การจัดการวัสดุรีไซเคิล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วันที่ 9 มิถุนายน 2552 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์ เพือ่ สิ่ งแวดล้ อม สภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย.

Download Report

Transcript การจัดการวัสดุรีไซเคิล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วันที่ 9 มิถุนายน 2552 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์ เพือ่ สิ่ งแวดล้ อม สภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย.

การจัดการวัสดุรีไซเคิล
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วันที่ 9 มิถุนายน 2552
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ
สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์ เพือ่ สิ่ งแวดล้ อม สภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
1
สถานการณ์ ขยะมูลฝอยของประเทศไทย
ปี 2550 มีขยะเกิดขึน้ 14.72 ล้านตัน/ปี วันละ 40,332 ตันต่ อวัน
เขตเทศบาลและเมืองพัทยา 13,600 ตันต่ อวัน
นอกเขตเทศบาล
18,200 ตันต่ อวัน
47 %
32 %
เขตเทศบาลและเมืองพัทยา
กร ุงเทพฯ
21 %
นอกเขตเทศบาล
กรุงเทพฯ 8,532 ตันต่ อวัน
ทีม่ า : สรุ ปสถานการณ์ มลพิษของประเทศไทย กรมควบคุมมลพิษ 2550
2
ความหมายขยะมูลฝอย
ขยะ หมายถึง เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร
เศษสิ นค้า
เศษวัสดุ ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่ อาหาร เถ้ารวมถึง มูลฝอยอันตราย
และมูลฝอยติ ดเชื้ อ ขยะมูลฝอยสามารถจาแนกได้เป็ น 4 ประเภท
ตามประกาศของกรมควบคุมมลพิษ
3
1. ขยะมูลฝอยทีย่ ่ อยสลายได้
เป็ นขยะที่มาจากธรรมชาติหรื อสิ่ งมีชีวิต สามารถย่ อยสลาย
ได้ ง่ายโดยกระบวนการทางธรรมชาติ เช่ น เศษอาหาร ผักผลไม้
ซากพืช ซากสั ตว์ ใบไม้ เป็ นต้ น คิดเป็ น ร้ อยละ 46
4
2. ขยะทั่วไป
เป็ นขยะที่ ย่ อยสลายได้ ยาก ไม่ คุ้ มค่ าในการน าไปใช้
ประโยชน์ ใหม่ เช่ น ซองบะหมี่กึ่งสาเร็ จรู ป เปลือกลูกอม ถุงขนม
ถุงพลาสติกปนเปื้ อนอาหาร โฟมเปื้ อนอาหาร
ฟอล์ ยเปื้ อนอาหาร เป็ นต้ น คิดเป็ นร้ อยละ 9
5
3. ขยะทีน่ ากลับมาใช้ ใหม่ ได้
เป็ นขยะของเสี ยบรรจุภัณฑ์ หรือวัสดุเหลือใช้ ซึ่งสามารถนา
กลั บ มาใช้ ประโยชน์ ใ หม่ ไ ด้ หรื อ รี ไ ซเคิ ล ได้ เช่ น กระดาษ
พลาสติก แก้ ว โลหะและกล่ องเครื่องดืม่ เป็ นต้ น คิดเป็ น
ร้ อยละ 42
6
4. ขยะอันตราย
เป็ นขยะที่มีการปนเปื้ อนของสารพิษต้ องเก็บรวบรวมแล้ วนาไป
กาจัดอย่ างถูกวิธี เช่ น กระป๋ องยาฆ่ าแมลง ถ่ านไฟฉาย กระป๋ องบรรจุสี
แบตเตอรี่ หลอดไฟหมดอายุ น้ายาล้ างเล็บ น้ายาย้ อมผม น้ามันเครื่ อง
นา้ ยาทาความสะอาดสุ ขภัณฑ์ เป็ นต้ น ร้ อยละ 3
7
องค์ ประกอบของขยะมูลฝอย
ขยะอันตราย 3%
ขยะทัว่ ไป 9%
ขยะอันตราย
ขยะรีไซเคิล 42%
ขยะทัว่ ไป
ขยะย่อยสลาย
ขยะรีไซเคิล
ขยะย่อยสลาย 46%
8
ระยะเวลาย่ อยสลายของขยะแต่ ละประเภทตามธรรมชาติ
ประเภท
เศษกระดาษ
เปลือกส้ ม
ถ้ วยกระดาษเคลือบ
ก้ นกรองบุหรี่
รองเท้ าหนัง
กระป๋ องอลูมเิ นียม
ถุงพลาสติก
โฟม
ระยะเวลา
2-5 เดือน
6 เดือน
5 ปี
12 ปี
25-40 ปี
80-100 ปี
450 ปี
ไม่ ย่อยสลายควรหลีกเลีย่ งการใช้
ทีม่ า : เคล็ดลับในการจัดการขยะ กรมส่ งเสริมคุณภาพสิ่ งแวดล้ อม 2544
9
การจัดการขยะมูลฝอยประเภทต่ าง ๆ
10
การจัดการขยะมูลฝอยประเภทต่ างๆ
ขยะมูลฝอยทีย่ ่ อยสลายได้
นามาทาอาหารสั ตว์
ปุ๋ ยหมัก นา้ ปุ๋ ยชีวภาพ
ก๊าซชีวภาพ
11
การจัดการขยะมูลฝอยประเภทต่ างๆ
ขยะมูลฝอยนากลับมาใช้
ใหม่ ได้
ฝากธนาคารวัสดุ รีไซเคิล
ขายร้ านรับซื้อของเก่ า
ประดิษฐ์ สิ่งของ
12
สิ่ งประดิษฐ์ จากวัสดุรีไซเคิล
13
การจัดการขยะมูลฝอยประเภทต่ างๆ
ขยะทัว่ ไป
น าไปฝั ง กลบอย่ า งถู ก
สุ ขลักษณะ
14
การจัดการขยะมูลฝอยประเภทต่ างๆ
ขยะอันตราย
คัดแยกนาไปกาจัดให้ ถูกวิธี
15
โครงการจัดการวัสดุรีไซเคิลใน
สถาบันอุดมศึกษา
16
มหาวิทยาลัยที่ร่วมโครงการ
รัฐบาล
ม.ขอนแก่น, ม.เชียงใหม่ , ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ,
ม. ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตรและองครักษ์ , มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุร
นารี,
ม.ราชภัฏสวนสุ นันทา, ม.ราชภัฏอุดรธานีและม.ราชภัฏบ้ านสมเด็จ
เจ้ าพระยา
เอกชน
ม.อัสสั มชัญ (ABAC) และม.ศรีปทุม
17
โครงการจัดการวัสดุรีไซเคิลใน
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
18
การรีไซเคิล (Recycle)
หมายถึง การนาวัสดุทใี่ ช้ แล้วหรือวัสดุเสี ยทีเ่ กิดขึน้
ระหว่ างการผลิตกลับมาผ่ านกระบวนการแปรรูปเพือ่ ผลิตเป็ น
ผลิตภัณฑ์ ใหม่ เช่ นนาขวดแก้วเก่ามาบดแล้วหลอมเพือ่ นากลับ
มาใช้ เป็ นวัตถุดิบในการผลิตขวดแก้วใหม่
19
ปี 2546 ประเทศไทยมีขยะทัว่ ประเทศประมาณ 22 ล้ านตัน
เมือง
ฮ่ องกง
โซล
สิ งคโปร์
มะนิลา
กรุงเทพฯ
ปักกิง่
อัตราการนาขยะมารีไซเคิลใหม่
36%
45%
39%
13%
15%
<10%
ทีม่ า: Thailand Environment Monitor, 2003, World Bank
20
วัสดุทสี่ ามารถรีไซเคิลได้
กระดาษ ได้ แก่
 กระดาษสมุด
 กระดาษหนังสื อ
 หนังสื อพิมพ์
 นิตยสาร
 จดหมาย
 กล่ องกระดาษแข็งทุกชนิด
 ถุงกระดาษ
พลาสติก ได้ แก่
 ขวด
 กล่อง
 ภาชนะต่ าง ๆ
กล่องเครื่องดืม่ ได้ แก่ กล่องนม กล่องนา้ ผลไม้ กล่องนา้ กะทิ
21
โลหะได้แก่
 อุปกรณ์และเครื่ องมือโลหะ
 กระป๋ องอาหาร ผลไม้ เครื่ องดื่ม
แก้วได้แก่
 ขวดแก้วทุกชนิดทั้งที่ใส สี น้ าตาล
สี เขียว
เสื้ อผ้าได้แก่
 ผ้าฝ้ าย ไนลอน นามาผลิตกระดาษ
22
โครงการประกอบด้ วย 2 แนวทาง
1. การตั้งภาชนะรองรับวัสดุรีไซเคิล
2. การจัดทาธนาคารขยะรีไซเคิล
23
วัตถุประสงค์ โครงการ
1. เพือ่ จัดระบบการจัดการขยะของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ให้ มีประสิ ทธิภาพ
2. เกิดทัศนคติทดี่ ตี ่ อการมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะรีไซเคิลของนักศึกษา
และบุคลากรตลอดจนหน่ วยงานต่ าง ๆ ในมหาวิทยาลัย
3. เป็ นการสร้ างมูลค่ าเพิม่ และรายได้ จากขยะรีไซเคิลให้ กบั นักศึกษา
บุคลากรและมหาวิทยาลัย
4. เพือ่ ให้ เกิดสภาพแวดล้ อมทีด่ แี ละเป็ นการลดภาระในการจัดการขยะ
ภายในมหาวิทยาลัย
24
1. การตั้งภาชนะรองรับวัสดุรีไซเคิล
ถังขยะในมหาวิทยาลัย
ประกอบด้ วย
สี เขียว สี เหลืองและสี นา้ เงิน
25
 สี เขียว รองรับขยะทัว่ ไป ได้ แก่ เศษ
อาหาร ถุงพลาสติกเปื้ อนอาหาร
กล่ องโฟม แก้ วนา้ กระดาษ ซอง
บะหมี่ ซองขนม
26
 สี เหลือง รองรับวัสดุที่สามารถ
รีไซเคิลได้ คอื พลาสติก แก้ ว
โลหะ กล่ องเครื่องดื่ม
27
 สี นา้ เงิน รองรับขยะพวกกระดาษ
ใช้ แล้ ว 2 หน้ า กระดาษทั่วไป
วารสาร นิตยสาร กล่ องขนม
กระดาษหนังสื อพิมพ์
28
2. การจัดตั้งธนาคารวัสดุรีไซเคิล
ธนาคารวัสดุรีไซเคิล
เป็ นการรับฝากวัสดุรีไซเคิลจากสมาชิก โดยธนาคารจะมีรายได้
จากส่ วนต่ างจากราคาที่รับฝากจากสมาชิกและรายได้ จากการจาหน่ าย
ให้ กบั ร้ านรับซื้อของเก่า
****รายได้ จะใช้ บริหารจัดการโครงการและพัฒนาสิ่ งแวดล้อมของ
มหาวิทยาลัย
29
วิธีดาเนินงานจัดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิล
 ประชุ มหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ อง
 จัดทาแผนงานดาเนินการ
 กาหนดคณะทางานธนาคารและจัดหาวัสดุอุปกรณ์
ที่เกีย่ วข้ อง เช่ น เครื่องชั่งนา้ หนัก เครื่องคิดเลข
จัดทาแบบฟอร์ มธนาคาร
 ฝึ กอบรมและประชาสั มพันธ์ โครงการ
 เปิ ดดาเนินการและรับสมาชิก
 ประเมินผลโครงการและสรุปแนวทางแก้ไขปัญหา
30
โครงสร้ างเจ้ าหน้ าที่
ธนาคารขยะรีไซเคิล
เจ้ าหน้ าที่ฝ่ายสมาชิก
และประชาสั มพันธ์
ผู้จดั การ
ธนาคารขยะรีไซเคิล
เจ้ าหน้ าที่
ขนถ่ ายขยะ
เจ้ าหน้ าที่
ฝ่ ายบัญชีและการเงิน
เจ้ าหน้ าที่
คัดแยกขยะ
31
ผู้จัดการธนาคารขยะรีไซเคิล
 กากับดูแลงานเกีย่ วกับการรับฝาก
 การคัดแยกที่โรงคัดแยกขยะ
 การติดต่ อกับร้ านรับซื้อขยะ
 การกาหนดราคาขายรายเดือน
 การรายงานยอดฝาก-ถอน
การดาเนินงานภายในธนาคารให้ เป็ นไปด้ วยความเรียบร้ อย
เจ้ าหน้ าทีฝ่ ่ ายสมาชิกและประชาสั มพันธ์
 รับสมัครสมาชิก เก็บรวบรวมข้ อมูลของสมาชิก
 เสนอตั้งราคาซื้อขายขยะประจาเดือนโดยอ้ างอิงตามราคาตลาด
 การติดต่ อร้ านซื้อขายขยะในแต่ ละเดือน
 ประชาสั มพันธ์ โครงการ
32
เจ้ าหน้ าทีฝ่ ่ ายบัญชีและการเงิน
 บริการแก่สมาชิกธนาคารในการรับฝากขยะหรือถอนเงินจากบัญชี
 ตรวจสอบคุณลักษณะขยะ ชั่งนา้ หนักทีส่ มาชิกนามาฝาก
 สรุ ปผลประกอบการของธนาคารประจาวันและประจาเดือนส่ งให้
ผู้จัดการธนาคารขยะพิจารณา
เจ้ าหน้ าทีข่ นถ่ ายขยะ
 ขนถ่ ายขยะทีเ่ กิดขึน้ ไปยังโรงคัดแยกขยะ
 ดูแลความเรียบร้ อยของถังขยะภายนอกอาคาร
 ขนถ่ ายและชั่งนา้ หนักขยะรีไซเคิลจากสมาชิกที่เป็ นหน่ วยงานใหญ่
33
เจ้ าหน้ าทีค่ ดั แยกขยะ
 เป็ นกาลังสาคัญ
คัดแยกขยะรีไซเคิลจากขยะประเภทอืน่
34
สิ่ งทีต่ ้ องทาก่อนเปิ ดธนาคาร
 เปรียบเทียบราคารับซื้อจากร้ านรับซื้อของเก่ าในพืน้ ที่ไม่ น้อยกว่ า 3 ราย
 ทาการเปรียบเทียบราคาร้ านรับซื้อฯ ทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง
 ให้ ร้านรับซื้อฯ มีการยืนราคาอย่ างน้ อย 15 วัน
 ประกาศราคารับซื้อให้ สมาชิกทราบล่ วงหน้ า 3 วันก่ อนเปิ ดธนาคาร
35
วันเปิ ดธนาคารขยะรีไซเคิลวันแรก
(Kick-Off)
 จะมีกจิ กรรมต่ างๆ มากมาย เช่ นประกวดชุ ด
แฟนซีรีไซเคิล ประกวดโลโก้ วงดนตรีรีไซเคิล เป็ น
ต้ น
 มี gift set แจกคนที่เปิ ดบัญชีวนั แรกจนกว่ าของ
จะหมด
36
การดาเนินงานของสมาชิก
1. การสมัครสมาชิก
2. การฝากเงิน
3. การถอนเงิน
37
การดาเนินงานของสมาชิก
การสมัครสมาชิก
สมาชิก
นักศึกษาและบุคลากรในมหาวิทยาลัย
กลุ่ม ชมรม สโมสรนักศึกษา
หน่ วยงานอาคาร
***นาบัตรประจาตัวนักศึกษา หรือ
บัตรประจาตัวประชาชนแสดงต่ อจนท.
กรอกใบสมัคร
รับสมุดคู่ฝาก
38
ใบสมัครสมาชิก
เลขที่ ........../...........
ใบสมัครสมาชิกธนาคารขยะรี ไซเคิล
 นักศึกษา มธ.  ชมรม/กลุม่ กิจกรรม  หน่วยงานของมหาวิทยาลัย และหน่วยงานที่อยู่ในพื ้นที่
ของมหาวิทยาลัย
ชื่อ-สกุล .......................................................เลขทะเบียนนักศึกษา..................................................
เพศ  ชาย  หญิง บัตรประชาชนเลขที่ ...................................................................................
สัญชาติ .................................เชื ้อชาติ .................................ศาสนา.....................................................
หน่วยงาน/คณะ/ชมรม/กลุม่ .............................................ภาควิชา.....................คณะ............................
ที่อยูท่ ี่สามารถติดต่อได้ .......................................................................................................................
.........................................................................รหัสไปรษณีย์..............................................................
โทรศัพท์ (บ้ าน).........................................................มือถือ..................................................................
อีเมลล์ .................................................................................................................................................
ลงชื่อ........................................
(
)
ผู้สมัครสมาชิกธนาคาร/ผู้มีสทิ ธิถอนเงิน
.........../............../...............
ลงชื่อ..............................................
เจ้ าหน้ าที่ธนาคารฝ่ ายสมาชิก
.........../............../...............
แบบฟอร์ ม: ใบสมัครสมาชิก
39
สมุดคู่ฝากธนาคารขยะรีไซเคิล
สมุดคู่ฝากธนาคารขยะรีไซเคิล
(Recyclable Waste Bank)
ชื่อบัญชี Account Name
เลขที่บัญชี Account No.
ว.ด.ป.
รายการ
ลายมือชื่อ Signature
จานวน
(กก.)
ฝาก
(บาท)
ถอน
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
ลงชื่อ
จนท.
40
การฝากเงิน
สมาชิกนาวัสดุรีไซเคิล กรอกใบนาฝาก จนท.ตรวจสอบวัสดุรีไซเคิล
้
และชั
่งน
า
หนั
ก
อย่างน้อย 1 กก.
พร้อมคานวณเงินบันทึกใน
มาพร้อมสมุดคู่ฝาก
สมุดคู่ฝาก
*** ผูจ้ ดั การธนาคารตรวจสอบความถูกต้องของใบนาฝากและ
บันทึกการรับฝากวัสดุรีไซเคิลให้สอดคล้องกัน
41
เงื่อนไขการฝาก
 นาสมุดคู่ฝากไปทุกครั้ง
 ยอดคงเหลือในสมุดคู่ฝาก ต้ องตรงกับยอดบัญชีของธนาคาร
 สิ ทธิ์ตามบัญชีเงินฝากไม่ สามารถโอนหรือนาไปเป็ นหลักประกันแก่
ผู้อนื่ เว้ นแต่ ได้ รับความยินยอมจากธนาคาร
 ยอดคงเหลือในสมุดคู่ฝากต้ องไม่ ต่ากว่ า 20 บาท
 การฝากทุกครั้งวัสดุรีไซเคิลที่นามาฝากต้ องไม่ ต่ากว่ า 1.0 กิโลกรัม
 เปิ ดบัญชีครั้งแรก ต้ องมียอดฝากไม่ ต่ากว่ า 1.0 กิโลกรัม และจะถอนเงินได้
ในครั้งถัดไป
 ธนาคารขอสงวนสิ ทธิ์ในการปิ ดบัญชีภายใน 1 ปี หากบัญชีไม่ มีการ
เคลือ่ นไหวและยอดคงเหลือต่ากว่ า 20 บาท และถือว่ าเจ้ าของบัญชีประสงค์ ที่จะ
มอบเงินที่คงเหลือทั้งหมดให้ กบั โครงการฯ
42
ใบนาฝาก
เลขที่บญ
ั ชี ....001/52.........................วันที่......29.....กรกฎาคม......2552.........................
ชื่อบัญชี ...นายรักชาติ ......ยอดประหยัด........................................
รายการ
จานวน
(กิ โลกรัม)
ขวดน้าพลาสติ ก
1
กระป๋องน้าอัดลม
1
ราคา /หน่ วย
(บาท)
รวมเงิ น (บาท)
รวมเป็ นเงิ น
ยอดเงิ นเป็ นตัวอักษร
ลงชื่อผูฝ้ าก...นายรักชาติ ......ยอดประหยัด......ลงชื่อผูร้ บั ฝาก..................................................
43
ใบนาฝาก
เลขที่บญ
ั ชี ....001/52.........................วันที่......29.....กรกฎาคม......2552.........................
ชื่อบัญชี ...นายรักชาติ ......ยอดประหยัด........................................
รายการ
จานวน
(กิ โลกรัม)
ราคา /หน่ วย
(บาท)
รวมเงิ น (บาท)
ขวดน้าพลาสติ ก
1
16
16
กระป๋องน้าอัดลม
1
36
36
รวมเป็ นเงิ น
ยอดเงิ นเป็ นตัวอักษร
ห้าสิ บสองบาทถ้วน
ลงชื่อผูฝ้ าก...นายรักชาติ ......ยอดประหยัด......ลงชื่อผูร้ บั ฝาก.....นส.มัธยัสถ์...อดออม....................
44
สมุดคู่ฝากธนาคารขยะรีไซเคิล
(Recyclable Waste Bank)
ชื่อบัญชี Account Name
นายรักชาติ ยอดประหยัด
เลขที่บญ
ั ชี Account No. ..001/52..
ลายมือชื่อ Signature .นายรักชาติ ยอดประหยัด..
ว.ด.ป.
รายการ
จานวน (กก.)
ฝาก (บาท)
ถอน (บาท)
คงเหลือ (บาท)
29 ก.ค. 52
2
2
52
-
52
ลงชื่อ
จนท.
น.ส.มัธยัสถ์
45
การถอนเงิน
สมาชิกมาพร้ อม
กรอกใบถอนเงิน
สมุดคู่ฝาก
บัตรประจาตัวนักศึกษา
หรือบัตรประจาตัวประชาชน
จนท.ตรวจสอบความถูกต้ อง
กับเอกสารของธนาคารและ
มอบเงินให้ สมาชิก
46
ใบถอนเงิน
เลขที่บัญชี .... 001/52......................วันที่......7.....ธันวาคม......2552.........................
ชื่อบัญชี ...นายรั กชาติ.........ยอดประหยัด............................................
จานวนเงินที่ถอนเป็ นตัวเลข
ตัวอักษร
.....นายรั กชาติ...ยอดประหยัด...
ลงชื่อผู้ถอน/ผู้รับมอบอานาจ
20
ยี่สิบบาทถ้ วน
.....นายรั กชาติ...ยอดประหยัด...
ลงชื่อเจ้ าของบัญชี
...นางสาวมัธยัสถ์ ...อดออม..........
ลงชื่อผู้รับถอน
47
สมุดคู่ฝากธนาคารขยะรีไซเคิล
(Recyclable Waste Bank)
ชื่อบัญชี Account Name
นายรักชาติ ยอดประหยัด
เลขที่ บญ
ั ชี Account No. ..001/52..
ลายมือชื่อ Signature .นายรักชาติ ยอดประหยัด..
ว.ด.ป.
รายการ
จานวน (กก.)
ฝาก (บาท)
ถอน (บาท)
คงเหลือ (บาท)
29 ก.ค. 52
2
2
52
-
52
7 ธ.ค.52
-
-
-
20
32
ลงชื่อ
จนท.
น.ส.มัธยัสถ์
น.ส.มัธยัสถ์
48
การฝากเงินของ
หน่ วยงานอาคาร
กรณีทวี่ สั ดุรีไซเคิลเป็ นทรัพย์ สินของมหาวิทยาลัย รายได้
จะเป็ นของหน่ วยงานหรือของมหาวิทยาลัย
สมาชิกมาพร้ อม
วัสดุรีไซเคิล
สมุดคู่ฝาก
ใบแสดงปริมาณ
ขยะภายในอาคาร
กรอกใบนาฝาก
จนท.ตรวจสอบวัสดุรีไซเคิล
และชั่งนา้ หนัก
พร้ อมคานวณเงินบันทึกใน
สมุดคู่ฝาก
49
ปริมาณขยะภายในอาคาร
วันที่ ..25.....เดือน...กรกฎาคม......พ.ศ.. 2552....
อาคาร …วิ ทยาศาสตร์…..................………………….…
ประเภท/น้าหนักวัสดุที่รบั ฝาก (กก.)
พลาสติ ก
กระดาษ
ลาดับ
ใส
ขาวขุ่น
แก้ว
กระ
ป๋อง
กล่อง
เครื่องดื่ม
1
1.0
1.5
-
0.5
-
ขาวดา
สี
หนังสือ
พิ มพ์
อื่นๆ
รวม
ก.ก.
จานวนเงิ น
(บาท)
4.0
2.0
0.5
-
9.5
300
หมาย
เหตุ
ผู้ฝาก ...นายวินัย................................................... เจ้ าหน้ าที่ .........นางสมใจ..............................................................
50
สมุดคู่ฝากธนาคารขยะรีไซเคิล
(Recyclable Waste Bank)
ชื่อบัญชี Account Name
อาคารวิ ทยาศาสตร์
เลขที่ บญ
ั ชี Account No. ..001/52..
ลายมือชื่อ Signature .นายวิ นัย รักการฝาก...........
ว.ด.ป.
รายการ
จานวน (กก.)
ฝาก (บาท)
ถอน (บาท)
คงเหลือ (บาท)
29 ก.ค. 52
2
2
52
-
52
7 ธ.ค.52
-
-
-
20
32
ลงชื่อ
จนท.
น.ส.มัธยัสถ์
น.ส.มัธยัสถ์
51
ขั้นตอนของเจ้ าหน้ าที่
ธนาคารขยะรีไซเคิล
หลังปิ ดทาการ
ในแต่ ละวันเจ้ าหน้ าที่ธนาคารจะทาการ
1.1 เก็บใบฝาก-ถอนเข้ าแฟ้ มเป็ นหลักฐาน
1.2 ลงบันทึกในทะเบียนคุมสมาชิก
1.3 ลงบันทึกสรุปการฝาก-ถอนของสมาชิก
1.4 สรุปบันทึกการรับฝากวัสดุรีไซเคิลของสมาชิก
1.5 สรุปการคัดแยกวัสดุรีไซเคิลหลังจากแยกประเภทก่ อนจาหน่ าย
ให้ ร้านรับซื้อของเก่ า
2. ในแต่ ละเดือน จะสรุปการฝาก – ถอน บันทึกการขายวัสดุรีไซเคิลและสรุปบัญชี
รายรับ-จ่ าย ทาให้ ทราบกาไร-ขาดทุนให้ แจ้ งแก่ ผู้บริหารมหาวิทยาลัย
1.
52
ทะเบียนคุมสมาชิก
ธนาคารขยะรีไซเคิล
เลขที่บัญชี
ชื่อ-สกุล
วันแรกที่
เปิ ดบัญชี
001/52
นายรั กชาติ
ยอดประหยัด
29 ก.ค. 52
002/52
น.ส.สุขใจ
รี ไซเคิล
30 ก.ค. 52
วันที่ปิด
บัญชี
หมายเหตุ
53
สรุ ปการฝาก-ถอน
เลขที่บัญชีสมาชิก..... 001/52..............................................................
นักศึกษา.นายรั กชาติ..ยอดประหยัด..  กลุ่มนักศึกษา  หน่ วยงาน ..................
ลาดับ
วดป.
ฝาก (บาท)
ถอน (บาท)
คงเหลือ
(บาท)
1
29 ก.ค. 52
52.00
-
52.00
2
7 ธ.ค. 52
-
20.00
32.00
หมายเหตุ
54
บันทึกการรับฝากวัสดุรีไซเคิล (สาหรับเจ้าหน้ าที่ธนาคาร)
ประจาเดือน.........กรกฎาคม................พ.ศ....2552.........................
ประเภท/น้าหนัก วัสดุที่รบั ฝาก (กก.)
ลาดับ
วันที่
กระ
ดาษ
1
29 ก.ค.52
-
พลาสติ ก
อลูมิ
เนี ยม
แก้ว
กล่อง
เครื่องดื่ม
อื่น ๆ
รวม
(กก.)
รวมเป็ น
เงิ น (บาท)
1
1
-
-
-
2
52
55
บันทึกการคัดแยกวัสดุรีไซเคิล (สาหรับโรงคัดแยกขยะ)
ประเภท/น้าหนัก วัสดุที่รบั ฝาก (กิ โลกรัม)
ลาดับ
ว.ด.ป.
1
2
พลาสติ ก
กระดาษ
ใส
ขาว
ขุ่น
แก้ว
กระป๋อง
กล่อง
เครื่องดื่ม
31 ก.ค.52
2.0
3.0
-
3.5
31 ส.ค.52
1.0
1.0
2.2
-
อื่น
ๆ
รวม
ก.ก.
ขาวดา
สี
หนังสือ
พิ มพ์
2.0
1.5
1.0
0.5
-
13.5
3.0
2.0
1.0
1.0
0.5
11.7
หมาย
เหตุ
เศษ
อาหาร
ถุงขนม
ฟอยล์
56
สรุปรายรับ-จ่ายของธนาคาร
ประจาเดือน.........กรกฎาคม................พ.ศ....2552.........................
ลาดับ
วันที่
รายการ
รายรับ
รายจ่าย
คงเหลือ
1
30 ก.ค.52
ขายขยะ
500
-
500
2
5 ส.ค. 52
จ่ายเงิ นให้
สมาชิ ก
-
100
400
57
ประโยชน์ จากการจัดโครงการ
1. เกิดระบบการจัดการขยะที่ดีและมี
ประสิ ทธิภาพในมหาวิทยาลัย
2. นักศึกษาและบุคลากรในมหาวิทยาลัยมี
ส่ วนร่ วมในการคัดแยกขยะและลดปัญหา
ด้ านสิ่ งแวดล้ อมของมหาวิทยาลัย
3. สร้ างรายได้ และฝึ กนิสัยการออมให้ กบั
ผู้ที่เข้ าร่ วมโครงการ
58
Thank You
สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์
เพือ่ สิ่ งแวดล้อม
สภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศ
ไทย
www.tipmse.or.th
โทร 0-272-1551-3
โทรสาร 0-272-1551-3 ต่ อ 18
ขอขอบคุณ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
59