แนวทางการพัฒนา ระบบการประกันค ุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันค ุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ส ุภาพร ธรรมสอน ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๑

Download Report

Transcript แนวทางการพัฒนา ระบบการประกันค ุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันค ุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ส ุภาพร ธรรมสอน ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๑

แนวทางการพัฒนา
ระบบการประกันค ุณภาพภายในของสถานศึกษา
ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันค ุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓
ส ุภาพร ธรรมสอน
ศึกษานิเทศก์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๑
กฎกระทรวง
ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๓
ระบบการประกันค ุณภาพภายใน...
ประกอบด้วย
๑. การประเมินคุณภาพภายใน
๒. การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
๓. การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
กฎกระทรวง
ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๓
การประเมินค ุณภาพภายใน
หมายความว่า
การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม และ
การตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา...กระทาโดยบุคลากรของสถานศึกษานัน้
หรือหน่วยงานต้นสังกัด
กฎกระทรวง
ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๓
การประเมินค ุณภาพภายนอก
หมายความว่า
การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม และการ
ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา...
กระทาโดย สมศ. หรือผูป้ ระเมินภายนอก
กฎกระทรวง
ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๓
การพัฒนาค ุณภาพการศึกษา
หมายความว่า
กระบวนการพัฒนาการศึกษาเข้าสูค
่ ุณภาพที่สอดคล้องกับ
มาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยการกาหนดมาตรฐาน
การศึกษา การจัดระบบและโครงสร้าง การวางแผน
และการดาเนินงานตามแผน รวมทัง้ การสร้างจิตสานึก...
และความรับผิดชอบร่วมกันท ุกคน
กฎกระทรวง
ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๓
การติดตามตรวจสอบค ุณภาพการศึกษา
หมายความว่า
กระบวนการติดตามตรวจสอบความก้าวหน้าของ
การปฏิบตั ิตามแผน...และจัดทารายงานการติดตาม
ตรวจสอบ...พร้อมทัง้ เสนอมาตรการเร่งรัด
การพัฒนาค ุณภาพการศึกษา
กฎกระทรวง
ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๓
การประกันค ุณภาพภายใน
หมายความว่า
การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาจากภายในโดยบุคลากรของ
สถานศึกษานัน้ เอง หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มหี น้าที่
กากับดูแลสถานศึกษานัน้
กฎกระทรวง
ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๓
หมวด ๑ บททัว่ ไป
ข้อ ๗
สถานศึกษาต้องนาผลการประเมินค ุณภาพ
ทัง้ ภายในและภายนอกไปประกอบการจัดทา
แผนการพัฒนาค ุณภาพของสถานศึกษา
กฎกระทรวง
ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๓
หมวด ๒ ส่วนที่ ๑
ข้อ ๑๔
ให้สถานศึกษาขัน้ พื้นฐานจัดให้มีระบบการประกัน
ค ุณภาพภายในตามหลักเกณฑ์และ
แนวปฏิบตั ิ ๘ ประการ โดยยึดหลักการมีสว่ นร่วม
ของช ุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ระบบการประกันค ุณภาพการศึกษาภายในขัน้ พื้นฐาน
(๑) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
(๒) จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาที่มง่ ุ เน้นค ุณภาพตาม
มาตรฐาน
(๓) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
(๔) ดาเนินงานตามแผนพัฒนาของสถานศึกษา
(๕) จัดให้มีการตรวจสอบและทบทวนค ุณภาพการศึกษา
(๖) จัดให้มีการประเมินค ุณภาพภายในตามมาตรฐานของ
สถานศึกษา
(๗) จัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมินค ุณภาพภายใน
(๘) จัดให้มีการพัฒนาค ุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
กฎกระทรวง
ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๓
(๑)
(๒)
(๓)
(๔)
หมวด ๓ การประกันคุณภาพภายนอก
ข้อ ๓๘
การประกันคุณภาพภายนอกครอบคลุมหลักเกณฑ์ ต่อไปนี้
มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รียน
เป็ นสาคัญ
มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน
แนวทางการพัฒนา
ระบบการประกันค ุณภาพภายในของสถานศึกษา
การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของ
สถานศึกษายึดหลักการ ๓ ประการ คือ
๑. การกระจายอานาจ
๒. การเปิ ดโอกาสการมีสว่ นร่วมในการทางาน
๓. การแสดงภาระรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
การประกันคุณภาพการศึกษาจึงมีกระบวนการ
ดาเนินการที่สมั พันธ์ตอ่ เนือ่ งกัน ๓ ขัน้ คือ
องค์ประกอบของระบบการประกันค ุณภาพภายในของสถานศึกษา
การประเมิน
ค ุณภาพภายใน
การประกัน
ค ุณภาพ
ภายใน
การพัฒนาค ุณภาพ
การศึกษา
การติดตาม
ตรวจสอบค ุณภาพ
การศึกษา
วิธีการพัฒนาพัฒนาระบบ
การประกันค ุณภาพภายในสถานศึกษา
๑.กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๒.จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มง่ ุ ค ุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๓.จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
๔.ดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
๕.จัดให้มีการติดตามตรวจสอบค ุณภาพการศึกษา
๖.จัดให้มีการประเมินค ุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา
๗.จัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมินค ุณภาพภายใน
๘.จัดให้มีการพัฒนาค ุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
บทบาทหน้าที่และภารกิจสาคัญ
ผูบ้ ริหารสถานศึกษา
๑.เตรียมความพร้อม
ศึกษาแนวคิด
สร้างความตระหนัก
กาหนดนโยบาย
เป้าหมาย จัดระบบ
สารสนเทศและพัฒนา
บุคลากร
๒.ดาเนินการ
ปฏิบตั ติ ามแผน
๓.ประเมินผล
วิเคราะห์
จุดเด่น จุดที่ควร
พัฒนา สรุปและ
รายงาน
๔.ปรับปร ุงและพัฒนา
บทบาทหน้าที่และภารกิจสาคัญ
ครูผูส้ อน
๑.เตรียมความ
พร้อม
ศึกษาแนวคิด
จัดระบบสารสนเทศ
กาหนดเป้าหมาย
จัดทาแผนการจัดการ
เรียนรู้ แผนงาน/
โครงการและจัดทา
คู่มอื ดาเนินงาน
๒.ดาเนินการ
จัดการเรียนรู้
ดาเนินการ
แผนงานและ
โครงการ
๓.ประเมินผล
วิเคราะห์
จุดเด่น จุดที่ควร
พัฒนา สรุปและ
รายงาน
๔.ปรับปร ุงและพัฒนา
บทบาทหน้าที่และภารกิจสาคัญ
นักเรียน
กาหนดเป้าหมาย
การพัฒนาของ
ตนเอง
ให้ความร่วมมือ
การจัดกิจกรรม
ให้ขอ้ มูล
ด้านต่าง ๆ
แก่ผเ้ ู กี่ยวข้อง
บทบาทหน้าที่และภารกิจสาคัญ
คณะกรรมการสถานศึกษา ช ุมชน ผูป้ กครอง/องค์กรภาครัฐ
จัดระบบข้อมูลและ
สารสนเทศ
จัดทานโยบาย
เป้าหมาย/
มาตรฐาน/ตัว
บ่งชี้/วิธีการ/
คมู่ ือดาเนินการ
ติดตามตรวจสอน
ศึกษา/ประเมิน
สถานศึกษา
สนับสน ุน
ส่งเสริม ให้
ขวัญกาลังใจ
เผยแพร่
ประชาสัมพันธ์
การประกันคุณภาพ
สถานศึกษาต้องทาอะไรบ้าง
ตามกฎกระทรวง
๑. ต้องจัดให้มีระบบประกันคุณภาพฯ
๒. ต้องดาเนิ นการต่อเนื่ องเป็ นปกติ
๓. ต้องทารายงาน
ระบบประกันคุณภาพที่เสนอแนะ
P – Plan
D – Do
C – Check
A - Act
P
A
D
C
การจัดทารายงานประจาปี
-
เสนอหน่ วยงานต้นสังกัด
เสนอหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง
เปิ ดเผยต่อสาธารณะ
เตรียมรับการประเมินจาก สมศ.
เนื้ อหาในรายงานประจาปี
๑. ข้อมูลพื้นฐาน
๒. แผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
๓. ผลการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
ในรอบปี
๔. การพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต
๑. ข้อมูลพื้นฐาน
๑.๑ ข้อมูลทัว่ ไป
๑.๒ ข้อมูลด้านการบริหาร
๑.๓ ข้อมูลนักเรียน
๑.๔ ข้อมูลบุคลากร
๑.๕ สภาพชุมชนโดยรวม ๑.๖ โครงสร้างหลักสูตร
๑.๗ ข้อมูลด้านอาคารสถานที่๑.๘ ข้อมูลด้านงบประมาณฯ
๑.๙ แหล่งเรียนรู/้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการใช้
๑.๑๐ ผลการดาเนิ นงานในรอบปี ที่ผ่านมา
๑.๑๑ ผลการประเมินคุณภาพภายนอก
๒. แผนพัฒนาคุณภาพ
สถานศึกษา
๒.๑ ปรัชญาและวิสยั ทัศน์
๒.๒ แผนพัฒนาคุณภาพ
สถานศึกษา
๓. ผลการพัฒนาคุณภาพ
สถานศึกษาในรอบปี
๓.๑ มาตรฐานด้านคุณภาพผูเ้ รียน
๓.๒ มาตรฐานด้านการเรียนการสอน
๓.๓ มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการ
๓.๔ มาตรฐานด้านการพัฒนาชุมชน
แห่งการเรียนรู ้
๓.๕ มาตรฐานอื่นๆ
สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ ได้ดงั นี้
มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้
ระดับคุณภาพ
ตัวบ่งชี้
มาตรฐานที่ ๑ ผูเ้ รียนมีคณ
ุ ธรรม จริยธรรม และค่านิ ยมที่พึงประสงค์
๑.๑ มีวินัย มีความรับผิดชอบและปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมเบื้องต้นของศาสนาที่ตนนับถือ
สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ ได้ดงั นี้
๑.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๑.๓ มีความกตัญญูกตเวที
๑.๔ มีเมตตากรุ ณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเสียสละเพื่อส่วนรวม
๑.๕ ประหยัด รู จ้ กั ใช้ทรัพย์ส่ ิงของส่วนตน และส่วนรวมอย่างคุม้ ค่า
๑.๖ ภูมิใจในความเป็นไทย เห็นคุณค่าในภูมิปัญญาไทย นิ ยมไทยและดารงไว้ซ่ ึงความเป็นไทย
ระดับคุณภาพ
มาตรฐาน
๔.สรุปผลการพัฒนาและ
การนาผลไปใช้
๑. สรุปผลการดาเนิ นกิจกรรม / โครงการใน
ภาพรวม
๒. จุดเด่นและจุดควรพัฒนา
๓. แนวทางการพัฒนาคุณภาพในอนาคต
๔. ความต้องการการสนับสนุนและช่วยเหลือ
มาตรฐานการศึกษา
ขัน้ พื้นฐาน
ตารางเปรียบเทียบมาตรฐานการศึกษาขัน้ พื้นฐานกับตัวบ่งชี้การประเมินค ุณภาพสมศ.
มาตรฐาน ของ สพฐ. (ด้านค ุณภาพผูเ้ รียน)
ตัวบ่งชี้ สมศ.
กลมุ่
มาตรฐานที่ ๑ ผูเ้ รียนมีค ุณธรรม จริยธรรม และ
ค่านิยมที่พึงประสงค์
มาตรฐานที่ ๒ ผูเ้ รียนมีจิตสานึกในการอน ุรักษ์
และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานที่ ๓ ผูเ้ รียนมีทกั ษะในการทางาน
รักการทางาน สามารถ ทางานร่วมกับผูอ้ ื่น และ
มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพส ุจริต
มาตรฐานที่ ๔ ผูเ้ รียนมีความสามารถในการ
คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์มีวิจารณญาณ มี
ความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสยั ทัศน์
มาตรฐานที่ ๕ ผูเ้ รียนมีความรแ้ ู ละทักษะที่จาเป็ น
ตามหลักสูตร
มาตรฐานที่ ๖ ผูเ้ รียนมีทกั ษะในการแสวงหา
ความรด้ ู ว้ ยตนเองรักการเรียนรูแ้ ละพัฒนา
ตนเองอย่างต่อเนื่อง
มาตรฐานที่ ๗ ผูเ้ รียนมีส ุขนิสยั ส ุขภาพกาย และ
ส ุขภาพจิตที่ดี
๒. ผูเ้ รียนมีค ุณธรรม จริยธรรมและ
ค่านิยมที่พึงประสงค์
๒. ผูเ้ รียนมีค ุณธรรม จริยธรรมและ
ค่านิยมที่พึงประสงค์
๔. ผูเ้ รียนคิดเป็ น ทาเป็ น
กลมุ่ ตัวบ่งชี้
พื้นฐาน
๔. ผูเ้ รียนคิดเป็ น ทาเป็ น
๕. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
ผูเ้ รียน
๓. ผูเ้ รียนมีความใฝ่รู้ และเรียนร ้ ู
อย่างต่อเนื่อง
๑. ผูเ้ รียนมีส ุขภาพกายและ
ส ุขภาพจิตที่ดี
มาตรฐาน
ตาม
กฎกระทรวง
มาตรฐานที่ ๑
ผลการจัด
การศึกษา
ตารางเปรียบเทียบมาตรฐานการศึกษาขัน้ พื้นฐานกับตัวบ่งชี้การประเมินค ุณภาพสมศ.
มาตรฐาน ของ สพฐ.
(ด้านการเรียนการสอน)
ตัวบ่งชี้ สมศ.
มาตรฐานที่ ๙ ครูมคี ณ
ุ ธรรม
๖. ประสิทธิผลของการ
จริยธรรม มีวฒ
ุ ิ/ความรูค้ วามสามารถ จัดการเรียนการสอนที่เน้น
ตรงกับงานที่รบั ผิดชอบ หมัน่ พัฒนา
ผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ
ตนเอง เข้ากับชุมชน ได้ดี และมีครู
พอเพียง
มาตรฐานที่ ๑๐ ครูมคี วามสามารถ
ในการจัดการเรียนการสอนอย่างมี
ประสิทธิภาพและเน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ
กลมุ่
กลุม่ ตัวบ่งชี้
พื้นฐาน
มาตรฐาน
ตาม
กฎกระทรวง
มาตรฐาน
ที่ ๒
การสอนที่เน้น
ผูเ้ รียนเป็ น
สาคัญ
ตารางเปรียบเทียบมาตรฐานการศึกษาขัน้ พื้นฐานกับตัวบ่งชี้การประเมินค ุณภาพสมศ.
มาตรฐาน ของ สพฐ.
(ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา)
ตัวบ่งชี้ สมศ.
มาตรฐานที่ ๑๑ ผูบ้ ริหารมีค ุณธรรม
๗. ประสิทธิภาพของการบริหาร
จริยธรรม มีภาวะผูน้ า และมีความสามารถ จัดการและการพัฒนา
ในการบริหารจัดการศึกษา
สถานศึกษา
มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัด
องค์กร โครงสร้าง ระบบการบริหารงานและ
พัฒนาองค์กรอย่างเป็นระบบครบวงจร
มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริหาร
และจัดการศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน
มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัด
หลักสูตร และกระบวนการเรียนรูท้ ี่เน้น
ผูเ้ รียนเป็นสาคัญ
มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัด
กิจกรรมส่งเสริมค ุณภาพผูเ้ รียนอย่าง
หลากหลาย
มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษามีการจัด
สภาพแวดล้อมและการบริการที่สง่ เสริมให้
กลมุ่
กลมุ่ ตัวบ่งชี้
พื้นฐาน
มาตรฐาน
ตาม
กฎกระทรวง
มาตรฐานที่
๒
การบริหาร
จัด
การศึกษา
ตารางเปรียบเทียบมาตรฐานการศึกษาขัน้ พื้นฐานกับตัวบ่งชี้การประเมินค ุณภาพสมศ.
มาตรฐาน ของ สพฐ.
(ด้านการพัฒนาช ุมชน
แห่งการเรียนรู)้
ตัวบ่งชี้ สมศ.
มาตรฐานที่ ๑๗ สถานศึกษามีการสนับสนนุ ๗. ประสิทธิภาพของการ
และใช้แหล่งเรียนรูแ้ ละ
บริหารจัดการและการพัฒนา
ภ ูมิปัญญาในท้องถิ่น
สถานศึกษา
มาตรฐานที่ ๑๘ สถานศึกษามีการร่วมมือ
กันระหว่างบ้าน องค์กร
ทาง
ศาสนา สถาบันทางวิชาการ และองค์กร
ภาครัฐและเอกชน เพื่อพัฒนาวิถีการเรียนรู้
ในช ุมชน
กลมุ่
กลมุ่ ตัวบ่งชี้
พื้นฐาน
มาตรฐาน
ตาม
กฎกระทรวง
มาตรฐาน
ที่ ๒
การบริหารจัด
การศึกษา
ตารางเปรียบเทียบมาตรฐานการศึกษาขัน้ พื้นฐานกับตัวบ่งชี้การประเมินค ุณภาพสมศ.
ข้อมูลสารสนเทศ/โครงการกิจกรรม
ผลการประเมินค ุณภาพภายในสถานศึกษา
โดยสถานศึกษาและต้นสังกัด
ตัวบ่งชี้ สมศ.
๘. พัฒนาการของการประกันค ุณภาพ
ภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด
กลมุ่
กลมุ่ ตัวบ่งชี้
พื้นฐาน
มาตรฐาน
ตาม
กฎกระทรวง
มาตรฐานที่ ๑
ผลการจัด
การศึกษา
ข้อมูลสารสนเทศเกีย่ วกับโครงการกิจกรรม ๙. ผลการพัฒนาให้บรรล ุตามปรัชญา
กลมุ่ ตัวบ่งชี้
มาตรฐานที่ ๑
ปณิธาน พันธกิจ และวัตถ ุประสงค์ของ
ที่ดาเนินงานและผลจากการดาเนินงาน
อัตลักษณ์
ผลการจัด
การจัดตัง้ สถานศึกษา
การศึกษา
ข้อมูลสารสนเทศเกีย่ วกับโครงการกิจกรรม ๑๐. ผลการพัฒนาตามจ ุดเน้นและจุดเด่น
ที่สง่ ผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของ
ที่ดาเนินงานและผลจากการดาเนินงาน
สถานศึกษา
ข้อมูลสารสนเทศเกีย่ วกับโครงการกิจกรรม ๑๑. ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษ
กลมุ่ ตัวบ่งชี้
มาตรฐานที่ ๑
ที่ดาเนินงานและผลจากการดาเนินงาน
เพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา
มาตรการส่งเสริม
ผลการจัด
การศึกษา
ข้อมูลสารสนเทศเกีย่ วกับโครงการกิจกรรม ๑๒. ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษา
กลมุ่ ตัวบ่งชี้
มาตรฐานที่ ๒
เพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน
ที่ดาเนินงานและผลจากการดาเนินงาน
มาตรการส่งเสริม การบริหารจัด
และพัฒนาสูค
่ วามเป็ นเลิศ ที่สอดคล้องกับ
การศึกษา
แนวทางการปฏิร ูปการศึกษา
รูปแบบการประเมิน
มีร ูปแบบการประเมิน ๕ ร ูปแบบ ดังนี้
๑. การประเมินเชิงปริมาณ ได้แก่
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ , ๒.๓ , ๓.๑ , ๓.๒ , ๔.๑ , ๔.๒ และ ๖.๒
๒. การประเมินเชิงปริมาณและเชิงพัฒนาการ ได้แก่
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ , ๕.๑ – ๕.๘ และ ๘
๓. การประเมินเชิงปริมาณและเชิงค ุณภาพ ได้แก่
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ และ ๒.๒
๔. การประเมินเชิงค ุณภาพ ได้แก่
ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ , ๗ , ๙ , ๑๐ และ ๑๒
๕. การประเมินเชิงค ุณภาพและการพิจารณาผลการเปลี่ยนแปลง
ที่เกิดขึ้น (Better)ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑
การประเมินเชิงปริมาณ
ตัวบ่ งชี้ที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่ านิยมทีพึง่ งป ะระคงค
ประเมินเชิงปริมาณ
ตัวบ่ งชี้ที่ ๕ ผลคั มฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
การประเมินเชิงค ุณภาพ
การประเมินเชิงค ุณภาพ
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖ ะระคิ ทธิผลการจัดการเรียนการคอน
ทีเ่ น้ นผู้เรียนเะ็ นคาคัญ
ตัวบ่ งชี้ที่ ๙ ผลการพึงัฒนาให้ บรรลุตามะรัชญา ะณิธาน พึงันธกิจ และ
วัตถุะระคงค ของการจัดตั้งคถานศปกษา
ตัวบ่ งชี้ที่ ๘ พึงัฒนาการของการะระกันคุณภาพึงภายในโดยคถานศปกษา
ตัวบ่ งชี้ที่ ๙ ผลการพึงัฒนาให้ บรรลุตามะรัชญา ะณิธาน พึงันธกิจ และ
วัตถุะระคงค ของการจัดตั้งคถานศปกษา
การรับรองมาตรฐานค ุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ตารางเปรียบเทียบ มาตรฐานตามกฎกระทรวง มาตรฐานการศึกษา
ขัน้ พื้นฐาน (สพฐ.) กับ มาตรฐานเพื่อการประเมินค ุณภาพภายนอก (สมศ.)
ตารางเปรียบเทียบ มาตรฐานตามกฎกระทรวง มาตรฐานการศึกษา
ขัน้ พื้นฐาน (สพฐ.) กับ มาตรฐานเพื่อการประเมินค ุณภาพภายนอก (สมศ.)
สวัสดี