกิจ ไม่จาเป็ น
จะต้องมีรปู แบบที่เหมือนกันหรือเป็ นกฎเกณฑ์ตายตัว แต่จะต้องมีการ
ปรับเปลี่ยนใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะของโครงสร้างธุรกิจ วัฒนธรรมของ
องค์กร รวมทัง้ ทักษะบุคลากร และลักษณะของธุรกิจ
สาหรับธุรกิจซึ่งไม่เคยนาระบบการจัดการที่มีผ้ใู ห้บริการภายนอกเข้ามาใช้ใน
กิจการก็ควรจะต้องเริ่มด้วยการปรับปรุงระบบการจัดการภายใน โดยการ
แบ่งแยก ซอยหน่ วยงาน ทาผังการจัดการที่ชดั เจน (Organization Chart)
การทาการเข้าใจกับพนักงานของตนเอง ที่สาคัญจะต้องมีการเรียนรู้ทกั ษะการ
ทางานร่วมกับผูใ้ ห้บริการภายนอก ในฐานะเป็ นผูร้ ่วมงานไม่ใช่เป็ นคู่แข่งหรือ
ศัตรู
มีการจัดลาดับการดาเนินการก่อนและหลังในการเตรียมองค์กรไปสู่การจัดการ
ที่มี Logistics Outsourcing Service โดยพืน้ ฐานแล้วส่วนใหญ่จะได้รบั แรง
กดดันและต่อต้านจากพนักงาน ซึ่งมีทงั ้ แบบเปิดเผยและแบบคลื่นใต้น้า
40
How to selection Outsourcing Logistics Service
การเลือกใช้ผใ้ ู ห้บริการโลจิสติกส์
ผูบ้ ริหารต้องมีความสามารถในการแยกแยะว่าเป็ นปัญหามาจากการไม่เข้าใจ
หรือเป็ นผลประโยชน์ ส่วนตัวแอบแฝงหรือคอรัปชันที
่ ่เคยได้จากงานที่ทา
มีการหารือเกี่ยวกับเป้ าหมายของการนาระบบผูใ้ ห้บริการภายนอกมาใช้ใน
องค์กร ซึ่งควรจะเริ่มจาก TOP Management หรือระดับหุ้นส่วนให้เข้าใจตรงกัน
โดยจะต้องมีการกาหนดเป็ นนโยบายของบริษทั ฯ (Company Policy)
ความสาเร็จของการใช้ผใู้ ห้บริการภายนอกมาใช้ในองค์กรจะต้องมีการ
ปรับเปลี่ยน Job Description กันใหม่ โดยจะต้องมีการตกลงกันให้มีความ
ขัดแย้งน้ อยที่สดุ โดยเฉพาะในการที่จะคัดเลือกหน่ วยงานใดหรือกิจกรรมใดที่
ควรจะเก็บไว้ในองค์กร (Keep in house Logistics) และกิจการใดที่จะมีการ
มอบหมายให้ผใู้ ห้บริการโลจิสติกส์ภายนอก
41
ทิศทางการใช้บริการของผูใ้ ห้บริการภายนอก
(Outsourcing Service)
รู ปแบบเก่า
Management Vision
Company Policy
Mission
Action
รู ปแบบปัจจุบนั
รู ปแบบอนาคต
Push
Idea
Pull
Idea
Gain
Win/Win
Production Center
Customers
Center
Chain
Collaborate
High
Inventory
Low
Inventory
High
Own Transport
Own Warehouse
Own People
Low
Zero Stock Management
High
Outsouces Service
42
Outsources Service Classify
ประเภทของผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์
Asset Logistics Service Provider เป็นผูป้ ระกอบการทีม่ ที รัพย์สนิ ที่
เป็ นสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ทเ่ี ป็ นคลังสินค้า , อุปกรณ์ยก-ขน พาหนะ
สาหรับขนส่งของตนเอง
Non Asset Logistics Service Provider ผูป้ ระกอบการทีไ่ ม่มี
ทรัพย์สนิ เป็ นของตนเอง เป็ นผูใ้ ห้บริการในการเช่าช่วง คลังสินค้าหรือศูนย์กระจาย
สินค้า หรือเป็ นผูร้ บั จัดการขนส่งประเภททีเ่ รียกว่า Freight Provider
Fourth Party Logistics (4PL) เป็นผูใ้ ห้บริการประเภทไม่มที รัพย์สนิ แต่
คุณลักษณะสาคัญแล้วผูป้ ระกอบการประเภท จะใช้วธิ ใี นการเช่าช่วงทรัพย์สนิ มา
บริหารจัดการเองและเสนอบริการให้กบั ผูผ้ ลิตในฐานะเป็ นผูใ้ ห้บริการหลัก
43
Outsources Service Classify
ประเภทของผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์
Integrated Logistics Service Provider เป็น
ลักษณะการให้บริการแบบเบ็ดเสร็จในงานทีเ่ กีย่ วกับการ
ให้บริการโลจิสติกส์ โดยมีการผสมผสานทัง้ แบบ Asset และ
Non Asset มาเป็ นผูใ้ ห้บริการ เช่น ในส่วนทีเ่ ป็ นคลังสินค้า อาจ
เป็ นของตนเอง แต่ในส่วนขนส่งก็จะใช้การเช่าช่วงจาก
ผูป้ ระกอบการรถบรรทุก ในบางตารากล่าวว่าผูใ้ ห้บริการ
ประเภท Fourth Party Logistics Service Provider (4PL)
MTO : Multimodal Transport Operation เป็ น
ผูใ้ ห้บริการการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ซึง่ มีรปู แบบการใช้
พาหนะตัง้ แต่ 2 ประเภทขึน้ ไป โดยทาหน้าทีใ่ ห้บริการแบบ
Door to Door Service ซึง่ อาจต้องขนส่งด้วยพาหนะมากกว่า 1
ประเภท
44
How to selective outsources service
กระบวนการในการคัดสรรเลือกผูใ้ ห้บริการภายนอก
Company Profile
Business Policy
Business Performance
Reputation and law Compliance
Network and Status
Core Business
Competition Advantage
Management Team
Efficiency of Customers Service
Equipment & Technology
45
Outsourcing Contract Management
การทาสัญญาข้อตกลงการใช้บริการจากผูใ้ ห้บริการ
ภายนอก
Contract หรือสัญญาข้อตกลงที่ดี จะต้องตัง้ มันในลั
่
กษณะที่เป็ น
พันธมิตร หรือ Business Partner การเริ่มต้นธุรกิจด้วยข้อตกลงที่ไม่
เป็ นธรรม เอาประโยชน์ แต่ฝ่ายเดียว เป็ นการเริ่มต้นธุรกิจทีไ่ ม่มี
มูลค่าเพิ่มทางโลจิสติกส์
ข้อตกลงหรือสัญญาระยะยาวก็อาจส่งผลต่อความไม่ยืดหยุ่นของการ
ปรับเปลี่ยนผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ที่ไม่อาจสนองตอบต่อความ
ต้องการธุรกิจ ขณะเดียวกันข้อตกลงหรือ Contract ที่มีระยะสัน้
เกินไป ก่อให้เกิดความไม่เสถียรหรือความไม่มนคงต่
ั่
อทัง้ การลงทุน
และการให้บริการ
46
Services Monitor
ความสามารถในการปฏิบตั ติ ามแผนงานซึง่ กาหนดไว้โดยวัดจาก
Permanance Index
ประสิทธิภาพของการจัดส่งสินค้า โดยวัดจาก Just in Time Index
ความร่วมมือและการสนองตอบต่อการให้บริการทีเ่ ป็ น Responsiveness
Index
การแก้ปญั หาร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ โดยวัดจากความพึงพอใจต่อ
การใช้บริการ ECR Index
การชดใช้คา่ เสียหายจากความผิดพลาดในงานโดยวัดจาก Claim Index
มีการพัฒนาองค์กร , บุคลากร , เทคโนโลยีสารสนเทศให้สามารถรองรับ
กับการเติบโตขององค์กรในอนาคต โดยวัดจาก Capacity Building Index
เช่น การฝึกอบรมและวิธกี ารพัฒนาองค์กรของผูใ้ ห้บริการ
47
องค์กรต้องเตรี ยมให้ความรู ้
สร้างความเข้าใจ
และทาการเปรี ยบเทียบผลดีและ
ผลเสี ยให้ชดั เจน
48
Outsourcing
Pros
• ช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายองค์กร
Cons
• ประสิ ทธิ ภาพในการทางานไม่คงที่
• กระแสเงินหมุนเวียนในองค์กรมีสภาพ • เนื่องจากจะมีการเปลี่ยนชุดทางานบ่อย
คล่องตัวมากขึ้น
อาจทาให้ขาดทักษะ ความชานาญ
ต่อเนื่องในระบบการดาเนินงาน
• เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
• สะดวก , รวดเร็ ว
• ความผูกพันต่อองค์กรน้อย
• เกิดช่องว่างความขัดแย้งในการทางาน
• สามารถควบคุมการดาเนินงานให้ต่าลง ร่ วมกันระหว่างพนักงานขององค์กรกับ
พนักงานที่วา่ จ้าง
• ประหยัด
• อาจทาให้เสี ยลูกค้า
49
Outsourcing
Pros
• องค์กรสามารถขยายธุรกิจในการใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่ ก่อให้เกิด
Business Line เพิ่มขึ้น
• องค์กรสามารถผลักภาระการลงทุน
ด้านเทคโนโลยีต่างๆ
Cons
• กระบวนการสรรหา คัดเลือก บุคลากร
ของบริ ษทั ที่ Outsource จ้างเข้า
มาในบางครั้ง ขาดคุณสมบัติ คุณภาพ
ต่ากว่ามาตรฐาน
• เกิดความไม่ชดั เจนระหว่างกิจกรรม
หลักกับกิจกรรมเสริ ม ทาให้ส่งผลต่อ
• องค์กรผลักภาระความเสี่ ยงต่างๆไปยัง
ความสามารถหลักในการแข่งขัน
บริ ษทั ที่วา่ จ้างได้
• องค์กรไม่ตอ้ งกังวลกับความสัมพันธ์ • ปั ญหากับบุคลากรประจาที่มี
ผลกระทบจากการใช้
ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง
50
Outsource
ประโยชน์ ทไี่ ด้ จากการใช้ Outsource โลจิสติกส์
1. ลด ระยะเวลาในการขนส่ งและส่ งมอบสิ นค้าตรงเวลา
2. ลด ต้นทุนโลจิสติกส์ท้ งั ด้านสิ นค้าคงคลังและค่าขนส่ ง
สิ นค้า โดยเฉพาะในสภาวะต้นทุนน้ ามันสู ง
3. ลด การสูญเสี ยโอกาสจากการเสี ยลูกค้า
4. เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันในระดับสากล
5. เพิม่ ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลในการเข้าถึงตลาด
6. เพิม่ ลูกค้าและกาไรอย่างยัง่ ยืนให้กบั ธุรกิจ
51
เหตุผลที่การใช้ Outsources ในองค์กรล้มเหลว
• Organization & culture structure. โครงสร้างและวัฒนธรรมขององค์กรที่
ไม่เอื้ออานวย / มีการต่อต้าน ทัง้ บนดินและใต้ดิน
• Communication fail build resistance. การสื่อสารที่ไม่ดี
• Used package management. ใช้ระบบการจัดการเบ็ดเสร็จ
• Non flexible personal. ไม่ยืดหยุ่น / มีทฤษฎีแต่ปฏิบตั ิ ไม่ได้
• Too many change in a short time. สังงานรวนเร
่
• Lack of top management support. ขาดการสนับสนุนจากผูบ้ ริหาร /
ผลประโยชน์ ทบั ซ้อน
• Lack of skill training. ขาดทักษะการอบรมเชิงยุทธ
52
เคล็ดลับสาหรับการ Outsourcing
1. ต้องแยกให้ออกและชัดเจนว่ากิจกรรมส่ วนใดเป็ นกิจกรรมหลักของ
องค์กร และกิจกรรมส่ วนใดเป็ นกิจกรรมเสริ ม
2. ต้องวิเคราะห์ตน้ ทุนให้ชดั เจนระหว่าง Make or Buy
3. ต้องเลือก Outsource ที่มีคุณภาพเป็ นบริ ษทั ที่น่าเชื่อถือ
4. ต้องคานึงถึงผลกระทบต่อกระบวนการใน Value Chain ใน
การส่ งมอบคุณค่าแก่ลูกค้าของท่าน
53
END
54
TANIT SORAT