การผลิตสับปะรดและการดูแลรักษา ทวีศักดิ์ แสงอุม สถาบันวิจัยพืชสวน

Download Report

Transcript การผลิตสับปะรดและการดูแลรักษา ทวีศักดิ์ แสงอุม สถาบันวิจัยพืชสวน

การผลิตสั บปะรดและการดูแลรักษา
ทวีศักดิ์ แสงอุดม
สถาบันวิจัยพืชสวน
ในโครงการการจัดการความรู้ เรื่อง เทคโนโลยีการผลิตสั บปะรดผลสดเพือ่ การค้ าในพืน้ ที่ภาคใต้ ตอนล่ าง
สานักวิจัยและพัฒนาการเษตรเขตที่ ๘
ณ โรงแรมเอเซี่ยนหาดใหญ่ อาเภอหาดใหญ่ จ. สงขลา
วันที่ ๒๓ สิ งหาคม ๒๕๕๔
หัวข้ อการนาเสนอ
 สถานการณ์ การผลิตสั บปะรดของโลกและของไทย
 ประเด็นปัญหา
 ยุทธศาสตร์ สับปะรดแห่ งชาติปี 2553-2557
 ชุ ดโครงการวิจยั สั บปะรดกรมวิชาการเกษตร ปี
 การผลิตสั บปะรดของไทย
2554-2558
สถานการณ์ การผลิตสั บปะรดของโลกและของไทย
 ความสาคัญ
- ปัจจุบันสั บปะรดเป็ นผลไม้ เมืองร้ อนทีม่ ีส่วนแบ่ ง 25%
ของปริมาณผลผลิตผลไม้ เมืองร้ อนของโลก
- ประเทศไทยเป็ นผู้ส่งออกสั บปะรดอันดับหนึ่งของโลก
พืน้ ที่เก็บเกีย่ วสั บปะรดของประเทศสาคัญ ปี 2546-2550
ประเทศ
ปี 2546
ปี 2547
ปี 2548
ปี 2549
ปี 2550
อินโดนีเซีย
406
406
525
813
875
24.98
ไนจีเรีย
725
725
728
731
734
0.33
ไทย
509
556
614
632
590
4.33
บราซิล
362
370
386
418
404
3.47
จีน
390
384
389
399
344
-2.10
ฟิ ลิปปิ นส์
298
301
308
311
313
1.32
ประเทศอืน่ ๆ
2,438
2,413
2,537
2,639
2,638
2.50
รวม
5,128
5,155
5,487
5,943
5,898
4.31
ที่มา: FAO 2008
หน่ วย : พันไร่
อัตราเพิม่ (%)
ผลผลิตสั บปะรดของประเทศทีส่ าคัญ ปี 2546-2550
ประเทศ
ปี 2546
ปี 2547
ปี 2548
ปี 2549
ปี 2550
อัตราเพิม่ (%)
บราซิล
2.16
2.22
2.92
2.56
2.67
5.83
ไทย
1.90
2.10
2.18
2.71
2.19
5.54
ฟิ ลิปปิ นส์
อินโดนีเซีย
1.70
1.76
1.79
1.83
1.90
2.65
0.68
0.68
0.93
1.43
1.50
25.64
จีน
1.27
1.27
1.29
1.39
0.93
-5.19
เคนยา
0.40
0.60
0.60
0.60
0.61
8.81
ประเทศอืน่ ๆ
8.03
8.05
8.14
8.52
8.56
1.86
รวม
16.14
16.71
17.85
19.04
18.36
3.96
ที่มา: FAO 2008
หน่ วย : ล้ านตัน
ผลผลิต/ไร่ ของประเทศที่สาคัญ ปี 2546-2550
ประเทศ
ปี 2546
ปี 2547
ปี 2548
ปี 2549
ปี 2550
อัตราเพิม่ (%)
เคนยา
5.37
7.11
7.11
7.11
7.07
5.64
เม็กซิโก
6.44
6.80
5.79
6.86
6.77
1.10
บราซิล
5.96
5.99
5.94
6.13
6.60
2.30
ฟิ ลิปปิ นส์
5.70
5.84
5.81
5.89
6.08
1.39
ไทย
3.73
3.78
3.56
4.28
3.37
1.09
จีน
3.25
3.30
3.32
3.48
2.69
-3.20
อินโดนีเซีย
1.67
1.75
1.76
1.76
1.71
0.62
โลก
3.15
3.24
3.25
3.20
3.11
-0.34
ที่มา: FAO 2008
หน่ วย : ตัน
การผลิตสับปะรดของไทยปี 2553
พืน้ ทีป่ ลูก 601,090 ไร่
 พืน
้ ทีเ่ ก็บเกีย่ ว 583,200 ไร่
 ผลผลิต 1,924,659 ตัน
 ผลผลิต/ไร่ 3.39 ตัน
 ร้ อยละ 26 บริโภคสดภายในประเทศ ร้ อยละ 4 ส่ งออกผลสด
ร้ อยละ 70 ใช้ ป้อนโรงงานแปรรูป
 แหล่ งปลูกสาคัญ 13 จังหวัด ประจวบฯ ระยอง เพชรบุรี ชลบุรี กาญจนบุรี
ราชบุรี อุทยั ธานี ชุ มพร ตราด หนองคาย ลาปาง นครพนม ฉะเชิงเทรา

สถานการณ์ดา้ นราคา
สั บปะรดโรงงาน ในช่ วง 5 ปี (2548-2552) ราคาที่เกษตรกรขายได้ เพิม่ ขึน้
จาก 3.69 บาท/กก. ในปี 2548 เป็ น 4.70 บาท/กก. ในปี 2552 และ 5.51
บาท/กก.ในปี 2553
 สั บปะรดบริโภคสด ในช่ วง 5 ปี (2548-2552) ราคาที่เกษตรกรขายได้
เพิม่ ขึน้ เฉลีย่ /ปี 9.73 คือเพิม่ ขึน้ จาก กก..ละ 5.08 บาท/กก. ในปี 2548
เป็ น 6.50 บาท/กก. ในปี 2552 และ 7.70บาท/กก.ในปี 2553

ประเด็นปัญหา
ภาคการผลิต
 ขาดพันธุ์สับปะรดทีใ่ ห้ ผลผลิตสู ง คุณภาพดีและทนทานต่ อโรค
 การระบาดของโรคเหี่ยว
 ขาดแคลนแรงงาน
 ต้ นทุนการผลิตสู ง
 พืน
้ ทีป่ ลูกลดลงเนื่องจากการปรับเปลีย่ นพืชปลูก
ภาคการตลาด
 การตลาดขาดความสมดุลกับการผลิต บางปี ผลผลิตมากราคาตา่
 ขาดความร่ วมมือระหว่ างผู้ประกอบการและผู้ส่งออก
มีการขายตัดราคากันเอง
 การทาสั ญญาซื้อขายล่ วงหน้ าระหว่ างเกษตรกรและโรงงาน
ยังไม่ เกิดขึน้ อย่ างแท้ จริง
 เกษตรกรรายย่ อยขาดอานาจการต่ อรอง
 ระบบการเผยแพร่ ข้อมูลข่ าวสารด้ านการผลิตและการตลาดไม่ ทวั่ ถึง
 การกาหนดราคาและมาตรฐานการรับซื้อสั บปะรดสดไม่ แน่ นอน
ด้ านการแปรรู ป
 ปริมาณผลผลิตป้อนโรงงานแต่ ละเดือนไม่ แน่ นอน
 ขาดแคลนแรงงาน
 ภาวะค่ าเงินบาทแข็งตัว ทาให้ สินค้ าราคาแพง
 ผู้ประกอบการแปรรู ปบางรายไม่ สามารถผลิตสิ นค้ าคุณภาพสูงได้
ด้ านการจัดการ
 ขาดหน่ วยงานในการประสานการดาเนินงานระหว่ างภารัฐ
เกษตรกรและภาคเอกชน
ยุทธศาสตร์ สับปะรดแห่ งชาติปี 2553-2557

คณะรัฐมนตรีได้ มีมติเห็นชอบในหลักการยุทธศาสตร์ สับปะรด
ปี 2553-2557 เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2553
วิสัยทัศน์
ประเทศไทยรักษาความเป็ นผู้นาอันดับหนึ่งในการผลิตการส่ งออก
สั บปะรดและผลิตภัณฑ์ สับปะรดทีม่ ีคุณภาพ และได้ มาตรฐาน

พันธกิจ
พัฒนาเทคโนโลยีการปลูกสั บปะรด
 พัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรผู้ปลูกสั บปะรด
 เพิม
่ ประสิ ทธิภาพการผลิตสั บปะรด ทั้งสั บปะรดสดและสั บปะรดแปรรูป
 สร้ างเครือข่ ายเชื่ อมโยงทีเ่ ข้ มแข็งระหว่ างเกษตรกร โรงงานแปรรู ปสั บปะรด
และส่ วนราชการ
 ส่ งเสริมการใช้ ประโยชน์ จากสั บปะรด
 พัฒนาระบบข้ อมูลสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้ องกับสั บปะรด

เป้ าหมาย
1 การผลิต
1) รักษาระดับพืน้ ที่ให้ ผลผลิตสั บปะรดในเขตเกษตรเศรษฐกิจ
สาหรับสั บปะรดไม่ ให้ เกิน 6 แสนไร่ ต่อปี
2) เพิม่ ผลผลิตเฉลีย่ ต่ อไร่ จาก 3.9 ตัน ในปี 2551 เป็ น 6 ตัน
ในปี 2557
3) เพิม่ ผลผลิตรวมจาก 2.3 ล้ านตัน ในปี 2551
เป็ น 3.0 ล้ านตัน ในปี 2557
2 การใช้ ในประเทศ
1) เพิม่ การบริโภคสั บปะรดภายในประเทศจาก 0.25 ล้านตัน ในปี 2551
เป็ น 0.60 ล้านตัน ในปี 2557
2) เพิม่ ความต้ องการใช้ สับปะรดเพือ่ การแปรรูปจาก 1.55 ล้านตัน ในปี
2551 เป็ น 2.40 ล้านตัน ในปี 2557
3 การส่ งออก
1) เพิม่ มูลค่ าส่ งออกสั บปะรดสดจากประมาณ 45 ล้านบาท ในปี 2551
เป็ น 110 ล้านบาท ในปี 2557
2) เพิม่ มูลค่ าส่ งออกสั บปะรดแปรรูปจากประมาณ 25,945 ล้านบาท
ในปี 2551เป็ น 30,000 ล้านบาท ในปี 2557
1 ยุทธศาสตร์ ด้านการผลิต
1 ส่ งเสริมการปลูกสั บปะรดในพืน้ ทีท่ เี่ หมาะสม
1) กาหนดเขตเกษตรเศรษฐกิจสาหรับปลูกสั บปะรด
2) จดทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกสั บปะรด
3) ตรวจวิเคราะห์ ดินและนา้ ในพืน้ ทีป่ ลูกสั บปะรด
2 พัฒนาความรู้ ความสามารถเรื่องสั บปะรดแก่ เกษตรกรผู้ปลูกสั บปะรด
1) ฝึ กอบรมเกษตรกรหลักสู ตรการปลูกสั บปะรดตามระบบ GAP
2) จัดทาแปลงสาธิตการปลูกสั บปะรดตามระบบ GAP
3) จัดทัศนศึกษาดูงาน การผลิต การแปรรูป และการตลาดสั บปะรด
4) จัดทาสื่ อประชาสั มพันธ์ ความรู้เรื่องสั บปะรด
3 ป้องกันการแพร่ กระจายของโรคและแมลงเกีย่ วกับสั บปะรด
1) รณรงค์ ให้ ความรู้ เรื่องโรคและแมลงเกีย่ วกับสั บปะรดแก่ เกษตรกรผ่ านสื่ อต่ าง ๆ
2) ฝึ กอบรมเกษตรกร เรื่องโรคและแมลงเกีย่ วกับสั บปะรด และการป้องกัน
3) จัดทาแปลงสาธิตการป้องกันโรคและแมลงเกีย่ วกับสั บปะรด
4) ตรวจเชื้อโรคและแมลงเกีย่ วกับสั บปะรด และผลิตต้ นแม่ พนั ธุ์ปลอดโรค
ภายใต้ การเพาะเลีย้ งเนือ้ เยือ่
4 เพิม่ ประสิ ทธิภาพการให้ นา้ สั บปะรด
1) จัดทาแปลงสาธิตระบบนา้ ในแปลงสั บปะรด
2) ฝึ กอบรมให้ ความรู้ เรื่องระบบการให้ นา้ ในสั บปะรดแก่ เกษตรกร
3) สนับสนุนแหล่ งนา้ ขนาดเล็ก และชลประทานระบบท่ อในแหล่ งปลูกสั บปะรด
5 พัฒนาสถาบันเกษตรกรให้ มีความเข้ มแข็ง
6 สร้ างและพัฒนาเครือข่ ายเชื่อมโยงระหว่ างกลุ่มหรือ
สถาบันเกษตรกรผู้ปลูกสั บปะรด
7 วิจยั และพัฒนาการผลิตสั บปะรด
1) วิจยั และพัฒนาพันธุ์สับปะรดปลอดโรค และให้ ผลผลิตสู ง
รวมทั้งแจกจ่ ายแก่ เกษตรกรอย่ างทัว่ ถึง
2) การเขตกรรมการจัดการดินตามค่ าวิเคราะห์ สาหรับสั บปะรด
3) การป้องกันโรคเหี่ยวสั บปะรด
4) การปรับปรุงคุณภาพสั บปะรดโรงงานและสั บปะรดบริโภคสด
ส่ งออก
2 ยุทธศาสตร์ ด้านการแปรรู ป
2.1 พัฒนาโรงงานแปรรู ปสั บปะรดให้ เข้ มแข็ง
1) เพิม่ ศักยภาพการผลิตของโรงงานแปรรู ปสั บปะรดไทย
2) ปรับปรุ งระบบการผลิตและระบบประกันคุณภาพเพือ่ สนับสนุนการจัดการ
เครือข่ ายโซ่ อุปทานในอุตสาหกรรมสั บปะรดไทย
3) ยกระดับความปลอดภัยในการผลิตสั บปะรดกระป๋ อง
4) พัฒนาศักยภาพห้ องปฏิบัติการทดสอบสั บปะรดและผลิตภัณฑ์ เพือ่ การส่ งออก
2.2 วิจัยและพัฒนาการแปรรู ปสั บปะรด
1) ผลิตภัณฑ์ ใหม่ ๆ จากสั บปะรด
2) การบรรจุภัณฑ์
3) การสร้ างมูลค่ าเพิม่ ให้ กบั ผลิตภัณฑ์ ฯ
3 ยุทธศาสตร์ ด้านตลาด
1 เพิม่ ปริมาณและมูลค่ าการบริโภคสั บปะรดสดในประเทศ
2 เพิม่ ปริมาณและมูลค่ าการบริโภคผลิตภัณฑ์ สับปะรดในประเทศ
3 เพิม่ ปริมาณและมูลค่ าการส่ งออกสั บปะรดสดและผลิตภัณฑ์
4 วิจัยตลาดสั บปะรดสดและผลิตภัณฑ์
1) วิจยั ตลาดสับปะรดสดในประเทศและต่างประเทศ
2) วิจยั ตลาดผลิตภัณฑ์สบั ปะรดในประเทศและต่างประเทศ
3) วิจยั พัฒนาระบบ Logistic ที่มีประสิ ทธิภาพ
4 ยุทธศาสตร์ ด้านบริหารจัดการ
1 เพิม่ ประสิ ทธิภาพการบริหารจัดการเรื่องสั บปะรด
ทั้งระบบ
2 พัฒนาเจ้ าหน้ าทีส่ ่ งเสริมการเกษตร
3 เชื่อมโยงเครือข่ ายระหว่ างสถาบันเกษตรกรกับโรงงาน
แปรรู ปสั บปะรด
ชุดโครงการวิจัยสั บปะรดกรมวิชาการเกษตร
ปี 2554-2558
1.ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาสั บปะรด
- โครงการวิจยั การปรับปรุงพันธุ์สับปะรด
- โครงการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพือ่ เพิม่ ประสิ ทธิภาพ
การผลิตสั บปะรด
- โครงการวิจยั การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตสั บปะรด
ในพืน้ ที่เกษตรกร
ชุดโครงการวิจัยสั บปะรดกรมวิชาการเกษตร
ปี 2554-2558
2.ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาเครื่องจักรกลการเกษตร
สาหรับสั บปะรด
- โครงการวิจยั และพัฒนาเครื่องปลูกสั บปะรดแบบพ่วงท้ าย
รถแทรคเตอร์ ในระดับเกษตรกร
- โครงการวิจยั และพัฒนาเครื่องลาเลียงผลสั บปะรด
ชุดโครงการวิจัยสั บปะรดกรมวิชาการเกษตร
ปี 2554-2558
3.โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม
ในการผลิตสั บปะรดพันธุ์ตราดสี ทอง
การผลิตสั บปะรดของไทย
แหล่ งปลูกสาคัญ 13 จังหวัด
ประจวบฯ ระยอง เพชรบุรี ชลบุรี
กาญจนบุรี ราชบุรี อุทยั ธานี
ชุมพร ตราด หนองคาย ลาปาง
นครพนม ฉะเชิงเทรา

การปลูกสั บปะรดในพืน้ ทีต่ ่ างๆ
การผลิตสั บปะรดบริโภคสดเพือ่ การส่ งออก
- การส่ งออกสั บปะรดสดปี 2553
ปริมาณ 2,150 ตัน มูลค่ า 27.9 ล้ านบาท
- จากสถิตปิ ี 2549-2553 อัตราเพิม่ (%)
ปริมาณ – 20.75% มูลค่ า – 22.89 %
- พันธุ์สับปะรดของไทย: ปัตตาเวีย ตราดสี ทอง นางแล ภูแล
ตามความตกลงหุ้นส่ วนเศรษฐกิจไทย-ญีป่ ุ่ น(JTEPA) มีผลบังคับใช้ ต้งั แต่ 1
พฤศจิกายน 2550 โดยกาหนดโควตาส่ งออกสิ นค้ าสั บปะรดสด
นา้ หนักไม่ เกิน 900 กรัมปลอดภาษีไปญีป่ ุ่ น 5 ปี ดังนี้
ระยะเวลา
ปริมาณโควต้ าทีญ
่ ปี่ ุ่ นให้ ไทย (ตัน)
ปี ที่ 1 (1 พ.ย. 50 – 31 มี.ค. 51)
42
ปี ที่ 1 (1 เม.ย. 51 – 31 มี.ค. 52)
150
ปี ที่ 1 (1 เม.ย. 52 – 31 มี.ค. 53)
200
ปี ที่ 1 (1 เม.ย.53 – 31 มี.ค. 54)
250
ปี ที่ 1 (1 เม.ย. 54 เป็ นต้ นไป)
300
ประเด็นปัญหาการผลิตสับปะรดผลสดส่ งออก
อายุการเก็บรักษาสั้ น โดยจะเกิดอาการไส้ สีนา้ ตาลระหว่ างการเก็บรักษา
ภายใต้ สภาพอุณหภูมิตา่
 พันธุ์สับปะรดของไทยในปัจจุบันยังไม่ ทนทานต่ อกการเก็บรักษาดังกล่ าว
โดยเฉพาะในกลุ่ม Queen
 ขาดการพัฒนาพันธุ์
 ตลาดส่ งออกเดิมถูกมาเลเซียแทนที่ และทางมาเลเซียมีการพัฒนาพันธุ์มา
อย่ างต่ อเนื่องใช้ พนั ธุ์ N 36 และขณะนีม้ ีการใช้ พนั ธุ์ Tropical Gold หรือ
MD2 ซึ่งเป็ นพันธุ์ทที่ วั่ โลกให้ การยอมรับ(คุณศราวุธ เรืองเอีย่ ม)

ปัจจัยสาคัญในการผลิต
สั บปะรดผลสดพือ่ การ
ส่ งออก
- พันธุ์
- การจัดการก่อนการเก็บเกีย่ ว
- การจัดการหลังการเก็บเกีย่ ว
- ระยะเวลาในการขนส่ ง
ดัชนีมีการเก็บเกีย่ วผลสั บปะรด
1. นับอายุหลังการบังคับดอก ประมาณ 150-160 วัน
2. ลักษณะภายนอกของผล เช่ น
* สี ของเปลือกผล
* การสั งเกตก้านผลเมื่อสั บปะรดแก่ ก้านผลจะเหี่ยวเป็ นร่ องตามยาว
* ตาย่ อยของผลจะแบนราบ เรียกว่ าตาเต็ม ร่ องของตาย่ อยตึงเต็มที่
ใบเลีย้ งบนตาย่ อยเหี่ยว หรือเป็ นสี ชมพู
* กลีบเลีย้ งใต้ ผล เปลีย่ นจากสี เขียวเป็ นสี ส้มนา้ ตาล หรือเหี่ยวแห้ ง
* ใช้ มือดีด หรือใช้ ไม้ เคาะฟังเสี ยง จะทึบหรือแปะ
ดัชนีมีการเก็บเกีย่ วผลสั บปะรด
3. คุณสมบัตภิ ายในของผล
ผลสั บปะรดใกล้ แก่ จดั จะมีปริมาณของแข็งที่ละลายนา้ (Total
Soluble Solids) สู งเพิม่ กว่ าผลทีย่ งั ดิบ ปริมาณกรด (Total
Acidity) จะสู งสุ ดในระยะผลสุ ก 50% สาหรับสั บปะรดส่ งโรงงาน
สั บปะรดกระป๋ องควรมีความหวาน 12 องศาบริกซ์ ปริมาณกรด
0.5-0.6 เปอร์ เซ็นต์
ดัชนีของมาตรฐานสี สบั ปะรด




No.0 หมายถึง ตาทั้งหมดจะเป็ นสี เขียว ไม่ มี
สี เหลืองปน เหมาะสาหรับตัดผลส่ งระยะ
ทางไกลๆ เช่ น ตลาดต่ างประเทศ
No.1 หมายถึง ตาเหลืองไม่ เกิน 20%(เปลือก
สี เหลืองจางๆ ประมาณ 1-2 ตา)
No.2 หมายถึง ตาเหลืองไม่ น้อยกว่ า 20%
แต่ ไม่ เกิน 40% (เปลือกสี เหลืองอยู่ระหว่ าง
1/4 ของผล หรือประมาณ 2-3 ตา)
No.3 หมายถึง ตาเหลืองไม่ น้อยกว่ า 40%
แต่ ไม่ เกิน 55% (เปลือกสี เหลืองอยู่ระหว่ าง ¼¾ของผล หรือประมาณ 3-4 ตา)
ดัชนีของมาตรฐานสี สบั ปะรด




No.4 หมายถึง ตาเหลืองไม่ น้อยกว่ า 55%
แต่ ไม่ เกิน 90% (เปลือกสี เหลืองอยู่ระหว่ าง
½-¾ ของผล หรือประมาณ 4-6 ตา)
No.5 หมายถึง ตาเหลืองไม่ น้อยกว่ า 90%
แต่ ไม่ เกินกว่ า 20% ของตาจะมีสีส้ม (เปลือก
สี เหลืองประมาณ ¾ ถึงเต็มผล)
No.6 หมายถึง 20-100% ของตามีสีนา้ ตาล
อมแดง (เปลือกสี เหลืองเต็มผล แต่ จะมี
ลักษณะสี นา้ ตาลอมแดง และเปลือกเริ่มเหี่ยว
เล็กน้ อย)
No.7 หมายถึง เปลือกสี นา้ ตาลอมแดงและ
เริ่มแสดงอาการเน่ า
การเก็บเกีย่ วเพือ่ จาหน่ ายผลสด
 ตลาดภายในประเทศ
- ทาการเก็บเกีย่ วเมื่อผลสั บปะรดมีความสุ ก ตาเหลืองไม่ น้อยกว่ า 55%
(เบอร์ 4-5)
- การเก็บเกีย่ วต้ องทาด้ วยความปราณีต ไม่ ให้ ผลชอกช้า
- การตัดต้ องใช้ มีดคมตัดให้ เหลือก้านยาวติดผลประมาณ 10 เซนติเมตร
ไม่ หักจุก
- หลังจากตัดใส่ ภาชนะบรรจุ ลาเลียงใส่ รถบรรทุกขนส่ ง การจัดเรียงบน
รถบรรทุกขนส่ งให้ เรียงผลเป็ นระเบียบ
ข้ อควรระวังในการเก็บเกีย่ วสั บปะรดบริโภคสด
 ไม่ ควรวางผลสั บปะรดตากแดดในแปลง
 ผลทีส
่ ุ กมากไม่ ควรวางอยู่ช้ันล่ าง เพราะจะชอกช้าเสียหายได้ ง่าย
การเก็บเกีย่ วเพือ่ จาหน่ ายผลสด
 ตลาดต่ างประเทศ
- การเก็บเกีย่ วผลสั บปะรดเพือ่ ส่ งจาหน่ ายต่ างประเทศ
ส่ วนใหญ่ จะเก็บผลแก่เขียว (เบอร์ 0) ตาทุกตามีสีเขียวไม่ มีสีเหลือง
- ดูได้ จากการลอยนา้ ผลจะลอยขนานกับนา้
- ผลสั บปะรดจะต้ องมีนา้ หนักตามทีต่ ลาดรับซื้อต้ องการ จุกตรง
ไม่ มีโรคแมลงติดไปกับผล
การเก็บเกีย่ วเพือ่ จาหน่ ายผลสด
 ตลาดต่ างประเทศ(ต่ อ)
- การขนส่ งสั บปะรดมายังโรงคัดบรรจุ
- ระมัดระวังไม่ ให้ ผลชอกช้า
- ไม่ เรียงซ้ อนทับกันมากชั้นเกินไป ควรมีไม้ แบ่ งแยกชั้น
เพือ่ ไม่ ให้ ผลด้ านล่างรับนา้ หนักมากเกินไป
- การจัดเรียงจะเรียงตามนอนและสลับท้ ายผลและจุกเป็ นชั้นๆ
โรงคัดบรรจุ (Packing house)
การทาความสะอาด (Cleaning)
เก็บเกีย่ ว (Harvesting
การคัดเลือก (Sorting)
การคัดขนาด (Sizing,Grading
เคลือบผิว(waxing)
การบรรจุหีบห่ อ (Packaging
การขนส่ ง (Transportation)
ขั้นตอนการจัดการหลังการเก็บเกีย่ วสั บปะรดสดส่ งออก
สรุป
-
การปรับปรุ งและพัฒนาพันธุ์
การเพิม่ ประสิ ทธิภาพการผลิตให้ ผลผลิตต่ อไร่
การเพิม่ คุณภาพผลผลิต
การลดต้ นทุนการผลิต
การเพิม่ ปริมาณการส่ งออกผลสดและผลิตภัณฑ์
ขอบคุณครับ