ดาว์นโหลดเอกสาร

Download Report

Transcript ดาว์นโหลดเอกสาร

เตรียมความพร้ อมระบบประกันคุณภาพภายใน
เพือ่ รองรับการประเมินภายนอกรอบสาม
โดย
ดร.สมชาย สั งข์ สี
(หากนาไปใช้ กรุณาเขียน Comment ให้ ด้วย)
1.ระบบประกันคุณภาพภายใน
2.ประเมินภายนอกรอบสาม
ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เป็ นไปตาม พรบ.กศ 42 (สอดคล้องกับ ม.48,50 และ51)
เป็ นไปตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ
(ว่ าด้ วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคณ
ุ ภาพการศึกษา พ.ศ.2553)
กฎกระทรวงศึกษาธิการ
(ว่ าด้ วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคณ
ุ ภาพการศึกษา พ.ศ.2553)
หมวด 1
บททัว่ ไป
ข้ อ 3 ระบบการประกันคุณภาพภายในเพือ่ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ
พัฒนามาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ต้ องประกอบด้ วย
(1) การประเมินคุณภาพภายใน
(2) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
(3) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพ
(QC)
กระบวนการ
ปรับปรุ ง
คุณภาพ
การประเมินคุณภาพ
• ภายใน (IQA)
• ภายนอก (EQA)
การประกันคุณภาพ
(Quality Assurance)
กระบวนการพัฒนา
สู่ คุณภาพ
กระบวนการ
ตรวจสอบ
คุณภาพ
การตรวจติดตามคุณภาพ
(QAu)
กฎกระทรวงศึกษาธิการ (ว่ าด้ วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553)
ข้ อ 14 ให้ สถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานจัดให้ มรี ะบบการประกันคุณภาพภายในตามหลักเกณฑ์
และแนวปฏิบัตเิ กีย่ วกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
โดยดาเนินการดังต่ อไปนี้
การ
พัฒนา
คุณภาพ
การศึกษา
การติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษา
การประเมิน
คุณภาพภายใน
(1) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
(2) จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่ม่ ุงคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
(3) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
(4) ดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
(5) จัดให้ มกี ารติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
(6) จัดให้ มกี ารประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
(7) จัดทารายงานประจาปี ทีเ่ ป็ นรายงานประเมินคุณภาพภายใน
(8) จัดให้ มกี ารพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่ างต่ อเนื่อง
แนวทางการดาเนินการตามระบบการประกันคุณภาพภายใน
การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ สถานศึกษายึดหลักการมีส่วนร่ วมของ
ชุ มชนและหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยการ
ส่ งเสริม สนับสนุน และกากับดูแลของหน่ วยงานต้ นสั งกัด
สถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานทีไ่ ม่ สามารถปฏิบัติงานบางประการตามที่กาหนด
ในวรรคหนึ่งได้ ให้ หน่ วยงานต้ นสั งกัดหรือสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
แล้วแต่ กรณี ประกาศผ่ อนผันการปฏิบัติและวางแนวทางในการประกัน
คุณภาพภายในให้ เหมาะสมกับสภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
นั้นแล้วรายงานให้ รัฐมนตรีทราบ
แนวทางการปฏิบัตติ ามระบบการประกันคุณภาพภายใน
(1) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ใช้ มาตรฐานของต้ นสั งกัด 18 มฐ. ++ ตบช.
ทีจ่ าเป็ นให้ สอดคล้ อง กับ สมศ. ทั้งปฐมวัย/
ประถมและมัธยม
(2) จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาทีม่ ่ งุ คณ
ุ ภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
1.แผนพัฒนาคุณภาพ (ยุทธศาสตร์ 3-5ปี )
2.แผนปฏิบตั ิการประจาปี
(3) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
1.ข้ อมูลผู้เรียน จานวน / ผลสั มฤทธิ์
2.ข้ อมูลครู /บุคลากร
3.ข้ อมูลทรัพยากรเพือ่ การจัดการเรียนรู้
เงิน/แหล่ งเรียนรู้/ภูมปิ ัญญา/สื่ อ/อุปกรณ์
(4) ดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจัด
การศึกษาของสถานศึกษา
ดาเนินการตามแผนงาน / โครงการ กิจกรรม ตามที่
กาหนดไว้ ร่ วมกันอย่ างจริงจังและอย่ างต่ อเนื่อง
แนวทางการปฏิบัตติ ามระบบการประกันคุณภาพภายใน
5.การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
แต่ งตั้งคณะกรรมการติดตามตรวจสอบ
ความก้ าวหน้ าของการปฏิบัติตามแผนการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษา และให้ มหี น้ าทีจ่ ัดทา
รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษา พร้ อมทั้งเสนอแนะมาตรการเร่ งรัด
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
6.จัดให้ มกี ารประเมินคุณภาพภายในตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
แต่ งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน
โดยให้ บุคลากรของสถานศึกษานั้นหรือโดย
หน่ วยงานต้ นสั งกัดทีม่ หี น้ าทีก่ ากับดูแล
สถานศึกษาเป็ นคณะกรรมการประเมิน
(7) จัดทารายงานประจาปี ทีเ่ ป็ นรายงานประเมิน
คุณภาพภายใน
(8) จัดให้ มกี ารพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่ างต่ อเนื่อง
นาผลการประเมินมาสรุปเป็ น SAR รายงานต่ อ ต้ น
สังกัด หน่ วยงานที่เกีย่ งข้ อง สาธารณชน และใช้ ผล
ประเมินเป็ นฐานการพัฒนาในปี ต่ อไปโดยดาเนินการ
อย่ างต่ อเนื่อง
(2) จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาทีม่ ่ งุ คณ
ุ ภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ข้ อ 16 การจัดทา แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามข้ อ 14 (2)
ให้ ดาเนินการดังต่ อไปนี้
1) ศึกษาสภาพปัญหาและความต้ องการทีจ่ าเป็ นของสถานศึกษาอย่ างเป็ นระบบ
2) กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าหมาย และความสาเร็จของการพัฒนาไว้ อย่าง
ชัดเจนและเป็ นรู ปธรรม
3) กาหนดวิธีดาเนินงานทีม่ หี ลักวิชา ผลการวิจัย หรือข้ อมูลเชิงประจักษ์ ทอี่ ้างอิงได้
ให้ ครอบคลุมการพัฒนาหลักสู ตรสถานศึกษาด้ านการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้
กระบวนการเรียนรู้ การส่ งเสริมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การพัฒนา
บุคลากร และการบริหารจัดการ เพือ่ นาไปสู่ มาตรฐานการศึกษาที่กาหนดไว้
(2) จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาทีม่ ่ งุ คณ
ุ ภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (ต่ อ)
4) กาหนดแหล่งวิทยาการภายนอกทีใ่ ห้ การสนับสนุนทางวิชาการ
5) กาหนดบทบาทหน้ าทีใ่ ห้ บุคลากรของสถานศึกษาและผู้เรียน
รับผิดชอบและดาเนินงานตามทีก่ าหนดไว้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
6) กาหนดบทบาทหน้ าทีแ่ ละแนวทางการมีส่วนร่ วมของบิดา มารดา
ผู้ปกครองและองค์ กรชุมชน
7) กาหนดการใช้ งบประมาณและทรัพยากรอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
8) จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี
การประเมินภายนอก
“การประเมินคุณภาพภายนอก” หมายความว่ า การ
ประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา
การติดตาม และการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งกระทาโดย
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (องค์ การมหาชน) หรือผู้ประเมินภายนอก
สมศ.ประเมินภายนอกตามกฎกระทรวง
กฎกระทรวงศึกษาธิการ ว่ าด้ วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน
คุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 กาหนดให้ สมศ.ประเมินสถานศึกษาแต่ ละ
แห่ งตามมาตรฐานชาติและให้ ครอบคลุมเรื่องดังนี้
มาตรฐานการศึกษาชาติ
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทยที่
พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมือง และพลโลก
มาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ 3 แนวการสร้ างสั งคมแห่ งการ
เรียนรู้ /สั งคมแห่ งความรู้
มาตรฐานตามกฎกระทรวง
1.มาตรฐานทีว่ ่ าด้ วยผลการจัดการศึกษา
ในแต่ ละระดับและประเภทการศึกษา
2.มาตรฐานทีว่ ่ าด้ วยการบริหารจัดการ
3.มาตรฐานทีว่ ่ าด้ วยการจัดการเรียนการ
สอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
4.มาตรฐานทีว่ ่ าด้ วยการประกันคุณภาพ
ภายใน
มาตรฐานการศึกษาชาติ (3 มาตรฐาน)
มาตรฐานตามกฎกระทรวง
1.มาตรฐานที่ว่าด้ วยผลการจัดการศึกษาในแต่ ละระดับและประเภทการศึกษา
2.มาตรฐานที่ว่าด้ วยการบริหารจัดการ
3.มาตรฐานที่ว่าด้ วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
4.มาตรฐานที่ว่าด้ วยการประกันคุณภาพภายใน
มาตรฐานเพือ่ การประกัน
คุณภาพภายใน หรือ
มาตรฐานของต้ นสั งกัด
(สพฐ.18 มาตรฐาน ++)
สอดคล้อง
ตัวบ่ งชี้เพือ่ การ
ประเมินภายนอกรอบ 3
( 3 กลุ่ม 12 ตัวบ่ งชี้ )
การพัฒนาตัวบ่ งชี้สาหรับการประเมินรอบ 3
1.กาหนด ตบช.มุ่งผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ
2.คานึงลักษณะประเภทสถานศึกษา
3.เน้ น ตบช.ทั้งคุณภาพและปริมาณ ทั้งเชิงบวกและลบ
4.ตระหนักถึงปัจจัย ข้ อจากัด วัฒนธรรม และความเป็ นไทย
5.ให้ มี ตบช.เท่ าทีจ่ าเป็ นโดยเพิม่ ตบช.อัตลักษณ์ และ
มาตรการส่ งเสริม
6.คานึงถึงความเชื่อมโยงประกันภายในและการประเมิน
ภายนอก
ตัวบ่ งชี้สาหรับการประเมินรอบ 3
1.กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (8 ตบช.)
2. กลุ่มตัวบ่ งชี้อตั ลักษณ์ (2 ตบช.)
3. กลุ่มตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม (2 ตบช.)
1.ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีด่ ี
(10)
2.ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่ านิยมทีพ่ งึ ประสงค์ (10)
1.กลุ่ม
ตัวบ่ งชี้
พืน้ ฐาน
3.ผู้เรียนมีความใฝ่ รู้ และเรียนรู้อย่ างต่ อเนื่อง
(10)
4.ผู้เรียนคิดเป็ น ทาเป็ น
(10)
5.ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
(20)
มาตรฐานที่ 1
ผลการจัด
การศึกษา
6.ประสิ ทธิผลของการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ น
สาคัญ
(10)
มาตรฐานที่ 3 การจัดการ
เรียนการสอนทีเ่ น้ น
ผู้เรียนเป็ นสาคัญ
7. ประสิ ทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา
สถานศึกษา
มาตรฐานที่ 2 การบริหาร
จัดการ
(5)
8. พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษา
และต้ นสั งกัด
(5)
มาตรฐานที่ 4 การ
ประกันคุณภาพภายใน
2.กลุ่มตัวบ่ งชี้
อัตลักษณ์
3.กลุ่มตัวบ่ งชี้
มาตรการ
ส่ งเสริม
9. ผลการพัฒนาสถานศึกษาให้ บรรลุ
ปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุ
ประสงค์ ของการจัดตั้งสถานศึกษา (5)
10.ผลการพัฒนาตามจุดเน้ นและจุดเด่ น
ทีส่ ่ งผลสะท้ อนเป็ นเอกลักษณ์ ของ
สถานศึกษา
(5)
11.ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพือ่
ส่ งเสริมบทบาทสถานศึกษา
(5)
12.ผลการส่ งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพือ่ ยกระดับ
มาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนาสู่ ความเป็ นเลิศ
เพือ่ ให้ สอดคล้องกับแนวปฏิรูปการศึกษา
(5)
มาตรฐานที่ 1
ผลการจัด
การศึกษา
มาตรฐานที่ 1
ผลการจัด
การศึกษา
มาตรฐานที่ 2
การบริหารจัดการ
รูปแบบการประเมินรอบ 3
1.การประเมินเชิงปริมาณ
2. การประเมินเชิงปริมาณและเชิงพัฒนา
3. การประเมินเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
4. การประเมินเชิงคุณภาพ
5. การประเมินเชิงคุณภาพและการพิจารณาผลการ
เปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ (Better)
1.การประเมินเชิงปริมาณ
1.การประเมินเชิงปริมาณ (นา้ หนัก 4 คะแนน)
คิดจากค่ าร้ อยละของผลสาเร็จ เช่ น
นักเรียน 100 คน มีนา้ หนัก ส่ วนสู ง ตามเกณฑ์ 90 คน = 90%
นักเรียน 100 คน เป็ นผู้ปลอดสิ่ งเสพติด
96 คน = 96%
เฉลีย่
93%
การคิดคะแนน 93 X นา้ หนัก/100 = (93 X 4)/100 = 3.72 จาก 4.00
2. การประเมินเชิงพัฒนา
2.การประเมินเชิงพัฒนาการ (ตบช.1.1 นา้ หนัก 1 คะแนน)
คิดจากการเปรียบเทียบผลการประเมินรอบ 3 กับ ผลสาเร็จของปี ก่อนรั บการ
ประเมิน 1-2ปี (ดูข้อมูลจาก SAR หรื อข้ อมูลสุขภาพ)
ต.ย. กรณีที่ 1 ประเมินรอบ 3 ค่ าเฉลีย่ 93% = ดีมาก
แล้ วดูผลสาเร็จย้ อนหลัง 2 ปี (จาก SAR หรื อข้ อมูลสุขภาพ)
มีค่าเฉลีย่ ตั้งแต่ ร้อยละ 90 ขึ้นไป (ดีมาก) ถือว่ ามีพฒ
ั นาการ ได้ 1 คะแนน
รวมคะแนน ตบช. 1.1 นาคะแนนการประเมินเชิงปริมาณ + คะแนนการ
ประเมินเชิงพัฒนา = (3.72+1) = 4.72 จาก 5.00
2. การประเมินเชิงพัฒนา
ต.ย. กรณีที่ 2 หาก ผลประเมินรอบ 3 ค่ าเฉลีย่ ต่ากว่ า 90%
หรือ ต่ากว่ าดีมาก เช่ น ได้ 88 % แล้ วดูผลสาเร็จย้ อนหลัง 1
ปี ถ้ าปี ที่ผ่านมาเปรียบเทียบกับผลประเมินรอบ 3 แล้ ว น้ อย
กว่ า ร้ อยละ 15 ถือว่ าไม่ มีพฒ
ั นาการ คะแนน (0.00)
หาก สู งกว่ าปี ทีผ่ ่ านมาตั้งแต่ ร้อยละ 15 ถือว่ ามีพฒ
ั นาการ
ได้ 1.00 คะแนน
2. การประเมินเชิงพัฒนา
2.การประเมินเชิงพัฒนาการ (นา้ หนัก 0.50 คะแนน)
คิดจากการเปรียบเทียบผลการประเมินรอบ 3(เชิงปริมาณ) กับ ผลสาเร็จของปี ทีผ่ ่ าน
มา (ก่อนรับการประเมิน 1 ปี ) โดยดขู ้ อมลู จาก สารสนเทศทางวิชาการ หรื อ ป.พ.5
ต.ย. กรณีมาตรฐานที่ 5 มีการพิจารณาแต่ ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้
ภาษาไทย
ค่ าเฉลีย่ ปี
ประเมิน
รอบ 3
60 %
ป.3
(ผลโรงเรียน เกรดตั้งแต่ 3-4)
ผู้ทมี่ ผี ลการทดสอบ
ระดับดี
90%
ป.6
(ผล O-net)
ผู้ทมี่ ผี ลการ
ทดสอบระดับดี
55%
ม.3
(ผล O-net)
ผู้ทมี่ ผี ลการ
ทดสอบระดับดี
45%
ม.6
(ผล O-net)
ผู้ทมี่ ผี ลการ
ทดสอบระดับดี
50%
2. การประเมินเชิงพัฒนา
ผล ตบช 5.1 ประกอบด้วย การประเมิน เชิงปริมาณ 2 คะแนน+ เชิงพัฒนาการ 0.50 คะแนน)
ภาษาไทย ค่ าเฉลีย่ ปี ประเมินรอบ 3 ได้ 60 % = เชิงปริมาณ 1.20 คะแนน
(60X2/100)
ภาษาไทย ค่ าเฉลีย่ ปี ก่อนรับการประเมิน ได้ 55 %
สรุ ป ภาษาไทย ค่ าเฉลีย่ สู งขึน้ ร้ อยละ 5 มีการตัดสิ นดังนี้
ค่ าเฉลีย่ จากผลการประเมินรอบ 3 สู งขีน้ กว่ าปี ทีผ่ ่ านมา
คะแนนทีไ่ ด้ 0.50
ค่ าเฉลีย่ จากผลการประเมินรอบ 3 เท่ ากับ ปี ทีผ่ ่ านมา
คะแนนทีไ่ ด้ 0.25
ค่ าเฉลีย่ จากผลการประเมินรอบ 3 ต่ากว่ าปี ที่ผ่านมา
คะแนนทีไ่ ด้ 0.00
รวมคะแนน ภาษาไทย (เชิงปริมาณ 1.20 +เชิงพัฒนา 0.50) = 1.70
3. การประเมินเชิงคุณภาพ
3.การประเมินเชิงคุณภาพ (นา้ หนัก 3 คะแนน)
พิจารณาจากองค์ ประกอบที่กาหนด
เช่ น กาหนดไว้ 3 องค์ ประกอบ(ข้ อ)
ปฏิบัตไิ ด้ 1 ข้ อ ได้ 1 คะแนน
ปฏิบัตไิ ด้ 2 ข้ อ ได้ 2 คะแนน
ปฏิบัติได้ 3 ข้ อ ได้ 3 คะแนน
(กรณีนีไ้ ม่ มกี ติกาทีใ่ ห้ ปฏิบัตเิ รียงลาดับของแต่ ละข้ อ)
3. การประเมินเชิงคุณภาพ
3.การประเมินเชิงคุณภาพ (นา้ หนัก 2 คะแนน)
พิจารณาจากองค์ ประกอบที่กาหนด
เช่ น กาหนดไว้ 9 องค์ ประกอบ(ข้ อ1-9)
ปฏิบัติได้ 1-3 ข้ อ ได้ 0 คะแนน
ปฏิบัตไิ ด้ 4-6 ข้ อ ได้ 1 คะแนน
ปฏิบัตไิ ด้ 7-9 ข้ อ ได้ 2 คะแนน
(กรณีมขี ้ อกาหนดไว้ ว่า ผู้เรียนส่ วนใหญ่ ร้อยละ 90
มีคุณลักษณะเป็ นผู้เรียนทีด่ ี ตาม 9 องค์ ประกอบ)
4. การพิจารณาผลการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ (Better)
เป็ นการดูการเปลีย่ นแปลงของการพัฒนาทีด่ ขี นึ้ จาก
การแก้ ปัญหาผู้เรียน โรงเรียน ชุมชน ท้ องถิ่น และ/
หรือ การนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปจัดการ
เรียนการสอน/การบริหาร การพัฒนาหลักสู ตร การ
จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การพัฒนาบุคลากร
โดยพิจารณาจากจานวนโครงการที่สถานศึกษา
ดาเนินการแล้ วมีผลการเปลีย่ นแปลงทีด่ ขี ึน้ (Better)
เกณฑ์ การให้ คะแนนการเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึน้ (Better)
เช่ น โรงเรียนจัดทาโครงการเพือ่ แก้ปัญหาของผู้เรียน โรงเรียน
ชุ มชน ท้ องถิ่น และ จัดโครงการ กิจกรรมพัฒนาสถานศึกษา
จานวน 20 โครงการ มีผลการประเมินโครงการทีเ่ ป็ นการพัฒนา
หรือการเปลีย่ นแปลงทีด่ ีขนึ้ ตามวัตถุประสงค์ จานวน 15 โครงการ
คิดเป็ น ร้ อยละ 75
คะแนน
เกณฑ์ การประเมิน
1
ตั้งแต่ ร้อยละ 50-74 ของโครงการทีม่ ีการเปลีย่ นแปลงดีขึน้
2
ตั้งแต่ ร้อยละ 75 ขึน้ ไป ของโครงการทีม่ ีการเปลีย่ นแปลงดีขนึ้
3
สถานศึกษาสามารถเป็ นแบบอย่างของการเปลีย่ นแปลงที่ดีขึน้
(เป็ นแหล่ งเรียนรู้ ศึกษาดูงาน การเผยแพร่ องค์ ความรู้ )
ผู้บริหารต้ องทาอะไร เพือ่ เตรียมความพร้ อม
เพือ่ รองรับการประเมินรอบ 3
1.รู้ เรา พัฒนาสถานศึกษาตามระบบการประกัน
คุณภาพภายในของ สพฐ.
2.รู้ เขา ศึกษาแนวทางการประเมินภายนอกรอบ 3
3.ผสมผสาน บูรณาการตัวบ่ งชี้การประกันภายในและ
ประเมินภายนอกเพือ่ การพัฒนาคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ผู้บริหารต้ องทาอะไร เพือ่ เตรียมความพร้ อม
เพือ่ รองรับการประเมินรอบ 3
1. เตรียม แผนงาน โครงการ สารสนเทศ การกากับติดตาม
ประเมินผล ให้ ครบถ้ วนทุกด้ าน ตามหลักวิชาการ
2. เตรียมเอกสารตามระบบงาน 4 ฝ่ าย
3. ดาเนินการร่ วมกับคณะกรรมการสถานศึกษา/ต้ นสั งกัด/
ชุมชน/ผู้ปกครอง
4. ตรวจสอบผลสั มฤทธิ์
5. เตรียมครู
6. เตรียมใจ
ครู ต้องทาอะไร เพือ่ เตรียมความพร้ อม
เพือ่ รองรับการประเมินรอบ 3
1. เตรียม แผนการสอน/หลักสู ตร/สื่ อ/ข้ อมูลผู้เรียน
2. นาข้ อมูลผู้เรียนมาทาสารสนเทศชั้นเรียน/วิชาที่รับผิดชอบ
3. ออกแบบการเรียนรู้ ให้ ให้ สมกลุ่ม เก่ ง ปานกลาง อ่ อน หรือ
รายบุคคล
5. เตรียมห้ องเรียน สื่ อ แบบประเมิน ผลการประเมิน การใช้ ผล
ประเมิน การซ่ อมเสริม
6. เตรียมเอกสารทางวิชาการที่พฒ
ั นาขึน้ สื่ อ นวัตกรรมการเรียนรู้
ที่ใช้ แก้ ปัญหาชั้นเรียน 1 คน/1วิชาที่รับผิดชอบ
7.เตรียมร่ างกาย จิตใจ ให้ พร้ อม