การป้องกันติดเชื้อ(ขยะ ) 26-1-55 - ศูนย์ หัวใจ สิริ กิ ติ์ ภาค ตะวันออก

Download Report

Transcript การป้องกันติดเชื้อ(ขยะ ) 26-1-55 - ศูนย์ หัวใจ สิริ กิ ติ์ ภาค ตะวันออก

การเฝ้ าระวัง ป้ องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
สาหรับบุคลากรระดับต่ างๆ
ศูนย์ หัวใจสิ ริกติ ์ิ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
7 – 9 พฤศจิกายน 2554
ห้ องประชุม 1 ชั้น 3
ศูนย์ หัวใจสิ ริกติ ์ิ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การเฝ้ าระวัง ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การแยกประเภทขยะ
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การแยกประเภทขยะ
คณะกรรมการเฝ้ าระวังและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
พยาบาลเฝ้ าระวังและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ศูนย์ หัวใจสิ ริกติ ์ภิ าคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
7 - 9 พฤศจิกายน 2554
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การแยกประเภทขยะ
วัตถุประสงค์
 เข้ าใจเกีย
่ วกับการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
 แยกขยะแต่ ละประเภทได้ ถูกต้ อง
 ตระหนักและให้ ความร่ วมมือในการป้ องกันการติดเชื้อ
 สนับสนุนนโยบายการรั กษาสิ่ งแวดล้ อมและการบริ หาร
ความเสี่ ยงให้ เป็ นไปอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
IC คือ อะไร
Infections Control
“ การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล ”
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การติดเชื้อในโรงพยาบาล
การทีบ่ ุคลากรและผู้ป่วย มีการได้ รับเชื้อโรคต่ าง ๆ ได้ แก่
แบคทีเรีย และ ไวรัส ทีม่ สี ามารถแพร่ กระจายเชื้อได้
โดยได้ รับเชื้อขณะทีอ่ ยู่ในโรงพยาบาล หรือได้ รับเชื้อจากคน
หรือสิ่ งแวดล้ อมในโรงพยาบาล
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การติดเชื้อในโรงพยาบาล หมายถึง การติดเชื้อทีเ่ กิดขึน้
ในขณะทีผ่ ้ ูป่วยเข้ ารับการรักษาในโรงพยาบาล โดยทัว่ ไป
จะเกิดภายหลังจากเข้ ารับการรักษาแล้ วเป็ นระยะเวลา
48 ชั่วโมงเป็ นต้ นไป ทั้งนีต้ ้ องพิจารณาถึงลักษณะทาง
คลินิกและเชื้อก่ อโรคทีเ่ ป็ นสาเหตุด้วย
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การแพร่ กระจายของเชื้อโรค มีทางใดบ้ าง
1. ทางการสั มผัส : สั มผัสโดยตรงระหว่ างคนกับคน
สั มผัสทางอ้ อมโดยผ่ านสิ่ งแวดล้ อมหรือเครื่องมือทีไ่ ม่
ปราศจากเชื้อ สั มผัสผ่ านละอองเสมหะในระยะไม่ เกิน 3 ฟุต
2. ทางการหายใจ : โดยการสู ดเอาเชื้อทีล่ อยอยู่ในอากาศเข้ าสู่
ระบบทางเดินหายใจ ขนาดอนุภาคเล็กประมาณ 1- 5
ไมครอน เชื้อลอยอยู่ในอากาศได้ นาน
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
3. ทางการกินและการดืม่ : เกิดจากการทีม่ เี ชื้อโรค
ปนเปื้ อนอยู่ในผลิตภัณฑ์ อาหาร นา้ ยา ทาให้ เกิดการ
ติดเชื้อในผู้ป่วยหลายราย
4. ทางระบบเลือด : เกิดจากการถูกแมลงหรือสั ตว์ นาโรคกัด
และเชื้อทีม่ อี ยู่ในตัวแมลงถ่ ายทอดสู่ คน หรือการใช้ เข็ม
ฉีดยา / ของมีคมทิม่ ตา / การได้ รับเลือดของคนที่มเี ชื้อเข้ า
สู่ ร่างกาย
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ทาไมต้ องมีการควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เพือ่ ลดโอกาสการติดเชื้อ/การแพร่ กระจายเชื้อ
ระหว่ างคนและคน สั ตว์ และคน สิ่ งแวดล้ อมและคน
ทีส่ าคัญ คือ บุคลากรและผู้ป่วย
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เกิดประโยชน์ อย่ างไรกับโรงพยาบาล
รวมถึงบุคลากร และ ผู้ป่วย
1. บุคลากรลดความเสี่ ยงในการเจ็บป่ วยจากการติดเชื้อ
2. ผู้ป่วยลดความเสี่ ยงในการเจ็บป่ วยจากการติดเชื้อในโรงพยาบาล
และสามารถจาหน่ ายได้ เร็วตามกาหนด
3. โรงพยาบาลมีคุณภาพ
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
บุคลากรมีส่วนในการควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ
อย่ างไร
บุคลากรปฏิบัตติ ามหลัก “มาตรฐานการป้ องกันการติดเชื้อ”
( Standard precautions )
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
“มาตรฐานการป้ องกันการติดเชื้อ” ( Standard precautions )
คือ อะไร
หลักปฏิบัติมาตรฐาน ทีบ่ ุคลากรทุกคนต้ องปฏิบัตติ าม
อย่ างเคร่ งครัด
สมา่ เสมอ
ในการป้องกันการติดเชื้อ
การแพร่ กระจายเชื้อ จากตนเองสู่ ผ้ ูอนื่ (รวมทั้งสิ่ งแวดล้อม)
และ จากผู้อนื่ (รวมทั้งสิ่ งแวดล้ อม) สู่ ตนเอง
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
“มาตรฐานการป้ องกันการติดเชื้อ” ( Standard precautions )
มีกขี่ ้ อปฏิบัติ
1. การรักษาความสะอาดโดยการล้ างมืออย่ างถูกต้ อง
2. การใช้ เครื่องป้องกันร่ างกายอย่ างถูกต้ องเหมาะสม
3. การระวังอุบัตเิ หตุจากของมีคม
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
1. การรักษาความสะอาดโดยการล้ างมืออย่ างถูกต้ อง
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
2. การใช้ เครื่องป้องกันร่ างกายอย่ างถูกต้ องและเหมาะสม
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
3. การป้องกันอุบัตเิ หตุจากของแหลมคม
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การรักษาความสะอาดโดยการล้ างมืออย่ างถูกต้ อง
บุคลากรทุกคนต้ องล้ างมือ อย่ างถูกต้ อง ให้ ครบ 6 ขั้นตอน
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
Hand Hygiene
“ การป้องกันการแพร่ เชื้อทีด่ ีทสี่ ุ ด......คือการล้างมือ ”
 ล้ างมือทุกครั้ ง
 ก่ อนและหลัง
- การรักษาพยาบาลผู้ป่วย
- ให้ สารนา้ ทางหลอดเลือด
- การเจาะเลือด / ฉีดยา / ดูดเสมหะ
- สวนปัสสาวะ / ทาแผล
- การสั มผัสผู้ป่วย
 หลังการสั มผัสอุปกรณ์ ปนเปื้ อนสารคัดหลัง่ / เลือด
 หลังการถอดถุงมือ
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
Types of Hand Hygiene



Normal Handwashing
Hygiene Handwashing
Surgical Handwashing
เวลา 10 – 15 วินาที
เวลา 20 – 30 วินาที
เวลา 3 – 5 นาที
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การล้างมือ ( 6 ขั้นตอน )
1. ฝ่ ามือและง่ ามนิว้ มือด้ านหน้ า
2. หลังมือและง่ ามนิว้ มือด้ านหลัง
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
3. นิว้ และข้ อนิว้ มือด้ านหลัง
4. นิว้ หัวแม่ มือ
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
5. ปลายนิว้ มือ
6. รอบข้ อมือ
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
นโยบายการกาจัดขยะมูลฝอยในศูนย์ หัวใจสิ ริกติ ์ภิ าคตะวันออกเฉียงเหนือ
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1. บุคลากรทีเ่ กีย่ วข้ องต้ องมีความรู้และสามารถปฏิบัติเรื่องการแยกขยะมูล
ฝอยในโรงพยาบาลได้ อย่ างถูกต้ องตามระบบของศูนย์ หัวใจสิ ริกติ ์ภิ าค
ตะวันออกเฉียงเหนือ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2. ขยะมูลฝอยติดเชื้อจะต้ องมีทพี่ กั ขยะเพือ่ รอให้ เทศบาลดาเนินการนาขยะ
ติดเชื้อไปกาจัดตามขั้นตอนต่ อไป
3. มีการดาเนินการเกีย่ วกับขยะอย่ างครบวงจรและเกิดประโยชน์ สูงสุ ดต่ อ
องค์ กร
มาตรการด้ านการกาจัดของเสี ยและสารพิษของคณะแพทยศาสตร์
( คู่มือคุณภาพเลขที่ QM-3-00-00-00-001 )
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น มีนโยบายที่จะ
ให้ ทุกหน่ วยงานแยกขยะมูลฝอยประเภทของเสี ย สารพิษ และ
ขยะทีส่ ามารถนากลับมาใช้ ใหม่ ( ขยะ Re-cycle ) ให้ เป็ น
ประเภทตามแนวทางทีก่ าหนดอย่ างถูกต้ อง โดยมีการดูแล
จัดเก็บและการขนย้ ายขยะมูลฝอยอย่ างถูกสุ ขลักษณะ ซึ่งไม่
ก่ อให้ เกิดอันตรายต่ อผู้ใช้ บริการ บุคลากร สิ่ งแวดล้ อมและ
ชุมชน
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การแยกประเภทขยะ
บุคลากรทุกคน มีหน้ าทีแ่ ยกขยะให้ ถูกต้ อง อย่ างไร
บุคลากรทุกคนทีป่ ฏิบัตงิ านกับผู้ป่วยโดยตรงหรือเกีย่ วข้ อง
ทีม่ หี น้ าทีร่ ับผิดชอบทาการคัดแยกขยะ ณ ทีจ่ ุดกาเนิด และ
นาไปจัดเก็บในสถานทีท่ กี่ าหนดให้
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การแยกขยะ มีกปี่ ระเภท
(1) ขยะทัว่ ไปไม่ ติดเชื้อ
(3) ขยะพิเศษ
(2) ขยะติดเชื้อ
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
(1) ขยะทั่วไปไม่ ติดเชื้อ ได้ แก่ อะไรบ้ าง ทิง้ ทีใ่ ด ?
หมายถึง วัสดุทใี่ ช้ แล้ วไม่ ก่อให้ เกิดการแพร่ เชื้อโรคไปสู่ มนุษย์
และสั ตว์ ( วัสดุ อุปกรณ์ ทใี่ ช้ ภายในสานักงาน ครัวเรือน )
เช่ น เศษกระดาษ กระดาษชาระ วัสดุสานักงาน เศษอาหาร
ใบไม้ ผัก ผลไม้ ถุงพลาสติก / กล่ องโฟมบรรจุอาหาร ซอง
บรรจุวสั ดุการแพทย์
ใส่ ถุงพลาสติกดา
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
(2) ขยะติดเชื้อ ได้ แก่ อะไรบ้ าง ทิง้ ทีใ่ ด ?
หมายถึง ขยะทีเ่ ป็ นผลมาจากกระบวนการรักษาพยาบาล การ
ตรวจวินิจฉัย การให้ ภูมิค้ ุมกันโรคซึ่งควรสงสั ยว่ าอาจมีเชื้อ
โรคทีก่ ่ อให้ เกิดการแพร่ เชื้อไปสู่ มนุษย์ และสั ตว์ เช่ น เลือด
หรือสารคัดหลัง่ ต่ างๆ จากร่ างกายผู้ป่วย รวมทั้งวัสดุอุปกรณ์
ทางการแพทย์ ต่างๆ ผ้ า สิ่ งของต่ างๆ ทีเ่ ปื้ อนเลือดหรือสาร
คัดหลัง่ ต่ างๆ ขวดวัคซีน ใส่ ถุงพลาสติกแดง
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
(3) ขยะพิเศษ ได้ แก่ อะไรบ้ าง ทิง้ ทีใ่ ด ?
หมายถึง ขยะทีม่ ีความยุ่งยากในการจัดเก็บและต้ องกาจัดด้ วยวิธีการ
ที่แตกต่ างจากชยะทั่วไปไม่ ติดเชื้อและขยะติดเชื้อ ซึ่ งอุปกรณ์ ใน
การจัดเก็บจะต้ องใช้ ภาชนะรองรับเฉพาะที่แตกต่ างกัน ได้ แก่
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

1. ขยะมูลฝอยมีคมทีอ่ ยู่ในกระบวนการดูแลรักษา วินิจฉัยและ
การปฏิบัตทิ างห้ องปฏิบัติการ เช่ น เข็มฉีดยา เข็มแทงเส้ นเลือด
ดาเพือ่ ให้ นา้ เกลือ ( Medicut , Scalp vein ) หลอดยา
หลอดแก้ วแตก ฝาขวดโลหะ เข็มเจาะเลือดทีป่ ลายนิว้
( Blood lancet ) ใบมีดผ่ าตัดต่ างๆ เข็มเย็บ
แผ่ นสไลด์ แก้ ว
ใส่ แกลลอน / กล่ องพลาสติกสี แดง
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

2. ขยะมูลฝอยถุงมือใช้ แล้ วทิง้ หมายถึง ถุงมือทีใ่ ช้ ใน
กระบวนการตรวจรักษาผู้ป่วยและไม่ สามารถนากลับมาใช้ ได้ อกี
เช่ น ถุงมือที่ใช้ จบั หรือสั มผัสเลือด สารคัดหลัง่ ของผู้ป่วย , ถุง
มือทีใ่ ช้ จบั อุปกรณ์ เครื่องใช้ ทปี่ นเปื้ อนเชื้อโรค , ถุงมือทีใ่ ช้ ตรวจ
รักษาผู้ป่วย ( Disposable glove )
ใส่ ถุงพลาสติกสี แดง & เขียนป้าย “ ถุงมือ ”
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

3. ขยะมูลฝอยสารพิษ/เคมีบาบัด หมายถึง วัสดุอุปกรณ์ ทเี่ หลือ
จากการใช้ งานและมีพษิ ต่ อสุ ขภาพร่ างกายของมนุษย์ รวมทั้งมีผล
ต่ อสิ่ งแวดล้ อม / ยาเคมีบาบัดและอุปกรณ์ ทสี่ ั มผัสยาเคมีบาบัดทุก
ชนิด เช่ น ถ่ านไฟฉายหรือแบตเตอรี่ทหี่ มดอายุ กระป๋ องสเปรย์
กระป๋ องยาฆ่ าแมลงทุกชนิด หลอดนีออน ( Fluorescent )
ขวดยาเคมีบาบัด , ซาก Electrode , สิ่ งของต่ างๆ ที่สัมผัสกับ
สารเคมีบาบัดและกัมมันตภาพรังสี ( ยกเว้ นของมีคม )
ถุงพลาสติกสี เหลือง / แกลลอน
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

4. ขยะมูลฝอยนากลับมาใช้ ได้ อกี ( รีไซเคิล : Re – cycle )
หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ หรือกระดาษทีใ่ ช้ ภายในสานักงานหรือ
อาคารทีส่ ามารถนากลับมาใช้ ประโยชน์ ได้ อกี เช่ น กระดาษ
กล่ องกระดาษ , พลาสติก ขวดนม ขวดเพท , ขวดนา้
ขวดนา้ เกลือ , กระป๋ องนา้ ดืม่ ทุกชนิด , ขวดยา ( ยกเว้ น
ขวดยาเคมีบาบัด , ขวดวัคซีน ) , แกลลอนทุกขนาด
กาหนดจุดเก็บแยกตามชนิด / ถังใหญ่ สีเหลือง/
ถุงพลาสติกสี ขาว
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ขยะชนิดต่ าง ๆ
แนวทางการกาจัดขยะมูลฝอยในศูนย์ หัวใจสิ ริกติ ์ิ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
หน่ วยงาน
- บุคลากร
- ผู้ป่วย
- ญาติ
- ขยะติดเชื้อ
- ขยะไม่ ติดเชื้อ
- ขยะพิเศษ ( 5 ชนิด )
1. ขยะของมีคม
2. ขยะสารพิษ
3. ขยะสารเคมีจากห้ องปฏิบัติการ/อืน่ ๆ
4. ขยะนากลับมาใช้ อกี ( รีไซเคิล )
5. ชิ้นส่ วนอวัยวะทีต่ ัดออกจากร่ างกายมนุษย์
แยกประเภทของขยะ
กาหนดบริเวณทีต่ ้ังของขยะใน
หน่ วยงาน
ทิง้ ขยะให้ ถูกประเภท
เก็บรวบรวมขยะ
ขนส่ งขยะ
การพักขยะ
เทศบาล/คณะแทยศาสตร์
- ในหน่ วยงาน
- เส้ นทาง
- ความปลอดภัย
- กาหนดเวลา
- ทีพ่ กั ขยะ
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การปฏิบัติสาหรับบุคลากรเพือ่ ป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล
1. ล้ างมือทุกครั้งก่ อนและหลังการปฏิบัติงาน
2. สวมเครื่องป้ องกันร่ างกายทีเ่ หมาะสม เช่ น ถุงมือยางอย่ างหนา ผ้ าปิ ดปาก &
ปิ ดจมูก เสื้อคลุม รองเท้ าบูทก่ อนเก็บและรวบรวมขยะ
3. ปฏิบัตงิ านด้ วยความระมัดระวัง
4. เมือ่ เกิดอุบัตเิ หตุถูกของมีคมทิม่ ตาให้ รีบล้ างมือและปฐมพยาบาลเบือ้ งต้ นและ
ติดต่ อพยาบาลเฝ้ าระวังและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล ( ICN )
หมายเหตุ บุคลากรทีป่ ฏิบัติงานเกีย่ วข้ องกับการกาจัดขยะควรตรวจสุ ขภาพ
ประจาปี
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
วิธีการกาจัดขยะมูลฝอย
1. จัดเตรียมอุปกรณ์ ในการกาจัดขยะมูลฝอย
 ถุงพลาสติกสี ต่าง ๆ ตามทีก
่ าหนด
 แกลลอน / กล่ องพลาสติกสี แดง
 ถังขยะรองรั บขยะมูลฝอย เป็ นประเภทมีฝาปิ ดและใช้ เท้ าเหยียบปิ ด – เปิ ด
 อุปกรณ์ สาหรั บป้องกันร่ างกายของผู้ปฏิบัตงิ าน : ถุงมือยางอย่ างหนา ,
ผ้ ากันเปื้ อนพลาสติกหรือเสื้อคลุม , รองเท้ าบูท , ผ้ าปิ ดปาก & ปิ ดจมูก ,
ปากคีบหรือคีมคีบ , หมวกคลุมผม
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
วิธีการกาจัดขยะมูลฝอย ( ต่ อ )
 รถเข็นขยะมูลฝอย ใช้ เฉพาะการเข็นขยะมูลฝอยห้ ามนาไปใช้ กจ
ิ กรรมอืน่
 รถเข็นขยะติดเชื้อ ใช้ เฉพาะการเข็นขยะติดเชื้อห้ ามนาไปใช้ กจ
ิ กรรมอืน่
 ชุ ดอุปกรณ์ ทาความสะอาด : ผงซักฟอก , แปรงขัดทาความสะอาด ฯลฯ
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
วิธีการกาจัดขยะมูลฝอย ( ต่ อ )
2. การแยกเก็บขยะมูลฝอยและภาชนะบรรจุ
 ขยะทั่วไปไม่ ติดเชื้อ : ใส่ ถุงพลาสติกดา
 ขยะติดเชื้อ
: ใส่ ถุงพลาสติกแดง
 ขยะถุงมือใช้ แล้ วทิง้
: ใส่ ถุงพลาสติกแดง & เขียนป้าย “ ถุงมือ ” ติดถุง
 ขยะของมีคม
: ใส่ แกลลอน / กล่องพลาสติกสี แดง
 ขยะสารพิษ
: ใส่ ถุงพลาสติกเหลือง
 ขยะนากลับมาใช้ อก
ี ( รีไซเคิล ) : ใส่ กล่องกระดาษ/ใส่ ถังสี เหลือง/ถุงสี ขาว
 ชิ้นส่ วนอวัยวะทีต
่ ัดออกจากร่ างกายมนุษย์ : ใส่ ถุงสี แดง
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
วิธีการกาจัดขยะมูลฝอย ( ต่ อ )
 ขยะทีเ่ ป็ นนา้ เลือด นา้ หนอง : เทลงในชั กโครกและราดนา้ ตามมาก ๆ
3. เมื่อบรรจุขยะมูลฝอยได้ 3 ใน 4 ของถุงให้ รวบคอถุงและปิ ดปาก
ถุงด้ วยเชือกฟางให้ แน่ น
4. นาถุงไปวางทีพ่ กั ขยะ
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

การปฏิบัตเิ มื่อมีขยะมูลฝอยตกหล่น
1. เก็บขยะมูลฝอยทีต่ กหล่ นด้ วยคีมคีบหรือสวมถุงมือยางอย่ าง
หนาเก็บ ขยะมูลฝอยติดเชื้อใส่ ในถุงพลาสติกสี แดง
2. ถ้ ามีสารนา้ ให้ ใช้ กระดาษชาระซับออกให้ มากทีส่ ุ ดและทิง้
กระดาษนั้นลงในถุงพลาสติกสี แดง
3. ใช้ นา้ ยาฆ่ าเชื้อ 70 % แอลกอฮอล์ ราดบริเวณนั้นจากด้ าน
นอกเข้ าสู่ ด้านในและทิง้ ไว้ 30 นาที ก่ อนเช็ดถูตามปกติ
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

การขนส่ งและการรวบรวมขยะมูลฝอยไปเรือนพักขยะมูลฝอย
ควรปฏิบัตดิ งั นี้
1. สวมเครื่องป้องกันขณะจัดการขยะติดเชื้อ ได้ แก่ สวมถุงมือยางหนา สวม
รองเท้ าบูท ผ้ าปิ ดปาก & ปิ ดจมูก หมวก ผ้ ากันเปื้ อนพลาสติก
2. ปฏิบัติตามขั้นตอนอย่ างถูกวิธี โดยตรวจถุงขยะติดเชื้อก่อนเคลือ่ นย้ ายว่ ามี
ถุงรั่วหรือไม่ ถุงรั่วผูกถุงด้ วยเชือกให้ เรียบร้ อย การยกถุงขยะให้ จับทีค่ อ
ถุงบริเวณทีผ่ ูกเชือก ยกห่ างจากตัว ห้ ามแบก ห้ ามอุ้มลาก การวางถุงให้
ระมัดระวัง วางปากถุงตั้งขึน้ ห้ ามโยน หรือเอาของหนักทับ
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

การขนส่ งและการรวบรวมขยะมูลฝอยไปเรือนพักขยะมูลฝอย ( ต่ อ )
3. การวางถุงขยะติดเชื้อบนรถเข็นขยะ ถ้ ามีความจาเป็ นต้ องขนขยะติดเชื้อ
พร้ อมกับขยะทัว่ ไปจะต้ องวางถุงขยะไว้ คนละด้ าน
4. เมื่อบรรจุขยะติดเชื้อเต็มรถ หรือเก็บขยะติดเชื้อหมดแล้วให้ เข็นขยะไปยัง
เรือนพักขยะทันทีห้ามแวะหรือพักที่ใด
5. ควรขนขยะตามเวลาที่กาหนด โดยมีเส้ นทางทีแ่ น่ นอน
6. เมื่อถึงเรือนพักขยะ เข็นรถเข้ าเรือนพักขยะ ยกถุงขยะติดเชื้อลงจากรถแล้ว
วางเรียงไว้ ในเรือนพักขยะอย่ างระมัดระวัง ไม่ โยนถุงขยะ
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

การขนส่ งและการรวบรวมขยะมูลฝอยไปเรือนพักขยะมูลฝอย ( ต่ อ )
7. การวางถุงขยะติดเชื้อ ณ ทีพ่ กั ขยะให้ วางรวมกัน แยกห่ างจากขยะทัว่ ไป
8. ล้างรถเข็นขยะทุกวัน โดยนา้ และผงซักฟอกให้ สะอาด
9. เมื่อเสร็จสิ้นภารกิจประจาวันให้ ถอดถุงมือยางหนา ผ้ ากันเปื้ อน รองเท้ าบูท
ซักล้างให้ สะอาดด้ วยนา้ และผงซักฟอก
10. บุคลากรควรล้างมือและอาบนา้ ทันทีหลังจากเสร็จสิ้นภารกิจ
นภาพร ปัญโญวัฒน์ ( ICN ) 7 – 9 พฤศจิกายน 2554
การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การรวบคอถุงและมัดปากถุงด้ วยเชือกฟาง




ถุงสี ดา
ถุงสี แดง
ถุงสี เหลือง
ถุงสี ขาว
ใช้ เชือกฟางสี ....................
ใช้ เชือกฟางสี ....................
ใช้ เชือกฟางสี ....................
ใช้ เชือกฟางสี ....................