(พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘)ระดับการศึกษาปฐมวัย(๒

Download Report

Transcript (พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘)ระดับการศึกษาปฐมวัย(๒

คู่มือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
(พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘)
ระดับการศึกษาปฐมวัย(๒-๕ ปี )
ฉบับสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization)
1
หลักการพัฒนาตัวบ่งชี้
๑. ก าหนดตัว บ่ ง ชี้ ที่ มุ่ ง การประเมิ น ผลผลิ ต ผลลัพ ธ์ แ ละผลกระทบ
มากกว่าปัจจัยนาเข้าและกระบวนการ
๒. คานึ งถึงลักษณะและประเภทของสถานศึกษา (สิ่งที่ มี สิ่งที่ เป็ นไปได้
และสิ่งที่เป็ นหัวใจ)
๓. เน้ นตัวบ่งชี้ทงั ้ คุณภาพ ปริมาณ ทัง้ เชิงบวกและลบ
๔. ตระหนักถึงความสาคัญของปัจจัย ข้อจากัด ตลอดจนวัฒนธรรม และ
ความเป็ นไทย
๕. ให้มีตวั บ่งชี้พืน้ ฐานเท่าที่จาเป็ น แต่ยงั คงอานาจจาแนก
โดยเพิ่มตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์และตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม
๖. คานึ งถึงความเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพ
ภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก
๑๐ เมษายน ๒๕๕๘
2
ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายใน
และการประเมินคุณภาพภายนอก
๑๐ เมษายน ๒๕๕๘
3
แนวคิดและทิศทาง
วงจรที่ 1:
วงจรที่ 2:
เด็กเป็ นศูนย์ กลางการเรี ยนรู้
การจัดการเรี ยนรู้
วงจรที่ 3:
การบริหารจัดการ และทรัพยากร
หลักสูตร การจัดการเรียนการสอน
พัฒนาการ
<3
3 ปีปี
ปั จจัย
ภายใน
ปั จจัย
ภายนอก
Individual สิ่งแวดล้ อม
Differences วัฒนธรรม
เช่น พื ้นอารมณ์
Learning Style พื ้นฐาน
พันธุกรรม ฯลฯ ครอบครัว
การ
เรี ยนรู้
< 3 ปี
เรี ยนรู้ตงแต่
ั้
เกิด
โครงสร้ างหลักสูตร
สาระการเรี ยนรู้
ปฏิสมั พันธ์
บรรยากาศ
การเล่น
3-5 ปี
ผู้บริหาร
- มีภาวะผู้นา และวิสยั ทัศน์
- มีความสามารถใน
การบริ หารจัดการ
-มีคณ
ุ วุฒิทางการศึกษา
ตามเกณฑ์ที่กาหนด
ครู ผู้ดูแลเด็ก
ประสบการณ์สาคัญ
สาระที่ควรเรี ยนรู้
การจัดประสบการณ์
การประเมินพัฒนาการ
33-5
ปี
- มีคณ
ุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์
- มีความรู้ ความสามารถตรง
กับงานที่รับผิดชอบ
วงจรที่4:
ผลการจัดการศึกษา
คุณลักษณะ
ที่พงึ ประสงค์
การเชื่อมต่ อของ
การจัดการศึกษา
สถานรับเลีย้ งเด็ก
พ่ อแม่ ชุมชน
-มีการสื่อสาร ให้ ความ
ร่ วมมือ ส่งเสริ มกิจกรรมกับ
สถานพัฒนาเด็ก
โรงเรียนอนุบาล
ทรัพยากร
สิ่งอานวยความสะดวก
เพื่อการศึกษา
-มีแหล่งเรี ยนรู้ ภายในและ
ภายนอก สาหรับครู และเด็ก
-มีสื่อการเรี ยนการสอน
-ห้ องพยาบาล ห้ องให้ นมแม่
-ห้ องส่งเสริ มพัฒนาการ
โรงเรียนประถม
5
การประเมินภายใน/ ภายนอก
แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
ระดับการศึกษาปฐมวัย (๒-๕ ปี )
๑. ประเมินอิงเกณฑ์ตามจุดเน้นของสถานศึกษา
๒. ประเมิ นผลการจัดการศึกษาที่ เชื่ อมโยงสัมพันธ์กบั กระบวนการจัดการศึกษา ซึ่ ง
หมายรวมถึ ง การจัด การเรี ย นการสอนที่ เ น้น ผูเ้ รี ย นเป็ นส าคัญ การบริ ห ารจัด
การศึกษา และการประกันคุณภาพภายใน
๓. ประเมินโดยวิธีการและข้อมูลทั้งเชิ งปริ มาณ เชิ งคุณภาพ และเชิ งพัฒนาการโดย
พิชญพิจารณ์ (Peer Review)
๔. ประเมินโดยการยืนยันรายงานการประเมินตนเองที่ถูกต้องเชื่อถือได้ เพื่ อกระตุน้
ให้การประกันคุณภาพภายในมีความเข้มแข็งยิง่ ขึ้น
๕. ลดจานวนตัวบ่งชี้และจานวนมาตรฐานสาหรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดย
ถ่ายโอนตัวบ่งชี้และมาตรฐานเกี่ยวกับปั จจัยนาเข้าและกระบวนการให้อยูใ่ นระบบ
การประกันคุณภาพภายใน
6
นิยามศัพท์ ที่ สมศ. กาหนดใช้
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘)
ระดับการศึกษาปฐมวัย (๒-๕ ปี ) ได้ กาหนดนิยามศัพท์ เฉพาะไว้ ดังนี้
• เด็ก หมายถึง เด็กปฐมวัยที่มีอายุระหว่างสองปี ถึงไม่เกินหกปี บริ บูรณ์ที่อยูใ่ น
สถานศึกษา
• ครู หรื อผู้เลี้ยงดูเด็ก หมายถึ ง บุคคลที่ ทาหน้ าที่หลัก ในการอบรมเลี้ยงดูและ
พัฒนาการเรี ยนรู ้ จัดกระบวนการเรี ยนรู ้ และส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ให้แก่เด็กใน
สถานศึ ก ษาระดับ ปฐมวัย ทั้ง ของรั ฐ และของเอกชนด้ว ยวิ ธี ก ารต่ า งๆให้
สอดคล้อ งกับ พัฒ นาการตามวัย ของเด็ ก อาจเรี ย กชื่ อ เป็ นอย่ า งอื่ น แล้ว แต่
ข้อกาหนดของหน่วยงานต้นสังกัดหรื อหน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษา
• ผู้ช่วยครู หรื อผู้ช่วยผู้เลี้ยงดูเด็ก หมายถึง บุคคลที่ ทาหน้ าที่เป็ นผู้ช่วยครู หรื อ
ผู้เลีย้ งดูเด็ก ในการจัดอบรมเลี้ยงดูและพัฒนาการเรี ยนรู ้ให้แก่เด็กในสถานศึกษา
ระดับปฐมวัยตามแนวทางที่ผูบ้ ริ หารสถานศึกษากาหนด เพื่อให้การจัดอบรม
เลี้ยงดูและพัฒนาเด็กเป็ นไปด้วยความราบรื่ นเรี ยบร้อย อาจเรี ยกชื่อเป็ นอย่างอื่น
แล้วแต่ขอ้ กาหนดของหน่วยงานนั้นๆ
7
• ผู้ใหญ่ หมายถึง ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็ก และหรื อ ผูช้ ่วยครู หรื อผูช้ ่วยผูเ้ ลี้ยงดูเด็ก
• ผู้บริ หารสถานศึ กษา หมายถึ ง บุ คคล หรื อกลุ่มบุ คคลที่ รับผิดชอบ หรื อได้รับ
มอบหมายให้รับผิดชอบกากับดูแลการดาเนิ นงานของสถานศึกษาให้เป็ นไปตาม
นโยบายและวัตถุ ประสงค์ของการจัดตั้ง รวมทั้งการส่ งเสริ มและสนับสนุ นให้
บุคลากรในความรับผิดชอบปฏิบตั ิหน้าที่ในการดูแลและพัฒนาเด็กอย่างเต็มกาลัง
และความสามารถ
• สถานศึ กษา หมายถึ ง สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรี ยน ศูนย์การเรี ยน หรื อ
หน่วยงานอื่นของรัฐหรื อของเอกชน ที่มีอานาจหน้าที่หรื อมีวตั ถุประสงค์ในการจัด
อบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาแก่เด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กได้รับ การพัฒนาทั้งด้าน
ร่ างกาย อารมณ์ จิ ตใจ สังคม และสติปัญญา ตามวัยและความสามารถของแต่ละ
บุคคลซึ่ งอาจเรี ยกชื่ อเป็ นอย่างอื่นแล้วแต่ขอ้ กาหนดของหน่ วยงานต้นสังกัดหรื อ
หน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษา
• ศู นย์ พฒ
ั นาเด็ก หมายถึง สถานศึกษาที่จดั การศึกษาระดับปฐมวัย ตามมาตรา ๑๘
(๑) และ ๑๘(๓) ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.๒๕๕๒ แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับ ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ ซึ่ งอาจมี ชื่อเรี ย กแตกต่ างกัน เช่ น ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์
พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์เลี้ยงเด็ก ศูนย์พฒั นาเด็กก่อนเกณฑ์ของสถาบันศาสนา ศูนย์
พัฒนาเด็กก่อนวัยเรี ยน ศูนย์พฒั นาเด็กปฐมวัย สถานรับเลี้ยงเด็กปฐมวัย สถานรับ
8
เลี้ยงและพัฒนาเด็ก หรื อเรี ยกชื่ออย่างอื่นตามกาหนดของหน่วยงานที่จดั ตั้ง
คาชี้แจง
เนื่องจากเด็กแต่ละวัยมีความสามารถหรื อคุณลักษณะตามวัยแตกต่างกัน
การประเมินคุณภาพภายนอก จึงแบ่งเด็กช่วงอายุ ๒-๕ ปี ออกเป็ น ๒
กลุ่มอายุ โดยกาหนดใช้สญ
ั ลักษณ์ ดังนี้
* หมายถึง เกณฑ์สาหรับเด็กวัย ๒-๓ ปี (เด็กวัย ๒-๓ ปี หมายถึง เด็กที่มี
อายุต้ งั แต่ ๒ ปี บริ บูรณ์ถึงเด็กอายุ ๓ ปี บริ บูรณ์)
** หมายถึง เกณฑ์สาหรับเด็กวัย ๓-๕ ปี (เด็กวัย ๓-๕ ปี หมายถึง เด็กที่มี
อายุต้ งั แต่ ๓ ปี ขึ้นไปถึงเด็กอายุ ๕ ปี ๑๑ เดือน ๒๙ วัน)
9
ทั้งนี้ อายุของเด็กที่กาหนดนี้ เป็ นอายุประมาณการของเด็กที่น่าจะสามารถ
แสดงพฤติกรรมนั้นได้เมื่อประมาณอายุน้ นั ไม่ใช่เป็ นอายุตายตัว ขึ้นอยู่
กับ ความสามารถและศัก ยภาพของเด็ก แต่ ล ะบุ ค คลตามพื้ น ฐานของ
สภาพแวดล้อม การอบรมเลี้ยงดู และประสบการณ์ที่เด็กได้รับตั้งแต่
แรกเกิด พฤติกรรมของเด็กจึงเป็ นไปตามความแตกต่างระหว่างบุคคล
โดยจะมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ค่อยเป็ นค่อยไป และค่อยๆพัฒนา
**กรณี ที่ ส ถานศึ ก ษาจั ด ชั้ น เรี ย นของเด็ ก ทุ ก ช่ วงอายุ ร วมเป็ นกลุ่ ม
เดียวกัน สถานศึกษาต้องจัดหาสัญลักษณ์ติดให้กบั เด็กเพื่อเป็ นเครื่ อง
สังเกตให้ผูป้ ระเมิ นภายนอกได้ทราบช่ วงอายุของเด็กด้วยว่าอยู่ในวัย
๒-๓ ปี หรื อ ๓- ๕ ปี
10
คานิยามของกลุ่มตัวบ่ งชี้
แบ่งเป็ น ๓ กลุ่มตัวบ่งชี้ จานวนทัง้ หมด ๑๒ ตัวบ่งชี้ ดังนี้
๑. กลุ่มตัวบ่งชี้พืน้ ฐาน ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ที่ ๑-๘
๒. กลุ่มตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์ ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ที่ ๙ และ ๑๐
๓. กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑
และ ๑๒
11
หลักเกณฑ์ การกาหนดตัวบ่ งชี้
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึ ก ษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้ อ ๓๘ ซึ่ ง ก าหนดให้ สมศ. ท าการประเมิ น
คุณภาพภายนอกสถานศึ กษาแต่ ละแห่ งตามมาตรฐานการศึ กษาของ
ชาติและครอบคลุมหลักเกณฑ์ในเรื่องดังต่อไปนี้ คือ
๑) มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษาในแต่ละระดับและ
ประเภทการศึกษา
๒) มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการศึกษา
๓) มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้ น
ผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ
๔) มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน
12
มาตรฐานที่ ๑ ว่ าด้ วยผลการจัดการศึกษา
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม การประเมินมาตรฐานนี้ดว้ ยตัวบ่งชี้พ้ืนฐาน
๕ ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์ ๒ ตัวบ่งชี้ และตัวบ่งชี้มาตรการส่ งเสริ ม ๑ ตัวบ่งชี้ ดังนี้
ตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน
ตัวบ่งชี้ที่ ๑ เด็กมีพฒั นาการด้านร่ างกายสมวัย
ตัวบ่งชี้ที่ ๒ เด็กมีพฒั นาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย
ตัวบ่งชี้ที่ ๓ เด็กมีพฒั นาการด้านสังคมสมวัย
ตัวบ่งชี้ที่ ๔ เด็กมีพฒั นาการด้านสติปัญญาสมวัย
ตัวบ่งชี้ที่ ๕ เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในขั้นต่อไป
13
ตัวบ่ งชี้อัตลักษณ์
ตัวบ่งชี้ ที่ ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุเป้ าหมายตามปรั ชญา ปณิ ธาน พันธกิ จและ
วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์
ของสถานศึกษา
ตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม
ตัว บ่ ง ชี้ ที่ ๑๑ ผลการด าเนิ น การโครงการพิ เ ศษเพื่ อ ส่ ง เสริ มบทบาทของ
สถานศึกษา
14
มาตรฐานที่ ๒ ว่ าด้ วยการบริหารจัดการศึกษา
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
ประเมินมาตรฐานนี้ดว้ ยตัวบ่งชี้พ้นื ฐาน ๑ ตัวบ่งชี้ และ
ตัวบ่งชี้มาตรการส่ งเสริ ม ๑ ตัวบ่งชี้ ดังนี้
ตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน
ตัวบ่งชี้ที่ ๗ ประสิ ทธิภาพของการบริ หารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา
ตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม
ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒ ผลการส่ งเสริ มพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษา
มาตรฐาน และพัฒนาสู่ ความเป็ นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
15
มาตรฐานที่ ๓ ว่ าด้ วยการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
ประเมินมาตรฐานนี้ดว้ ยตัวบ่งชี้พ้นื ฐาน ๑ ตัวบ่งชี้
ตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน
ตัวบ่งชี้ที่ ๖ ประสิ ทธิผลการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ที่เน้นเด็กเป็ นสาคัญ
16
มาตรฐานที่ ๔ ว่ าด้ วยการประกันคุณภาพภายใน
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
ประเมินมาตรฐานนี้ดว้ ยตัวบ่งชี้พ้นื ฐาน ๑ ตัวบ่งชี้ ดังนี้
ตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน
ตัวบ่งชี้ที่ ๘ ประสิ ทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน
17
ภาพรวมการกาหนดนา้ หนักตัวบ่ งชี้
ตัวบ่งชี้
กลุ่มตัวบ่งชี้
พืน้ ฐาน
กลุ่มตัวบ่งชี้
อัตลักษณ์
กลุ่มตัวบ่งชี้
มาตรการส่งเสริม
น้ าหนัก (คะแนน)
๑. เด็กมีพฒ
ั นาการด้านร่างกายสมวัย
๕
๒. เด็กมีพฒ
ั นาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย
๕
๓. เด็กมีพฒ
ั นาการด้านสังคมสมวัย
๔. เด็กมีพฒ
ั นาการด้านสติปญั ญาสมวัย
๕
๑๐
๕. เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในขันต่
้ อไป
๑๐
๖. ประสิทธิผลการจัดประสบการณ์การเรียนรูท้ เ่ี น้นเด็กเป็ นสาคัญ
๓๕
๗. ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา
๑๕
๘. ประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน
๕
๙. ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของ
การจัดตัง้ สถานศึกษา
๒.๕
๑๐. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นทีส่ ่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
๒.๕
๑๑. ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพือ่ ส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา
๒.๕
๑๒. ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพือ่ ยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน
และพัฒนาสูค่ วามเป็ นเลิศ เพือ่ ให้สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรปู การศึกษา
๒.๕
18
ข้ อมูลการดาเนินงานของสถานศึกษา
ที่ใช้ ประกอบการพิจารณา
ข้อมูลทีใ่ ช้ในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
(พ.ศ.๒๕๕๔ – ๒๕๕๘) ระดับการศึกษาปฐมวัย (๒-๕ ปี)
ใช้ข้อมูลผลการดาเนินงานเฉลีย่ ๓ ปี
การศึกษาย้อนหลังก่อนการประเมิน
(กรณีสถานศึกษาเปิดใหม่ทม่ี กี ารดาเนินงานไม่ครบ ๓ ปีการศึกษา ให้ใช้
ข้อมูลผลการดาเนินงานเฉลีย่ ๒ ปีการศึกษาล่าสุด หรือหากมีการ
ดาเนินงานไม่ครบ ๒ ปีการศึกษา ให้ใช้ผลการดาเนินงาน ๑ ปีการศึกษา
ล่าสุดก่อนการประเมิน)
19
รูปแบบการประเมิน
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘) ระดับ
การศึกษาปฐมวัย (๒-๕ ปี ) มีรูปแบบการประเมิน ๔ รู ปแบบ ดังนี้
๑) การประเมิ น เชิ ง ปริ มาณ ได้แ ก่ ตัว บ่ ง ชี้ ที่ ๑.๑-๑.๒ , ๒.๑-๒.๒ ,
๓.๑-๓.๒ , ๔.๑-๔.๔ และ ๕.๑-๕.๒
๒) การประเมินเชิงปริ มาณและเชิงพัฒนาการ ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ ๘.๒
๓) การประเมินเชิงคุณภาพ ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑-๖.๖, ๗.๑-๗.๖ , ๘.๑ , ๙,
๑๐ และ ๑๒
๔) การประเมินเชิ งคุณภาพและการพิจารณาผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
(Better) ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑
20
ภาพรวม
กลุ่มตัวบ่ งชี้เพือ่ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามระดับการศึกษาปฐมวัย (๒-๕ ปี )
ตัวบ่งชี้
มาตรฐานตามกฎกระทรวงฯ
๑. เด็กมีพฒ
ั นาการด้านร่างกายสมวัย
๒. เด็กมีพฒ
ั นาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย
๓. เด็กมีพฒ
ั นาการด้านสังคมสมวัย
๔. เด็กมีพฒ
ั นาการด้านสติปญั ญาสมวัย
กลุ่มตัวบ่งชี้
พื้นฐาน
๕. เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในขัน้ ต่อไป
๖. ประสิทธิผลการจัดประสบการณ์การเรียนรูท้ เ่ี น้นเด็กเป็ นสาคัญ
มาตรฐานที่ ๒
การจัดการเรียนการสอน
ที่เน้ นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ
๗. ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา
มาตรฐานที่ ๓
การบริหารจัดการศึกษา
๘. ประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน
กลุ่มตัวบ่งชี้
อัตลักษณ์
กลุ่มตัวบ่งชี้
มาตรการส่งเสริม
มาตรฐานที่ ๑
ผลการจัดการศึกษา
๙. ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตัง้
สถานศึกษา
๑๐. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นทีส่ ง่ ผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
๑๑. ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพือ่ ส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา
๑๒. ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพือ่ ยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และ
พัฒนาสูค่ วามเป็ นเลิศ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรปู การศึกษา
มาตรฐานที่ ๔
การประกันคุณภาพภายใน
มาตรฐานที่ ๑
ผลการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ ๑
ผลการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ ๓
การบริหารจัดการศึกษา 21
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน
ตัวบ่ งชี้
ที่
ชื่อตัวบ่ งชี้
นา้ หนัก
(คะแนน)
๑
เด็กมีพฒั นาการด้านร่ างกายสมวัย
๕
๒
เด็กมีพฒั นาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย
๕
๓
เด็กมีพฒั นาการด้านสังคมสมวัย
๕
๔
เด็กมีพฒั นาการด้านสติปัญญาสมวัย
๑๐
๕
เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในขั้นต่อไป
๑๐
๖
ประสิ ทธิผลการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ที่เน้นเด็กเป็ นสาคัญ
๓๕
๗
ประสิ ทธิภาพของการบริ หารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา
๑๕
๘
ประสิ ทธิ ผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน
๕
22
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน
กลุ่ ม ตั ว บ่ ง ชี้ พื้น ฐาน หมายถึ ง ตัว บ่ ง ชี้ ที่ ป ระเมิ น ภายใต้
ภารกิจของสถานศึกษา โดยกาหนด ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์
การประเมินบนพื้นฐานที่ทุกสถานศึกษาต้องมีและปฏิบตั ิ
ได้ ซึ่ งสามารถชี้ ผลลัพธ์และผลกระทบได้ดี และมีความ
เชื่อมโยงกับการประกันคุณภาพภายใน ซึ่ งเป็ นการพัฒนา
มาจากรอบแรกและรอบสอง ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ที่ ๑-๘
(ค่าน้ าหนัก ๙๐ คะแนน)
23
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑ เด็กมีพฒ
ั นาการด้ านร่ างกายสมวัย
นา้ หนัก ๕ คะแนน
ประกอบด้ วย ๒ ตัวบ่ งชี้ย่อย คือ
ตัวบ่ งชี้
ย่ อยที่
๑.๑
๑.๒
ชื่อตัวบ่ งชี้
เด็กมีสุขภาพกายสมวัย หมายถึง เด็กมีร่างกายสมบูรณ์
แข็งแรง เจริ ญเติบโตอย่างปกติ ระบบต่างๆ ของร่ างกาย
สามารถทางานได้อย่างปกติและมีประสิ ทธิภาพ
เด็กมีสุขนิสัยสมวัย หมายถึง เด็กสามารถดูแลสุ ขอนามัยและ
นา้ หนัก
(คะแนน)
๒.๕
๒.๕
ความปลอดภัยของตนเองได้เหมาะสมตามวัย ซึ่ งจะทาให้เด็กมี
สุ ขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี มีความเป็ นระเบียบ ปราศจากโรค มี
ความปลอดภัยและไม่เสี่ ยงต่ออุบตั ิเหตุและอุบตั ิภยั ต่างๆ
24
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑.๑ เด็กมีสุขภาพกายสมวัย
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงปริมาณ ๒.๕ คะแนน)
• คาอธิบาย
เด็กมีสุขภาพกายสมวัย หมายถึง เด็กมีร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรง เจริ ญเติบโตอย่างปกติ
ระบบต่างๆ ของร่ างกายสามารถทางานได้อย่างปกติและมีประสิ ทธิภาพ
• ประเด็นการพิจารณา
๑) ร้ อยละของเด็กที่มีการเจริญเติบโตสมวัย หมายถึง ร้อยละของเด็กที่มีน้ าหนักส่ วนสู ง
ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข(*/**)
๒) ร้ อยละของเด็กที่มีสมรรถภาพทางร่ างกายสมวัย หมายถึง ร้อยละของเด็กที่ สามารถ
เล่นออกกาลังกายได้ประมาณ ๕ นาที โดยไม่เหนื่ อยง่ายหรื อเล่นออกกาลังกายอย่าง
ต่อเนื่ องได้ประมาณ ๕ นาที (*) เล่นออกกาลังกายได้ประมาณ ๑๐ นาทีโดย ไม่เหนื่อย
ง่ายหรื อเล่นออกกาลังกายอย่างต่อเนื่องได้ประมาณ ๑๐ นาที (**)
๓) ร้ อยละของเด็กที่มีสมรรถภาพทางกลไกสมวัย หมายถึง ร้อยละของเด็กที่สามารถ
เคลื่อนไหวร่ างกายได้อย่างคล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี และหยิบจับสิ่ งของขนาดใหญ่ได้
(*/**) ใช้มือในการหยิบ จับ รับโยนได้ตามวัย (*/**)
25
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑.๒ เด็กมีสุขนิสัยสมวัย
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงปริมาณ ๒.๕ คะแนน)
คาอธิบาย
เด็ ก มี สุ ข นิ สั ย สมวัย หมายถึ ง เด็ ก สามารถดู แ ลสุ ข อนามัย และความ
ปลอดภัยของตนเองได้เหมาะสมตามวัย ซึ่ งจะทาให้เด็กมีสุขภาพและ
คุณภาพชีวิตที่ดี มีความเป็ นระเบียบ ปราศจากโรค มีความปลอดภัยและ
ไม่เสี่ ยงต่ออุบตั ิเหตุและอุบตั ิภยั ต่างๆ
ประเด็นการพิจารณา
๑) ร้ อยละของเด็กที่สามารถดูแลตนเองให้ มีสุขนิสัยที่ดี หมายถึง ร้อย
ละของเด็กที่ลา้ งมือก่อนรับประทานอาหารและหลังเข้าห้องน้ า (*/**)
แปรงฟันหลังรับประทานอาหาร(*/**)
๒) ร้ อยละของเด็กที่รู้ จักหลีกเลี่ยงการกระทาที่นาไปสู่ การบาดเจ็บได้
ตามวัย หมายถึงร้อยละของเด็กที่สามารถปฏิบตั ิตามข้อตกลงเกี่ ยวกับ
ความปลอดภัยในห้องเรี ยนได้ เช่น ไม่ปีนขึ้นไปหยิบของในที่สูง (*/**)
26
ไม่เอานิ้วไปแหย่ในรู ปลัก๊ ไฟ(**)
ตัวบ่ งชี้ที่ ๒ เด็กมีพฒ
ั นาการด้ านอารมณ์ และจิตใจสมวัย
นา้ หนัก ๕ คะแนน
ประกอบด้ วย ๒ ตัวบ่ งชี้ย่อย คือ
ตัวบ่งชี้
ย่อยที่
ชื่อตัวบ่งชี้
น้าหนัก
(คะแนน)
๒.๑
เด็กมีสุขภาพจิตสมวัย หมายถึง เด็กแสดงถึงสภาวะของ
๒.๕
จิตใจที่มคี วามสดชื่น แจ่มใส สามารถควบคุมอารมณ์ ให้
มัน่ คงเป็ น ปกติ มีม นุ ษ ยสัม พัน ธ์ แ ละปฏิบ ัติ กิ จ กรรม
ร่วมกับผูอ้ ่นื ได้ตามวัย
๒.๒ เด็กมีสนุ ทรียภาพสมวัย หมายถึงเด็กแสดงความชื่นชอบต่อ
ธรรมชาติและการเปลีย่ นแปลงทางธรรมชาติ ตอบสนองต่อ
ศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว แสดงถึงความรูส้ กึ ทีเ่ กิดจาก
ประสบการณ์ การเรียนรูท้ เ่ี ด็กได้รบั การฝึกฝนจนเกิดเป็ น
ทักษะ ลักษณะนิสยั และเป็ นรสนิยมในแต่ละบุคคล
๒.๕
27
ตัวบ่ งชี้ที่ ๒.๑ เด็กมีสุขภาพจิตสมวัย
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงปริมาณ ๒.๕ คะแนน)
• คาอธิบาย
เด็กมีสุขภาพจิตสมวัย หมายถึง เด็กแสดงถึงสภาวะของจิตใจที่มีความสดชื่น แจ่มใส สามารถควบคุมอารมณ์ให้มนั่ คง
เป็ นปกติ มีมนุษยสัมพันธ์และปฏิบตั ิกิจกรรมร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ตามวัย
• เกณฑ์ การพิจารณา
๑) ร้ อยละของเด็กที่แสดงความตระหนักในตนเอง หมายถึง ร้อยละของเด็กที่สามารถบอกความต้องการหรื อความ
พอใจของตนเอง (*/**) ตัดสิ นใจเลือกสิ่ งต่างๆได้ (**) บอกชื่อ เพศ สถานภาพและจานวนสมาชิกใน
ครอบครัวของตนได้ (**)
๒) ร้ อยละของเด็กที่มีความรู้สึกที่ดตี ่ อตนเองและผู้อนื่ หมายถึง ร้อยละของเด็กที่ยมิ้ หรื อแสดงความยินดีเมื่อตน
สามารถทาสิ่ งใดได้ (*/**) ยิม้ แสดงท่าทาง หรื อพูดชมเชย ในความสามารถหรื อผลงานของผูอ้ ื่น (**)
๓) ร้ อยละของเด็กที่มีความมุ่งมั่นตั้งใจ หมายถึง ร้อยละของเด็กที่ทากิจกรรมที่เลือกเองจนสาเร็จ(*) ปฏิบตั ิกิจกรรม
ได้ต้งั แต่ตน้ จนสาเร็จโดยไม่ลม้ เลิกกลางคัน (**)
๔) ร้ อยละของเด็กที่สามารถเล่นและปฏิบัตกิ จิ กรรมร่ วมกับผู้อนื่ หมายถึง ร้อยละของเด็กที่สามารถเล่นด้วยตนเองแต่
อยูใ่ กล้เพื่อน (*) เล่นอย่างร่ วมมือและปฏิบตั ิกิจกรรมร่ วมกับเพื่อนได้ (**)
๕) ร้ อยละของเด็กที่มีมนุษยสัมพันธ์ กบั คนคุ้นเคย หมายถึง ร้อยละของเด็กที่มีปฏิสมั พันธ์กบั เพื่อนหรื อผูใ้ หญ่ที่
คุน้ เคยโดยการยิม้ พูดคุย หรื อทักทายได้ตามวัย (*/**)
๖) ร้ อยละของเด็กที่มีความรู้สึกร่ วมกับผู้อนื่ หมายถึง ร้อยละของเด็กที่ร่วมแสดงความรู้สึกตามผูอ้ ื่นหรื อตาม
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เช่น ยิม้ หัวเราะ หรื อ ร้องไห้ตามสถานการณ์ที่ตนรับรู้ (*/**)
28
ตัวบ่ งชี้ที่ ๒.๒ เด็กมีสุนทรียภาพสมวัย
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงปริมาณ ๒.๕ คะแนน)
• คาอธิบาย
เด็กมีสุนทรียภาพสมวัย หมายถึง เด็กแสดงความชื่นชอบต่อธรรมชาติและการ
เปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ ตอบสนองต่อศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว แสดง
ถึงความรู ้สึกที่เกิดจากประสบการณ์
การเรี ยนรู ้ที่เด็กได้รับการฝึ กฝนจนเกิด
เป็ นทักษะ ลักษณะนิสัย และเป็ นรสนิยมในแต่ละบุคคล
• เกณฑ์ การพิจารณา
๑) ร้ อยละของเด็กที่แสดงความชื่นชอบและตอบสนองต่ อศิลปะ ดนตรี และการ
เคลือ่ นไหว หมายถึง ร้อยละของเด็กที่แสดงถึงความสนใจ ชอบ อยากรู้อยากเห็น
มีอารมณ์ร่วมไปกับสี สัน รู ปทรง ของงานศิลปะ เสี ยงดนตรี ท่าทางและจังหวะ
ของการเคลื่อนไหว (*/**)
๒) ร้ อยละของเด็กที่แสดงความชื่นชอบต่ อธรรมชาติ หมายถึง ร้อยละของเด็กที่
แสดงความชื่นชอบ ตื่นตาตื่นใจ สนใจใคร่ รู้ธรรมชาติรอบตัวและปรากฏการณ์
ทางธรรมชาติ (*/**)
29
ตัวบ่ งชี้ที่ ๓ เด็กมีพฒ
ั นาการด้ านสั งคมสมวัย
นา้ หนัก ๕ คะแนน
ประกอบด้ วย ๒ ตัวบ่ งชี้ย่อย คือ
ตัวบ่ งชี้
นา้ หนัก
ชื่อตัวบ่ งชี้
ย่ อยที่
(คะแนน)
๓.๑ เด็กมีวินัยและรู้ ผดิ ชอบสมวัย หมายถึง เด็กสามารถปฏิบตั ิ ตามกฎเกณฑ์ ๒.๕
ข้อบังคับของสถานศึกษาในสิ่ งที่ดีงามและสามารถบอกเหตุผลสะท้อน
ความเข้าใจว่าการกระทาใดถูกหรื อผิดเพื่อฝึ กฝนการดาเนิ นชี วิตให้
สามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุ ข
๓.๒
เด็ก สามารถปรั บตัว เข้ า กับสั ง คมได้ หมายถึ ง เด็ก สามารถนาหลัก
ประชาธิ ปไตยมาใช้ในวิถีชีวิตประจาวันเพื่อการอยู่ร่วมกับผูอ้ ื่ น
ในสังคมได้อย่างเหมาะสมตามวัย
๒.๕
30
ตัวบ่ งชี้ที่ ๓.๑ เด็กมีวนิ ัยและรู้ผดิ ชอบสมวัย
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงปริมาณ ๒.๕ คะแนน)
• เกณฑ์การพิจารณา
๑) ร้อยละของเด็กที่มีความรับผิดชอบ หมายถึง ร้อยละของเด็กทีป่ ฏิบตั ติ ามกิจวัตร
ประจาวันของห้องเรียน(*) รับผิดชอบทาสิง่ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายได้ตามวัย (*/**)
๒) ร้อยละของเด็กที่มีความซื่อสัตย์ หมายถึง ร้อยละของเด็กทีบ่ อกได้ว่าของชิน้ ใดเป็ น
ของของตนและชิน้ ใดเป็ นของผูอ้ ่นื (*/**) คืนของทีเ่ ก็บได้ให้เจ้าของหรือมอบให้
ผูใ้ หญ่(*/**)
๓) ร้อยละของเด็กที่ร้จู กั ประหยัด หมายถึง ร้อยละของเด็กทีร่ บั ประทานอาหาร นม และ
น้ าในปริมาณทีต่ นเลือกอย่างคุม้ ค่า (**) ใช้ของทีม่ อี ยูอ่ ย่างคุม้ ค่า(**)
๔) ร้อยละของเด็กที่ร้จู กั อดทนรอคอย หมายถึง ร้อยละของเด็กทีอ่ ดทนรอคอยสิง่ ที่
ต้องการได้ตามวัย (*/**) ควบคุมตนเองให้ทางานจนเสร็จได้ตามวัย (*/**)
๕) ร้อยละของเด็กที่ร้คู ณ
ุ ผูอ้ ื่น มีเมตตากรุณา มีน้าใจ หมายถึง ร้อยละของเด็กที่
แสดงถึงการรับรูว้ า่ มีผใู้ หญ่ชว่ ยเหลือตนโดยการกล่าวคาขอบคุณพ่อ แม่ ครูหรือผูเ้ ลีย้ งดู
เด็ก ผูใ้ หญ่ เพือ่ น สิง่ รอบตัว(*/**) ชืน่ ชมในความสามารถ ผลงานหรือความสาเร็จ
ของผูอ้ ่นื (*/**) แสดงความอ่อนโยน สงสารและเห็นใจคนหรือสัตว์(*/**)
เอือ้ เฟื้อ/แบ่งปนั สิง่ ของให้กบั คนทีค่ นุ้ เคย (*/**)
31
ตัวบ่ งชี้ที่ ๓.๒ เด็กสามารถปรับตัวเข้ ากับสั งคมได้
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงปริมาณ ๒.๕ คะแนน)
• เกณฑ์ การพิจารณา
๑) ร้อยละของเด็กที่เคารพในสิทธิของผูอ้ ื่น หมายถึง ร้อยละของเด็กที่ขออนุญาตเจ้าของ
ก่อนเมื่อจะหยิบสิ่งของของผูอ้ ื่น(*/**) ยกมือไหว้ขอโทษเมื่อทาผิด(*/**)
๒) ร้อยละของเด็กที่สามารถปฏิบตั ิ ตามกฎของห้องเรียนและสถานศึกษาได้ หมายถึง ร้อย
ละของเด็กปฏิบตั ิ ตามข้อตกลงของห้องเรียน เช่น เก็บของเล่นหลังทากิจกรรม(*/**) ไม่วิ่ง
ไปมาในห้องเรียน(*/**) ปฏิบตั ิ ตามกฎของสถานศึกษา เช่น ขึน้ ลงบันไดตามสัญลักษณ์
(*/**) เข้าแถวรับบริการก่อนหลัง(*/**)
๓) ร้อยละของเด็กที่ปฏิบตั ิ ตนตามวัฒนธรรมไทยและหลักศาสนาที่นับถือ หมายถึง ร้อยละ
ของเด็กที่มีมารยาทในการพูด การฟัง การไหว้ การแสดงความเคารพผูใ้ หญ่ หรือมารยาท
การรับประทานอาหารได้เหมาะสมตามวัย (*/**) แสดงความเคารพหรือปฏิบตั ิ ตามหลัก
ศาสนาที่นับถือได้ตามวัย(*/**)
๔) ร้อยละของเด็กที่ร้จู กั การเป็ นผูน้ าและผูต้ ามที่ดี หมายถึง ร้อยละของเด็กที่รบั ฟังความ
คิดเห็นของเพื่อนในการทางานร่วมกัน(*/**) แสดงความคิดเห็นในที่ประชุมหรือการ
ทางานต่างๆร่วมกับเพื่อน(*/**) บอกเหตุผลในการตัดสินใจที่จะทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ งได้(**)
32
ตัวบ่ งชี้ที่ ๔ เด็กมีพฒ
ั นาการด้ านสติปัญญาสมวัย
นา้ หนัก ๑๐ คะแนน
ประกอบด้ วย ๔ ตัวบ่ งชี้ย่อย คือ
ตัวบ่ งชี้
ย่ อยที่
ชื่อตัวบ่ งชี้
นา้ หนัก
(คะแนน)
๔.๑
เด็กมีความใฝ่ รู้ สมวัย หมายถึ ง เด็กรั กการอ่านและสนใจใฝ่ รู ้ ใน
๒.๕
๔.๒
การเรี ยนรู ้สิ่งต่างๆรอบตัว มีความต้องการในการเรี ยนรู้เรื่ อง
ที่ตนสนใจ มุ่งมัน่ ที่จะเรี ยนรู ้อย่างเหมาะสมตามวัย
เด็กมีการเรี ยนรู้ ด้วยตนเองสมวัย หมายถึงเด็กสามารถเรี ย นรู ้ จาก
ประสบการณ์ตรงในสภาพแวดล้อมที่เป็ นอิสระ เอื้อต่อการ
เรี ยนรู ้ จากกระบวนการที่ เด็กมี ปฏิ สัม พันธ์ กบั บุ คคลและ
สิ่ งแวดล้อมรอบตัว มี การพัฒนาความสามารถในการรั บรู้
จดจา รู ้คิด รู ้เหตุผล และแก้ปัญหาได้ตามวัย
๒.๕
33
ตัวบ่ งชี้
ย่ อยที่
๔.๓
๔.๔
ชื่อตัวบ่ งชี้
เด็กมีทักษะในการสื่ อสารสมวัย หมายถึง เด็กมีความเข้าใจและ
ใช้ภาษาสื่ อสารให้ผอู้ ื่นรับรู้และเข้าใจด้วยภาษาพูด ท่าทาง
สัญลักษณ์ สามารถสะท้อนความคิดและความรู้สึกภายใน
ของเด็กได้อย่างเที่ ยงตรง เพื่อสร้ างปฏิ สัมพันธ์ระหว่างเด็ก
กับบุคคลอื่นในสังคมหรื อในกลุ่มได้อย่างถูกต้องชัดเจน
เด็กมีจินตนาการและความคิดสร้ างสรรค์ สมวัย หมายถึง เด็ก
สามารถสร้ างภาพขึ้ นในจิ ตใจ คาดเดาหรื อคาดหมายว่าสิ่ ง
นั้นน่ าจะเป็ นอย่างไร สามารถคิดได้หลากหลายและคิดใน
สิ่ งที่ แปลกใหม่จากเดิม จนนาไปสู่ การคิดค้นสิ่ งประดิษฐ์ที่
แปลกใหม่ รู ปแบบความคิ ด ใหม่ หรื อกระบวนการ
สร้างสรรค์สิ่งใหม่ได้ตามวัย
นา้ หนัก
(คะแนน)
๒.๕
๒.๕
ตัวบ่ งชี้ที่ ๔.๑ เด็กมีความใฝ่ รู้สมวัย
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงปริมาณ ๒.๕ คะแนน)
คาอธิบาย
เด็กมีความใฝ่ รู ้สมวัย หมายถึง เด็กรักการอ่านและสนใจใฝ่ รู ้ในการเรี ยนรู ้สิ่งต่างๆ
รอบตัว มี ค วามต้อ งการในการเรี ย นรู ้ เ รื่ อ งที่ ต นสนใจ มุ่ ง มั่น ที่ จ ะเรี ย นรู ้ อ ย่า ง
เหมาะสมตามวัย
ประเด็นการพิจารณา
๑) ร้อยละของเด็กที่รักการอ่านตามวัย หมายถึงร้อยละของเด็กที่สนใจ
หรื อขออ่านหนังสื อ (*/**) หยิบใช้หนังสื อ ค้นคว้าข้อมูลจากหนังสื อ
สื่ อสิ่ งพิมพ์ หรื อสื่ ออื่นๆ (**)
๒) ร้อยละของเด็กที่ใฝ่ รู ้ในเรื่ องรอบตัวตามวัย หมายถึง มี ความสนใจ
เรี ย นรู ้ สิ่ ง รอบตัว ผ่า นกิ จ กรรมและสื่ อ ที่ ห ลากหลายในโอกาสต่ า งๆ
(*/**) เด็กรู ้จกั ตั้งคาถาม สารวจและทดลองสิ่ งที่ไม่คุน้ เคย (*/**)
35
ตัวบ่ งชี้ที่ ๔.๒ เด็กมีการเรียนรู้ด้วยตนเองสมวัย
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงปริมาณ ๒.๕ คะแนน)
• เกณฑ์การพิจารณา
๑) ร้อยละของเด็กที่มีสมาธิในการเรียนรู้ หมายถึง ร้อยละของเด็กทีม่ สี มาธิในการ
เล่นหรือมีความสนใจจดจ่อกับสิง่ ทีต่ นสนใจ หรือในการทากิจกรรมได้อย่างต่อเนื่อง
ประมาณ ๕-๑๐ นาที(*) มีสมาธิหรือความสนใจได้นานประมาณ ๑๐-๑๕ นาทีหรือ
จนเสร็จ(**)
๒) ร้อยละของเด็กที่สามารถจาสิ่งต่างๆได้ หมายถึง ร้อยละของเด็กทีจ่ าสิง่ ต่างๆ
ได้จากการเชือ่ มโยงประสบการณ์เดิม เช่น การเคยได้รบั กลิน่ การเคยได้รบั คา
ชมเชย การเคยใช้ของชิน้ นัน้ (*/**)
๓) ร้อยละของเด็กที่มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เกิดจากการเรียนรู้
หมายถึง ร้อยละของเด็กทีม่ คี วามรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับความรูพ้ น้ื ฐาน เช่น สี
จานวน ตาแหน่ง ตามประสบการณ์การเรียนรูท้ ไ่ี ด้รบั ตามบริบทของครอบครัวและ
ชุมชน (*/**)
๔) ร้อยละของเด็กที่สามารถแก้ปัญหาได้เหมาะสมตามวัย หมายถึง ร้อยละของ
เด็กทีส่ ามารถขอความช่วยเหลือหรือเลียนแบบวิธกี ารแก้ปญั หาของผูอ้ น่ื (*/**)
ลองผิดลองถูก พูดคุย ไต่ถาม หรือสังเกต สารวจเพือ่ แก้ปญั หาได้ตามวัย (**)
36
ตัวบ่ งชี้ที่ ๔.๓ เด็กมีทกั ษะในการสื่ อสารสมวัย
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงปริมาณ ๒.๕ คะแนน)
• เกณฑ์ การพิจารณา
๑) ร้ อยละของเด็กทีม่ คี วามเข้ าใจและใช้ ภาษาพูดอย่ างถูกต้ องเหมาะสมตามวัย หมายถึง ร้อยละของเด็ก
ที่ใช้คาที่ได้เรี ยนรู้ใหม่ในการสื่ อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (*/**) สามารถพูดคุยโต้ตอบกับ
ผูอ้ ื่นได้เป็ นเรื่ องราวที่สอดคล้องกัน (**)
๒) ร้ อยละของเด็กทีม่ ที กั ษะในการอ่ านอย่ างถูกต้ องเหมาะสมตามวัย หมายถึง ร้อยละของเด็กที่มีทกั ษะ
ในการอ่านหนังสื อได้อย่างถูกต้องด้วยการเปิ ดหนังสื ออ่านโดยไม่กลับหัว เปิ ดหนังสื อจากหน้าไป
หลัง อ่านหนังสื อจากซ้ายไปขวา จากบนลงล่าง (*/**) สามารถถามเนื้อหาสาระของข้อความจาก
เรื่ องราวในหนังสื อภาพที่ตนอ่านได้อย่างเหมาะสมตามวัย (*/**)
๓) ร้ อยละของเด็กทีม่ ที กั ษะในการเขียนเพือ่ สื่ อความหมาย อย่ างถูกต้ องเหมาะสมตามวัย หมายถึง ร้อย
ละของเด็กที่สามารถวาดรู ป ขีดเขียนเส้นลักษณะต่างๆ เพื่อสื่ อความหมาย (*/**) เขียนและอธิบาย
สิ่ งที่ตนวาดหรื อเขียนให้ผอู้ ื่นเข้าใจได้ (**)
๔) ร้ อยละของเด็กทีม่ คี วามเข้ าใจและใช้ ภาษาท่ าทางและสั ญลักษณ์ อย่ างถูกต้ องเหมาะสมตามวัย
หมายถึง ร้อยละของเด็กที่สามารถใช้ภาษาท่าทางในการสื่ อสาร พูดคุย (*/**) บอกความหมาย
37
หรื อสิ่ งที่ควรทาเมื่อเห็นสัญญาณหรื อสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ใช้ในชีวติ ประจาวันได้ (*/**)
ตัวบ่ งชี้ที่ ๔.๔ เด็กมีจินตนาการและความคิดสร้ างสรรค์ สมวัย
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงปริมาณ ๒.๕ คะแนน)
• เกณฑ์ การพิจารณา
• ๑) ร้ อยละของเด็กทีถ่ ่ ายทอดความคิดสร้ างสรรค์ผ่านการทางานศิลปะ
เล่าเรื่อง เล่นเกมภาษา หมายถึง ร้อยละของเด็กที่ทางานศิลปะตาม
ความคิดของตนเอง (*/**) เล่นเลียนแบบ(*) เล่นบทบาทสมมุติ
ร่ วมกับผูอ้ ื่นโดยเพิ่มความซับซ้อนตามวัย (**)
• ๒) ร้ อยละของเด็กที่ทดลองวิธีการใหม่ ๆในการทาสิ่ งต่ างๆ หมายถึง
ร้อยละของเด็กที่ทดลองใช้สิ่งของหรื อเล่นด้วยวิธีการแตกต่าง
หลากหลาย (*/**)
38
ตัวบ่ งชี้ที่ ๕ เด็กมีความพร้ อมศึกษาต่ อในขั้นต่ อไป
นา้ หนัก ๑๐ คะแนน
ประกอบด้ วย ๒ ตัวบ่ งชี้ย่อย คือ
ตัวบ่ งชี้
ย่ อยที่
ชื่อตัวบ่ งชี้
นา้ หนัก
(คะแนน)
๕.๑
เด็กมีทกั ษะพืน้ ฐานตามพัฒนาการทุกด้ านสมวัย หมายถึง เด็กมี
ทักษะที่ จาเป็ นสาหรับการสร้างองค์ความรู้ ตามพัฒนาการ
ด้านร่ างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และสติปัญญาสมวัย
๕
๕.๒
เด็ ก มี ค วามรู้ พื้น ฐานสมวั ย หมายถึ ง เด็ ก มี ค วามรู ้ พ้ื น ฐานที่
จาเป็ นเกี่ยวกับตนเองและเรื่ องราวรอบตัวที่สอดคล้องกับวัย
ความต้องการ และความสนใจของเด็ก
๕
39
ตัวบ่ งชี้ที่ ๕.๑ เด็กมีทกั ษะพืน้ ฐานตามพัฒนาการทุกด้ านสมวัย
นา้ หนัก ๕ คะแนน (เชิงปริมาณ ๕ คะแนน)
• เกณฑ์ การพิจารณา
พิจารณาจากสรุ ปรายงานผลของเด็กที่สาเร็ จการศึกษาตามหลักสู ตรสถานศึกษาของปี
ที่ผา่ นมา (๑ ปี ย้อนหลัง) จากค่าร้อยละเฉลี่ยของเด็กที่มีทกั ษะพื้นฐานตาม
พัฒนาการทุกด้านสมวัย ได้แก่
๑) ร้อยละของเด็กมีทกั ษะพื้นฐานตามพัฒนาการด้านร่ างกายสมวัย หมายถึง ร้อยละ
ของเด็กที่มีทกั ษะพื้นฐานเกี่ยวกับ การทรงตัวและการประสานสัมพันธ์ของ
กล้ามเนื้อใหญ่การประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อเล็ก การรักษาสุ ขภาพ การรักษา
ความปลอดภัย
๒) ร้อยละของเด็กที่มีทกั ษะพื้นฐานตามพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย
หมายถึง ร้อยละของเด็กที่มีทกั ษะพื้นฐานเกี่ยวกับ ดนตรี สุ นทรี ยภาพ การเล่น
และคุณธรรมจริ ยธรรม
40
๓) ร้อยละของเด็กที่มีทกั ษะพื้นฐานตามพัฒนาการด้านสังคมสมวัย
หมายถึง ร้อยละของเด็กที่มีทกั ษะพื้นฐานเกี่ยวกับ การปฏิบตั ิกิจวัตร
ประจาวันของตนเอง การเล่นและการทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น การวางแผน
ตัดสิ นใจเลือก และลงมือปฏิบตั ิ การรับรู ้ความรู ้สึก ความสนใจ และ
ความต้องการของตนเองและผูอ้ ื่น การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ
เคารพความคิดเห็นของผูอ้ ื่น การแก้ปัญหาในการเล่น การปฏิบตั ิตน
ตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่อาศัยอยูแ่ ละความเป็ นไทย
๔) ร้อยละของเด็กที่มีทกั ษะพื้นฐานตามพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย
หมายถึง ร้อยละของเด็กที่มีทกั ษะพื้นฐานเกี่ยวกับ การคิด การใช้ภาษา
การสังเกต การจาแนกและการเปรี ยบเทียบ จานวน มิติสัมพันธ์(พื้นที่/
ระยะ) เวลา
ตัวบ่ งชี้ที่ ๕.๒ เด็กมีความรู้ พนื้ ฐานสมวัย
นา้ หนัก ๕ คะแนน (เชิงปริมาณ ๕ คะแนน)
• เกณฑ์ การพิจารณา
พิจารณาจากสรุ ปรายงานผลของเด็กที่สาเร็ จการศึกษาตามหลักสูตร
สถานศึกษาของปี ที่ผา่ นมา (๑ ปี ย้อนหลัง) จากค่าร้อยละเฉลี่ยของเด็กที่มี
ความรู ้พ้นื ฐานที่จาเป็ นเกี่ยวกับตนเองและเรื่ องราวรอบตัวได้ตามวัย
ได้แก่
๑) ร้อยละของเด็กที่มีความรู ้เรื่ องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก หมายถึง ร้อยละของ
เด็กที่มีความรู ้เกี่ยวกับ ชื่อ นามสกุล รู ปร่ าง หน้าตา รูจ้ กั อวัยวะต่างๆ
วิธีระวังรักษาร่ างกายให้สะอาด ปลอดภัย เรี ยนรู ้ที่จะเล่นและทาสิ่ ง
ต่างๆ ด้วยตนเองคนเดียวหรื อกับผูอ้ ื่น เรี ยนรู ้ที่จะแสดงความคิดเห็น
ความรู ้สึก และแสดงมารยาทที่ดี
42
๒) ร้อยละของเด็กที่มีความรู ้เรื่ องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อม
ตัวเด็ก หมายถึง ร้อยละของเด็กที่มีความรู ้เกี่ยวกับ ครอบครัว
สถานศึกษา ชุมชน รวมทั้งบุคคลต่างๆ ที่เด็กต้องเกี่ยวข้องหรื อใกล้ชิด
และมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจาวัน
๓) ร้อยละของเด็กที่มีความรู ้เรื่ องราวเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัวเด็ก
หมายถึง ร้อยละของเด็กที่มีความรู ้เกี่ยวกับสิ่ งมีชีวิต สิ่ งไม่มีชีวิต
รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของโลกที่แวดล้อมเด็ก ตามธรรมชาติ เช่น
ฤดูกาล กลางวัน กลางคืน
๔) ร้อยละของเด็กที่มีความรู ้เรื่ องราวเกี่ยวกับสิ่ งต่างๆรอบตัวเด็ก หมายถึง
ร้อยละของเด็กที่มีความรู ้เกี่ยวกับ สี ขนาด รู ปร่ าง รู ปทรง น้ าหนัก
ผิวสัมผัสของสิ่ งต่างๆ รอบตัว สิ่ งของเครื่ องใช้ ยานพาหนะ และการ
สื่ อสารต่างๆ ที่ใช้อยูใ่ นชีวิตประจาวัน
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖ ประสิ ทธิผลของการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ ทเี่ น้ นเด็กเป็ นสาคัญ
นา้ หนัก ๓๕ คะแนน
ประกอบด้ วย ๒ ตัวบ่ งชี้ย่อย คือ
ตัวบ่ งชี้
ย่ อยที่
ชื่อตัวบ่ งชี้
นา้ หนัก
(คะแน
น)
๖.๑
ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้เพื่อพัฒนาการด้านร่ างกาย
๕
๖.๒
ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้เพื่อพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
๕
๖.๓
ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้เพื่อพัฒนาการด้านสังคม
๕
๖.๔
ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้เพื่อพัฒนาการด้านสติปัญญา
๕
๖.๕
ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มความสัมพันธ์ทางบวกกับเด็กและครอบครัว
๕
๖.๖
ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ที่ตอบสนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการของ
เด็ก
๑๐
44
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖.๑ ครูหรือผู้เลีย้ งดูเด็กส่ งเสริมการเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาการด้ านร่ างกาย
นา้ หนัก ๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๕ คะแนน)
คาอธิบาย
ครู หรือผู้เลีย้ งดูเด็กส่ งเสริมการเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาการทางด้ านร่ างกาย
หมายถึง ครู หรื อ ผูเ้ ลี้ยงดูเด็กจัดมวลประสบการณ์สาคัญให้เด็กได้
เรี ยนรู ้ โดยการเชื่อมโยง ผสมผสาน และสัมพันธ์กบั ชีวิตจริ งได้อย่าง
มีความหมาย ทาให้เด็กมีความรู ้ ความคิดรวบยอด ทักษะสาคัญ
ต่างๆที่ส่งเสริ มพัฒนาทางร่ างกายทั้งเชิงปริ มาณและเชิงคุณภาพอย่าง
เหมาะสมตามวัย
45
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖.๑ ครูหรือผู้เลีย้ งดูเด็กส่ งเสริมการเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาการด้ านร่ างกาย
นา้ หนัก ๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๕ คะแนน)
เกณฑ์ การพิจารณา
โน้ มน้ าวให้เด็กรับประทานอาหารครบหมู่ ดื่มน้าสะอาดและนม อย่าง
เพียงพอประมาณ ๖๐๐-๘๐๐ มิลลิลิตรต่อวัน
๒) ดูแลให้เด็กได้รบั วัคซีนป้ องกันโรคที่จาเป็ นตามวัย
๓) จัดโอกาสให้เด็กช่วยเหลือตัวเองในการปฏิบตั ิ กิจวัตรประจาวัน
๔) จัดกิจกรรมให้เด็กได้ใช้กล้ามเนื้ อมัดเล็ก มัดใหญ่ และการประสานสัมพันธ์
ของทักษะกลไก
๕) จัดโอกาสให้เด็กเล่นเกม ออกกาลังกายที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถ
และความสนใจของเด็ก แต่ละคน
๖) สร้างเสริมสุขนิสยั ที่ดีในการรักษาความสะอาด ป้ องกันโรค และความ
ปลอดภัยแก่ร่างกาย
46
๑)
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖.๒ ครู หรือผู้เลีย้ งดูเด็กส่ งเสริมการเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาการด้ านอารมณ์ และจิตใจ
นา้ หนัก ๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๕ คะแนน)
•
คาอธิบาย
ครู หรื อผู้ เลี้ยงดู เด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู้ เพื่อพัฒนาการ
ด้ านอารมณ์ และจิตใจ หมายถึง ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กจัด
มวลประสบการณ์ ส าคัญ ให้ เ ด็ ก ได้เ รี ยนรู้ โดยก าร
เชื่อมโยง ผสมผสาน และสัมพันธ์กบั ชีวิตจริ งได้อย่าง
มี ค วามหมาย ทาให้เด็กมี ค วามรู้ ความคิ ดรวบยอด
ทักษะสาคัญต่างๆที่ส่งเสริ มพัฒนาทางอารมณ์และจิตใจ
อย่างเหมาะสมตามวัย
47
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖.๒ ครู หรือผู้เลีย้ งดูเด็กส่ งเสริมการเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาการด้ านอารมณ์ และจิตใจ
นา้ หนัก ๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๕ คะแนน)
•
๑)
๒)
๓)
เกณฑ์ การพิจารณา
สนับสนุนให้เด็กรู ้จกั ควบคุมตนเอง อดทนรอคอย และมุ่งมัน่ ตั้งใจ
สนับสนุนให้เด็กมีความรู ้สึกที่ดีต่อตนเองและผูอ้ ื่น
จัดโอกาสให้เด็กได้เลือกทากิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด
ความสามารถ และความพอใจของเด็ก
๔) จัดโอกาสให้เด็กได้ชื่นชมและตอบสนองต่อศิลปะ ดนตรี และการ
เคลื่อนไหว หรื อสัมผัสกับความมหัศจรรย์ของธรรมชาติและ
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
๕) จัดโอกาสให้เด็กได้สื่อสารความคิดหรื อประสบการณ์ของตนผ่าน
ศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหวในลักษณะต่างๆ
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖.๓ ครู หรือผู้เลีย้ งดูเด็กส่ งเสริมการเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาการด้ านสั งคม
นา้ หนัก ๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๕ คะแนน)
คาอธิบาย
ครู ห รื อ ผู้ เ ลี้ย งดู เ ด็ก ส่ งเสริ ม การเรี ย นรู้ เ พื่อ พัฒ นาการด้ า น
สั ง คม หมายถึ ง ครู ห รื อ ผูเ้ ลี้ ย งดู เ ด็ก จัด มวลประสบการณ์
ส าคัญ ให้เ ด็ก ได้เ รี ย นรู้ โดยการเชื่ อ มโยง ผสมผสาน และ
สัมพันธ์กบั ชี วิตจริ งได้อย่างมีความหมาย ทาให้เด็กมีความรู้
ความคิ ด รวบยอด ทัก ษะส าคัญ ต่ า งๆที่ ส่ ง เสริ ม พัฒ นาทาง
สังคมอย่างเหมาะสมตามวัย
49
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖.๓ ครู หรือผู้เลีย้ งดูเด็กส่ งเสริมการเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาการด้ านสั งคม
นา้ หนัก ๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๕ คะแนน)
•
๑)
๒)
๓)
๔)
๕)
๖)
๗)
เกณฑ์ การพิจารณา
ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงเด็กปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และการปฏิบตั ิ
ต่อผูอ้ ื่น
ส่ งเสริ มให้เด็กมีความประพฤติดี ได้แก่ ขยัน ประหยัด ซื่ อสัตย์ มีวินยั สุ ภาพ
สะอาด สามัคคี มีน้ าใจ
ส่ งเสริ มให้เด็กชื่นชมธรรมชาติและดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อม
ส่ งเสริ มให้เด็กได้ปฏิบตั ิตนตามวัฒนธรรมไทยและหลักศาสนาที่นบั ถือ
จัดโอกาสให้เด็กเรี ยนรู้การเป็ นผูน้ าและผูต้ ามที่ดี
จัดโอกาสให้เด็กได้เรี ยนรู ้อย่างร่ วมมือกับเพื่อนเป็ นกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่
จัดโอกาสให้เด็กได้เรี ยนรู ้และเข้าร่ วมกิจกรรมในโอกาสวันสาคัญต่างๆ ตาม
ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖.๔ ครู หรือผู้เลีย้ งดูเด็กส่ งเสริมการเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาการด้ านสติปัญญา
นา้ หนัก ๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๕ คะแนน)
•
คาอธิบาย
ครู ห รื อ ผู้ เ ลี้ย งดู เ ด็ก ส่ งเสริ ม การเรี ย นรู้ เ พื่อ พัฒ นาการด้ า น
สติปัญญา หมายถึง ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กจัดมวลประสบการณ์
ส าคัญ ให้เ ด็ก ได้เ รี ย นรู้ โดยการเชื่ อ มโยง ผสมผสาน และ
สัมพันธ์กบั ชี วิตจริ งได้อย่างมีความหมาย ทาให้เด็กมีความรู้
ความคิ ด รวบยอด ทัก ษะส าคัญ ต่ า งๆที่ ส่ ง เสริ ม พัฒ นาทาง
สติปัญญาอย่างเหมาะสมตามวัย
51
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖.๔ ครู หรือผู้เลีย้ งดูเด็กส่ งเสริมการเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาการด้ านสติปัญญา
นา้ หนัก ๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๕ คะแนน)
•
เกณฑ์ การพิจารณา
๑) จัดกิจกรรมให้เด็กสืบค้น สารวจ และตัง้ คาถามเพือ่ สร้างความเข้าใจ
เกีย่ วกับสิง่ ต่างๆ รอบตัว
๒) จัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่าถึงสิง่ ทีท่ า ทบทวนประสบการณ์เดิม ทบทวน
เรือ่ งทีเ่ ด็กควรรู้ หรือเหตุการณ์ทน่ี ่าสนใจ
๓) เปิดโอกาสให้เด็กคุน้ เคยกับหนังสือและได้อ่านหนังสือตามวัย
๔) จัดกิจกรรมแบบบูรณาการเป็ นรายบุคคล กลุม่ เล็ก และกลุ่มใหญ่ผา่ น
กิจกรรมแบบบูรณาการทีเ่ ด็กได้เล่นและลงมือกระทาเพือ่ พัฒนาความคิด
รวบยอดและทักษะเกีย่ วกับคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษา สังคม
ดนตรี กีฬา ทีเ่ หมาะสมกับบริบทวัฒนธรรมของเด็ก
๕) ส่งเสริมให้เด็กแสดงความคิดสร้างสรรค์อย่างอิสระ
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖.๕ ครู หรือผู้เลีย้ งดูเด็กส่ งเสริมความสั มพันธ์ ทางบวกกับเด็กและครอบครัว
นา้ หนัก ๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๕ คะแนน)
• คาอธิบาย
ครู หรือผู้เลีย้ งดูเด็กส่ งเสริมความสั มพันธ์ ทางบวกกับเด็กและครอบครัว
หมายถึง ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กปฏิบตั ิตนอย่างเหมาะสมต่อเด็กและ
ครอบครัวของเด็ก เพื่อสร้างความร่ วมมือในการพัฒนาเด็กและ
ทาให้การจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ เป็ นไปอย่างราบรื่ นและมี
ประสิ ทธิภาพ
53
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖.๕ ครู หรือผู้เลีย้ งดูเด็กส่ งเสริมความสั มพันธ์ ทางบวกกับเด็กและครอบครัว
นา้ หนัก ๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๕ คะแนน)
• เกณฑ์การพิจารณา
๑) สร้างความสัมพันธ์ที่มนคงกั
ั่
บเด็ก หมายถึง ครูหรือผูเ้ ลีย้ งดูเด็กทีต่ อบสนองต่อความรูส้ กึ
ของเด็กอย่างอบอุ่นโดยการสบตา ใช้น้าเสียงทีน่ ุ่มนวล ยิม้ แย้ม ให้สมั ผัสทีแ่ สดงความรักต่อ
เด็ก มีอารมณ์มนคงสม
ั่
่าเสมอในการดูแลร่างกายและอารมณ์ของเด็ก รับรูแ้ ละสนับสนุน
ความพยายามในการทากิจกรรมของเด็ก ตอบสนองอารมณ์ทางบวกและลบของเด็กอย่าง
ทันท่วงทีดว้ ยวิธกี ารทีเ่ หมาะสมโดยการปลอบโยน สนับสนุนและช่วยเหลือ ไม่ใช้ความรุนแรง
ทัง้ ทางกายและวาจา
๒) ยอมรับในความเป็ นตัวตนของเด็ก หมายถึง ครูหรือผูเ้ ลีย้ งดูเด็กทีย่ อมรับและให้
ความสาคัญกับความรูส้ กึ และความคิดของเด็ก รับฟงั และตอบสนองต่อเด็กด้วยพฤติกรรมที่
เหมาะสม ไม่ลอ้ เลียนหรือทาให้เด็กรูส้ กึ อับอาย
๓) ปฏิบตั ิ กบั เด็กอย่างให้เกียรติและเท่าเทียมกัน โดยไม่แบ่งแยกเชื้อชาติ ภาษา เพศ
หรือภูมิหลังทางวัฒนธรรม และสร้างเสริมให้เด็กเห็นคุณค่าของความแตกต่าง
หมายถึง ครูหรือผูเ้ ลีย้ งดูเด็กทีป่ ฏิบตั ติ นเป็ นแบบอย่างทีด่ ใี ห้แก่เด็กในการปฏิบตั กิ บั ผูต้ ่างวัย
ต่างฐานะ ผูท้ อ่ี ่อนแอกว่า ฝึกให้เด็กยอมรับและมองผูอ้ ่นื ในแง่มมุ ทีด่ หี รือเชิงบวก เช่น
ความสามารถทีแ่ ตกต่าง ความคิดเห็นทีแ่ ตกต่าง แง่มมุ ทีด่ ขี องคนอื่น
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖.๕ ครู หรือผู้เลีย้ งดูเด็กส่ งเสริมความสั มพันธ์ ทางบวกกับเด็กและครอบครัว
นา้ หนัก ๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๕ คะแนน)
๔) ส่งเสริมการสร้างมิตรภาพระหว่างเด็ก หมายถึง ครูหรือผูเ้ ลีย้ งดูเด็กทีเ่ ปิด
โอกาสให้เด็กได้เล่นและเรียนรูร้ ว่ มกัน สนับสนุนการฝึกทักษะทางสังคมและ
การสร้างมิตรภาพของเด็กโดยช่วยเด็กในการเข้าร่วมการเล่น การยืดระยะเวลา
และพัฒนาการคุณภาพการเล่นกับเพือ่ น ช่วยให้เด็กแก้ไขความขัดแย้ง โดย
การให้เด็กบอกความรูส้ กึ เล่าปญั หา และทดลองวิธกี ารอื่นๆในการแก้ปญั หา
ให้คาแนะนาแก่เด็กทีม่ พี ฤติกรรมไม่เหมาะสมให้เรียนรูก้ ติกาของห้องเรียน
ปลูกฝงั ให้เด็กเอือ้ อาทรต่อกัน รูจ้ กั ปลอบโยนกันโดยฝึกให้ทาเป็นประจาจนติด
เป็ นนิสยั
๕) มีปฏิสมั พันธ์กบั ผูป้ กครองอย่างให้เกียรติและสมา่ เสมอ หมายถึง ครูหรือ
ผูเ้ ลีย้ งดูเด็กทีส่ อ่ื สารสองทางอย่างสม่าเสมอกับผูป้ กครอง ไม่นาความลับใน
ครอบครัวของเด็กไปเผยแพร่ รับฟงั ความคิดเห็นของผูป้ กครองด้วยความเป็ น
มิตรผ่านคาพูด น้าเสียง และท่าทาง สนับสนุนให้ผปู้ กครองแลกเปลีย่ นข้อมูล
เกีย่ วกับเด็ก ให้คาแนะนาในการพัฒนาและแก้ไขพัฒนาการเด็กทีบ่ กพร่อง
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖.๖ ครูหรือผู้เลีย้ งดูเด็กส่ งเสริมการเรียนรู้ ทตี่ อบสนองต่ อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็ก
นา้ หนัก ๑๐ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๑๐ คะแนน)
• คาอธิบาย
ครู หรือผู้เลีย้ งดูเด็กส่ งเสริมการเรี ยนรู้ ที่ตอบสนองต่ อธรรมชาติ
และพัฒนาการของเด็ก หมายถึ ง ครู หรื อผูเ้ ลี้ ยงดูเด็กสามารถ
อบรมเลี้ ยงดูและจัดประสบการณ์ การเรี ยนรู้ ที่เหมาะสมกับวัย
พัฒนาการ และความแตกต่างเป็ นรายบุคคลอย่างสอดคล้องกับ
บริ บทของท้องถิ่น สังคม และวัฒนธรรมของเด็ก
56
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖.๖ ครูหรือผู้เลีย้ งดูเด็กส่ งเสริมการเรียนรู้ ทตี่ อบสนองต่ อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็ก
นา้ หนัก ๑๐ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๑๐ คะแนน)
• เกณฑ์ การพิจารณา
๑) จัดทาแผนการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ ทีเ่ หมาะสมกับการเรียนรู้ และพัฒนาการ
เด็กตามวัยอย่างเหมาะสมตามบริบทของท้ องถิ่น หมายถึง ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กที่
จัดทาแผนการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ที่สอดคล้องกับอายุ ความพร้อม
พัฒนาการ และวิธีการเรี ยนรู้ของเด็กตามบริ บทของสังคม และวัฒนธรรมท้องถิ่น
ที่เด็กอาศัยอยู่ บันทึกและประเมินผลการจัดประสบการณ์การเรี ยนรูข้ องตนอย่าง
สม่าเสมอ ปรับปรุ งแผนการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ของตนให้สามารถใช้งาน
ได้จริ งและตอบสนองความต้องการของเด็กเป็ นรายบุคคล
๒) จัดประสบการณ์ การเรียนรู้ ทหี่ ลากหลายเพือ่ ให้ เด็กมีโอกาสในการเรียนรู้ อย่ างเต็ม
ศักยภาพ หมายถึง ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กที่เลือกประสบการณ์การเรี ยนรู ้ที่เหมาะกับ
ภูมิหลัง วัฒนธรรมท้องถิ่น ความสนใจ ประสบการณ์ ความต้องการ
ความสามารถ และวิธีการเรี ยนรู ้ของเด็ก จัดกิจกรรมที่เด็กริ เริ่ มและครู ริเริ่ มได้
อย่างสมดุลกัน จัดกิจกรรมที่มีกติกาหรื อขั้นตอนและไม่มีกติกาหรื อขั้นตอน
(structured and unstructured)ได้อย่างสมดุลกัน
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖.๖ ครูหรือผู้เลีย้ งดูเด็กส่ งเสริมการเรียนรู้ ทตี่ อบสนองต่ อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็ก
นา้ หนัก ๑๐ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๑๐ คะแนน)
๓) จัดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยต่อสุขภาพและร่างกายของเด็ก หมายถึง ครูหรือผู้
เลีย้ งดูเด็กทีด่ แู ลรักษาและเลือกใช้วสั ดุอุปกรณ์ เครือ่ งใช้ ของเล่น ทีไ่ ม่ก่อให้เกิดอันตราย
ต่อเด็ก
ซ่อมแซมและทาความสะอาดวัสดุอุปกรณ์ เครือ่ งใช้ ของเล่นให้สะอาดและ
ปลอดภัยอยูเ่ สมอ ดูแลระดับการใช้เสียงของตน การใช้อุปกรณ์ทางเสียง และการใช้ระดับ
แสงให้เหมาะสมกับกิจกรรม ใช้สอ่ื อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรทัศน์ วีดที ศั น์ คอมพิวเตอร์
อย่างจากัดและระมัดระวัง โดยคานึงถึงการใช้สอ่ื เหล่านี้ให้เหมาะสมกับวัย
๔) จัดสภาพแวดล้อมที่ตอบสนองความต้องการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้
ของเด็ก หมายถึง ครูหรือผูเ้ ลีย้ งดูเด็กทีจ่ ดั โอกาสและสถานทีท่ งั ้ ภายในและภายนอก
ห้องเรียนให้เด็กได้เคลือ่ นไหวร่างกาย ได้ใช้ประสาทสัมผัส และได้รบั อากาศทีส่ ดชืน่
จัด
สถานทีอ่ ย่างเพียงพอให้เด็กพักผ่อนและมีเวลาพักผ่อนประมาณ ๑-๒ ช.ม./วัน จัดพืน้ ที่
เพือ่ การเรียนรูแ้ ละเลือกวัสดุ อุปกรณ์ทส่ี มั พันธ์กบั เนื้อหาและพัฒนาการของเด็กทุกด้าน
เพือ่ กระตุน้ ให้เด็กได้สารวจ ทดลอง ค้นพบ และเรียนรูค้ วามคิดรวบยอดพืน้ ฐาน
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖.๖ ครูหรือผู้เลีย้ งดูเด็กส่ งเสริมการเรียนรู้ ทตี่ อบสนองต่ อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็ก
นา้ หนัก ๑๐ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๑๐ คะแนน)
๕) จัดสภาพแวดล้อมให้มีบรรยากาศที่อบอุ่น และสอดคล้องกับบริบททาง
วัฒนธรรม หมายถึง ครูหรือผูเ้ ลีย้ งดูเด็กทีจ่ ดั สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนคล้าย
บ้าน ให้เด็กรูส้ กึ ปลอดภัย มีอสิ ระในการเลือกทากิจกรรมต่างๆทีผ่ ดู้ แู ลเด็กจัดไว้ให้ใน
ห้องเรียน จัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียนทีส่ อดคล้องกับบริบททาง
วัฒนธรรม
๖) จัดสภาพแวดล้อมที่ป้องกันพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของเด็ก หมายถึง ครู
หรือผูเ้ ลีย้ งดูเด็กที่ จัดตารางกิจกรรมประจาวันทีม่ คี วามยืดหยุน่ สอดคล้องกับ
ธรรมชาติและความสามารถของเด็กจัดกิจกรรมทีเ่ ด็กต้องใช้พลังและกิจกรรมทีใ่ ห้เด็ก
ผ่อนคลายอย่างสมดุลกัน มีวธิ กี ารจัดเวลาให้เด็กได้เตรียมตัวก่อนเริม่ กิจกรรมใหม่
๗) มีการวางแผนและจัดระบบการประเมินพัฒนาการเด็กที่สอดคล้องกับ
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ หมายถึง ครูหรือผูเ้ ลีย้ งดูเด็กทีม่ กี ารวางแผน
และจัดระบบการประเมินพัฒนาการเด็กทีส่ อดคล้องกับมาตรฐานคุณลักษณะทีพ่ งึ
ประสงค์ เลือกใช้เครือ่ งมือการประเมินพัฒนาการเด็กทีห่ ลากหลายและเหมาะสม มี
การจดบันทึกไว้เป็ นหลักฐานอย่างต่อเนื่อง
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖.๖ ครูหรือผู้เลีย้ งดูเด็กส่ งเสริมการเรียนรู้ ทตี่ อบสนองต่ อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็ก
นา้ หนัก ๑๐ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๑๐ คะแนน)
๘) ติดตาม บันทึก และประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างสมา่ เสมอต่อเนื่ องด้วยวิธีการที่
หลากหลาย หมายถึง ครูหรือผูเ้ ลีย้ งดูเด็กทีใ่ ช้วธิ กี ารทีห่ ลากหลายในการประเมินพัฒนาการ
ของเด็กอย่างครอบคลุมทุกด้านและเหมาะสมกับเด็ก โดยใช้แหล่งข้อมูลหลายๆด้าน ประเมิน
พัฒนาการเด็กเป็ นรายบุคคล และมีการจดบันทึกอย่างสม่าเสมอ ประเมินการเรียนรูแ้ ละ
พัฒนาการของเด็กเป็ นกระบวนการต่อเนื่อง และเป็ นส่วนหนึ่งของกิจกรรมปกติทจ่ี ดั ให้เด็กในแต่
ละวัน
๙) นาผลการประเมินพัฒนาการเด็กทุกด้านไปใช้เพื่อการพัฒนาเด็กและพัฒนาแนวทางการ
จัดประสบการณ์การเรียนรู้ หมายถึง ครูหรือผูเ้ ลีย้ งดูเด็กทีแ่ ปลผลข้อมูลทีเ่ ก็บรวบรวมได้
โดยอิงกรอบพัฒนาการตามวัยและเป้าหมายของการจัดประสบการณ์ของสถานศึกษา นาผล
การประเมินไปใช้ในการพัฒนาเด็กและการจัดประสบการณ์การเรียนรูใ้ ห้แก่เด็ก
๑๐) เปิดโอกาสให้ผปู้ กครองมีส่วนร่วมในการวางแผนนาผลประเมินไปพัฒนาเด็ก หมายถึง
ครูหรือผูเ้ ลีย้ งดูเด็กทีเ่ ปิดโอกาสให้ผปู้ กครองได้แจ้งข้อมูลของเด็กเกีย่ วกับพฤติกรรม พัฒนาการ
การเรียนรู้ หรือ ข้อห่วงใยจากผูป้ กครองอย่างสม่าเสมอ สนทนาแลกเปลีย่ นข้อมูลกับ
ผูป้ กครองเกีย่ วกับการเรียนรูแ้ ละพัฒนาการของเด็กทัง้ ทีบ่ า้ นและโรงเรียนอย่างสม่าเสมอ
สือ่ สารกับผูป้ กครองเกีย่ วกับความก้าวหน้าและแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่าง
สม่าเสมอ
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗ ประสิ ทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา
นา้ หนัก ๑๕ คะแนน
ประกอบด้ วย ๕ ตัวบ่ งชี้ย่อย คือ
ตัวบ่งชี้ที่
ชื่อตัวบ่งชี้
น้าหนัก (คะแนน)
๗.๑
ประสิทธิภาพการบริหารจัดการของผูบ้ ริหารสถานศึกษา
๒.๕
๗.๒
ประสิทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษา
๒.๕
๗.๓
ประสิทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดให้มคี รูหรือผูเ้ ลีย้ งดูเด็กเพียงพอ
และมีคุณภาพ
๒.๕
๗.๔
ประสิทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดสภาพแวดล้อมภายนอกอาคารให้
เอือ้ ต่อการเรียนรู้ ปลอดภัย และถูกสุขลักษณะ
๒.๕
๗.๕
ประสิทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดสภาพแวดล้อมภายในอาคาร ให้
เอือ้ ต่อการเรียนรู้ ปลอดภัย และถูกสุขลักษณะ
๒.๕
๗.๖
ประสิทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดให้มมี าตรการด้าน
ความปลอดภัยและการป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก
๒.๕
61
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗.๑ ประสิ ทธิภาพการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา
นา้ หนัก ๕.๐ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
• คาอธิบาย
ประสิ ท ธิ ภ าพการบริ ห ารจั ด การของผู้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา
หมายถึ ง ความส าเร็ จ ของการบริ หารจัด การของผู้บ ริ หาร
สถานศึ ก ษา ให้ส ถานศึ ก ษามี ค วามเข้ม แข็ง สามารถบริ ห าร
จัดการได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพตามกรอบที่กฎหมายกาหนด เพื่อ
พัฒ นาคุ ณ ภาพสถานศึ ก ษาให้บ รรลุ ต ามจุ ด หมายของการจัด
การศึกษาปฐมวัยอย่างคุม้ ค่า
62
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗.๑ ประสิ ทธิภาพการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา
นา้ หนัก ๕.๐ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
• เกณฑ์ การพิจารณา
๑) ผู้บริหารสถานศึกษามีความสามารถในการบริหาร หมายถึง ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาจัด
โครงสร้างและระบบการบริ หารงานอย่างมีคุณภาพ (PDCA) ใช้แผนเป็ น
เครื่ องมือในการบริ หารสถานศึกษา ประสานความร่ วมมือทุกฝ่ ายเพื่อพัฒนางาน
ประเมินผลการปฏิบตั ิงานอย่างเป็ นระบบต่อเนื่องด้วยวิธีการที่หลากหลายให้ทุกฝ่ ายมี
ส่ วนร่ วม นาผลประเมินไปนิเทศและพัฒนางานให้บรรลุเป้ าหมาย
๒) ผู้บริหารสถานศึกษามีความสามารถด้ านการบริหารงบประมาณ หมายถึง ผูบ้ ริ หาร
สถานศึกษาจัดระบบการบริ หารงานประมาณที่คล่องตัว โปร่ งใส ตรวจสอบได้ บริ หาร
งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน จัดภารกิจให้ครอบคลุมกับการเสนอของบประมาณ
การจัดสรรงบประมาณ
การบริ หารการเงิน/บัญชี พัสดุและสิ นทรัพย์ การ
ตรวจสอบติดตามและประเมินผล ใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดแก่ส่วนรวม
รณรงค์ให้บุคลากรมีความประหยัดและใช้วสั ดุอุปกรณ์อย่างคุม้ ค่า
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗.๑ ประสิ ทธิภาพการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา
นา้ หนัก ๕.๐ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
๓) ผู้บริหารสถานศึกษามีความรู้และเป็ นผู้นาในการพัฒนาวิชาการ หมายถึง ผูบ้ ริหาร
สถานศึกษามีความรอบรูเ้ กีย่ วกับการจัดการศึกษาปฐมวัย เป็ นผูน้ าในการจัดทาหลักสูตร
สถานศึกษา จัดให้มกี ารนิเทศ กากับ ติดตามและประเมินผลการใช้หลักสูตร จัดให้มกี าร
ประเมินผลและพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของเด็กและสังคม จั ด
กิจกรรมส่งเสริมคุณภาพเด็กอย่างหลากหลาย จัดหาสื่อการเรียนรูท้ เ่ี หมาะสมกับเด็กและ
ท้อ งถิ่น เป็ น ผู้น าในการพัฒ นาหลัก สู ต รการศึก ษาปฐมวัย ให้เ ชื่อ มต่ อ กับ หลัก สู ต ร
การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานและส่งต่อข้อมูลความพร้อมของเด็กให้กบั สถานศึกษาแห่งใหม่หรือใน
ระดับชัน้ ทีส่ งู ขึน้
๔) ผู้บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาสนั บ สนุ น ให้ ผู้เ กี่ ย วข้ อ งมี ส่ ว นร่ ว มในการพัฒ นาคุณ ภาพ
สถานศึกษา หมายถึง ผูบ้ ริหารสถานศึกษาให้พ่อแม่ ผูป้ กครอง และชุมชนสนั บสนุ น
ทรัพยากรเพือ่ การศึกษาตลอดจนวิทยากรและภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ สนับสนุ นการจัดกิจกรรม
การเรียนรูข้ องสถานศึกษา ช่วยประชาสัมพันธ์ขา่ วสารข้อมูลต่างๆ ร่วมมือ กับครูหรือผู้
เลีย้ งดูเด็กและผูป้ กครองเด็กในการป้องกันและแก้ไขพฤติกรรมทีไ่ ม่พงึ ประสงค์และส่งเสริม
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ มีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษาในบทบาทของสมาคม
ชมรมผูป้ กครอง
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗.๒ ประสิ ทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษา
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
• คาอธิบาย
ประสิ ทธิ ภ าพของคณะกรรมการสถานศึ ก ษา หมายถึ ง
คณะกรรมการสถานศึ ก ษามี ค วามรู้ ค วามสามารถ และ
ประสบการณ์ ที่ ห ลากหลาย สามารถบริ หารจั ด การให้
สถานศึ ก ษามี ค วามเข้ม แข็ง บริ หารจัด การตนเองได้อ ย่ า งมี
ประสิ ทธิ ภาพตามกรอบที่กฎหมายกาหนด เพื่อพัฒนาคุณภาพ
สถานศึกษาให้บรรลุตามจุดหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัย
อย่างคุม้ ค่า
65
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗.๒ ประสิ ทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษา
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
•
เกณฑ์ การพิจารณา
๑) คณะกรรมการสถานศึ กษามีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์
ด้ า นต่ า งๆหลากหลาย และมี บ ทบาทส าคัญ ต่ อ การพัฒ นาคุณ ภาพ
การศึกษาของสถานศึกษา หมายถึง
องค์ประกอบและการได้มาของ
คณะกรรมการสถานศึก ษาเป็ น ไปตามหลัก เกณฑ์ท่ีก าหนดและมีค วาม
หลากหลาย มีการกากับติดตามการดาเนินงานตามแผนของสถานศึกษา
ส่งเสริมและสนับสนุ นให้เด็กทุกคนในเขตบริการได้รบั การศึกษาอย่ างทัวถึ
่ ง
และมีคุณภาพ พิทกั ษ์สทิ ธิเด็ก ดูแลเด็กพิการ เด็กด้อยโอกาสและเด็กที่
มีค วามสามารถพิ เ ศษ ให้ ไ ด้ ร ับ การพัฒ นาเต็ ม ศัก ยภาพ ประชุ ม
คณะกรรมการสถานศึกษาอย่างน้อยภาคเรียนละ ๒ ครัง้ และมีการรายงาน
ผลการประชุมต่อผูบ้ งั คับบัญชาเหนือขึน้ ไปภายใน ๑๕ วัน นับตัง้ แต่วนั ทีม่ ี
การประชุม คณะกรรมการสถานศึกษาไม่ต่ากว่าร้อยละ ๗๕ รับทราบและ
พึงพอใจต่อผลการดาเนินงานของสถานศึกษา
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗.๒ ประสิ ทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษา
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
๒) คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการ หมายถึง
คณะกรรมการสถานศึกษามีสว่ นร่วมในการให้ความเห็น ข้อเสนอแนะในการพัฒนา
หลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของผูเ้ รียน ผูป้ กครอง ชุมชน ท้องถิน่ การจัด
บรรยากาศ สภาพแวดล้อม กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ส่งเสริม
และกากับติดตามให้สถานศึกษามีกจิ กรรมการศึกษาทีเ่ กีย่ วข้องกับจารีตประเพณี
ศิลปวัฒนธรรมของท้องถิน่ และของชาติตามความเหมาะสมและโอกาสอันควร ให้
ข้อเสนอแนะเกีย่ วกับการจัดระบบและการดาเนินการตามระบบประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษา
๓) คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการบริหารงานบุคคล หมายถึง
คณะกรรมการสถานศึกษามีสว่ นร่วมกากับดูแลการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาให้
สอดคล้องกับนโยบาย ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์และวิธกี ารทีเ่ กีย่ วข้อง เสนอความ
ต้องการจานวนและอัตราตาแหน่งของครูหรือผูเ้ ลีย้ งดูเด็กในสถานศึกษาเพื่อเสนอ
ผูร้ บั ผิดชอบพิจารณา ให้ขอ้ คิดเห็นเกีย่ วกับการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาต่อ
ผูบ้ ริหารสถานศึกษา
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗.๒ ประสิ ทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษา
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
๔) คณะกรรมการสถานศึ กษามี ส่วนร่วมในการบริหารงานงบประมาณ
หมายถึง ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดตัง้ และใช้จ่ายงบประมาณ
ของสถานศึกษา การออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับ
การบริหารการเงิน การจัดหารายได้ของสถานศึกษา
๕) คณะกรรมการสถานศึ ก ษามี ส่ ว นร่ ว มในการบริ ห ารงานบริ ห ารทัว่ ไป
หมายถึง
ให้ความเห็น เสนอแนะและให้คาปรึกษาในการจัดทานโยบาย
แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
และกิจการของสถานศึกษา
การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา รวมทัง้ ปกครอง
ดูแลบารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์จากทรัพย์สนิ ของสถานศึกษา
การออก
ระเบียบ ข้อบังคับ ในการดาเนินงานต่างๆของสถานศึกษา
การส่งเสริมความ
เข้มแข็งในชุมชน และสร้างความสัมพันธ์ กับสถาบันอื่นๆในชุมชนและท้ องถิน่ ให้
ความเห็นชอบรายงานผลการดาเนินงานประจาปีก่อนเสนอต่อสาธารณชน
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗.๓ ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดให้ มคี รู หรือผู้เลีย้ งดูเด็ก
เพียงพอ และมีคุณภาพ
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
• คาอธิบาย
ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดให้ มีครู หรือผู้เลีย้ งดูเด็ก
เพียงพอและมีคุณภาพ หมายถึง ความสาเร็ จของการบริ หาร
จัดการให้มีครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กเพียงพอเหมาะสม มีคุณลักษณะที่
พึงประสงค์และมีความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ
เพื่อให้สามารถจัดการอบรมเลี้ยงดูควบคู่กบั การให้การศึกษาเพื่อ
ส่ งเสริ มพัฒนาเด็กทั้งด้านร่ างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และ
สติปัญญาอย่างสมดุล เหมาะสมกับวัย และความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล
69
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗.๓ ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดให้ มคี รู หรือผู้เลีย้ งดูเด็ก
เพียงพอ และมีคุณภาพ
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
• เกณฑ์ การพิจารณา
• ๑) มีการบริหารจัดการให้ มจี านวนครู หรือผู้เลีย้ งดูเด็กครบห้ อง และมีจานวน
เพียงพอกับจานวนเด็ก หมายถึง
- มีครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กครบทุกห้องและเด็กวัย ๒-๓ ปี มีสัดส่ วนครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็ก
ต่อเด็ก = ๑:๗ – ๑๐
- มีครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กครบทุกห้องและเด็กวัย ๓-๕ ปี มีสัดส่ วนครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็ก
ต่อเด็ก = ๑:๑๐ – ๑๕
• ๒) มีการคัดเลือกและพัฒนาครู หรือผู้เลีย้ งดูเด็กให้ มคี วามรู้ ความสามารถตรงกับ
งานที่รับผิดชอบ หมายถึง มีการบริ หารจัดการให้ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กอย่ างน้ อย
ร้ อยละ ๗๕ จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ทางการศึกษาปฐมวัยหรื ออนุบาลศึกษา
หรือ กาลังศึกษาระดับปริ ญญาตรี ทางการศึกษาปฐมวัยที่ได้เข้ารับการศึกษามาแล้ว
ไม่นอ้ ยกว่า ๒ ปี หรือ จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี และได้รับการอบรมให้
สามารถเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กปฐมวัยได้
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗.๓ ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดให้ มคี รู หรือผู้เลีย้ งดูเด็ก
เพียงพอ และมีคุณภาพ
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
๓) มีการคัดเลือกและพัฒนาครู หรือผู้เลีย้ งดูเด็กให้ มคี ุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์
หมายถึง มีการคัดเลือกครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กที่มีคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ ส่ งเสริ ม
พัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม และบุคลิกภาพของครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กให้เหมาะสมที่จะ
ทางานกับเด็ก มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกบั เด็ก ผูป้ กครอง ชุมชน และบุคลากรใน
สถานศึกษา มีความมุ่งมัน่ และอุทิศตนในการเลี้ยงดูและพัฒนาเด็ก
๔) ส่ งเสริม สนับสนุนให้ ครู หรือผู้เลีย้ งดูเด็กได้ รับการอบรมด้ านการพัฒนาเด็ก
ปฐมวัยเป็ นประจาทุกปี หมายถึง ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กได้รับการส่ งเสริ มสนับสนุน
ให้ได้รับการฝึ กอบรมพัฒนาด้านการอบรมเลี้ยงดูและจัดการศึกษาเพื่อส่ งเสริ ม
พัฒนาการเด็กทุกด้านอย่างเหมาะสมตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ไม่ ต่ากว่ าปี
ละ ๒๐ ชั่วโมง เป็ นประจาทุกปี
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗.๔ ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดสภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร ให้
เอือ้ ต่ อการเรียนรู้ ปลอดภัย และถูกสุ ขลักษณะ
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
•
คาอธิบาย
ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดสภาพแวดล้ อม
ภายนอกอาคารให้ เอือ้ ต่ อการเรี ยนรู้ ปลอดภัย และถูก
สุ ขลักษณะ หมายถึง ความสาเร็ จของการบริ หารจัดการ
ท รั พ ย า ก ร อ ย่ า ง คุ ้ ม ค่ า เ พื่ อ ใ ห้ ส ถ า น ศึ ก ษ า มี
สภาพแวดล้อ มภายนอกอาคารที่ เ อื้ อ ต่ อ การเรี ยนรู ้
สนองต่ อ ความต้อ งการ ความสนใจของเด็ ก และ
ปลอดภัย
72
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗.๔ ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดสภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร ให้
เอือ้ ต่ อการเรียนรู้ ปลอดภัย และถูกสุ ขลักษณะ
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
•
เกณฑ์ การพิจารณา
๑) สถานศึกษามีที่ต้งั เป็ นสัดส่ วน มีอาณาเขตชัดเจน ตั้งอยูห่ ่างจากแหล่ง อบายมุข ฝุ่ นละออง
กลิ่น เสี ยงรบกวน และพื้นที่เสี่ ยงต่ออันตราย
๒) มีพ้นื ที่ภายนอกเพียงพอเหมาะสมกับจานวนเด็ก และมีการจัดสรรพื้นที่อย่างชัดเจน สาหรับเป็ น
สนามเด็กเล่น การเล่นอิสระ และการทากิจกรรมนอกห้องเรี ยน
๓) มีพ้นื ที่สนามเด็กเล่นและมีเครื่ องเล่นที่เหมาะสม ปลอดภัยสาหรับเด็ก
๔) มีพ้นื ที่สาหรับจัดเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ภายนอกห้องเรี ยนให้แก่เด็ก
๕) มีการจัดสถานที่พกั รอและมุมการเรี ยนรู้สาหรับผูป้ กครอง
๖) มีการจัดสถานที่สาหรับเก็บน้ าสะอาดเพื่อดื่มและใช้อย่างเพียงพอ
๗) มีการจัดพื้นที่เก็บสิ่ งปฏิกลู ที่เหมาะสม ถูกสุ ขลักษณะ เพียงพอ และมีการกาจัดสิ่ งปฏิกลู ทุกวัน
๘) มีการจัดการดูแลสภาพแวดล้อมให้ถูกสุ ขลักษณะ เป็ นระเบียบเรี ยบร้อย สะอาด ปลอดภัย ร่ มรื่ น
สวยงาม
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗.๕ ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดสภาพแวดล้อมภายในอาคาร ให้
เอือ้ ต่ อการเรียนรู้ ปลอดภัย และถูกสุ ขลักษณะ
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
•
คาอธิบาย
ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดสภาพแวดล้ อม
ภายในอาคารให้ เอื้อต่ อการเรี ยนรู้ ปลอดภัย และถู ก
สุ ข ลั ก ษณะ หมายถึ ง ความส าเร็ จ ของการบริ หาร
จัด การทรั พ ยากรอย่ า งคุ ้ม ค่ า เพื่ อ ให้ ส ถานศึ ก ษา มี
สภาพแวดล้อมภายในอาคารที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ สนอง
ต่อความต้องการ ความสนใจของเด็ก และปลอดภัย
74
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗.๕ ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดสภาพแวดล้อมภายในอาคาร ให้
เอือ้ ต่ อการเรียนรู้ ปลอดภัย และถูกสุ ขลักษณะ
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
เกณฑ์ การพิจารณา
๑) ตัวอาคารมันคง
่ แข็งแรง และปลอดภัย ประตู หน้าต่างอยูใ่ นสภาพดี สามารถเข้าออกได้
หลายทาง ปลักไฟติ
๊
ดตัง้ อยูส่ งู จากพืน้ มากกว่า ๑.๕ เมตรและมีฝาปิดป้องกันเด็กเล่น
๒) พืน้ ทีใ่ นห้องเรียนแบ่งเป็ นสัดส่วนสาหรับการทากิจกรรมได้หลากหลายรูปแบบ มีพน้ื ทีว่ า่ ง
สาหรับการนังท
่ างานทีพ่ น้ื ห้องและมีพน้ื ทีส่ าหรับเก็บอุปกรณ์ของครูหรือผูเ้ ลีย้ งดูเด็กและของ
เด็ก
๓) มีพน้ื ทีห่ อ้ งสาหรับจัดกิจกรรมเพือ่ เด็กเหมาะสมกับจานวนเด็ก คือ มีพ้นื ทีไ่ ม่น้อยกว่า ๒.๐๐
ตารางเมตร ต่อเด็ก ๑ คน
๔) ภายในห้องเรียนมีแสงสว่างเพียงพอ และอากาศถ่ายเทได้ดี
๕) โต๊ะ เก้าอี้ ของเล่น และของใช้ มีขนาดเหมาะสม จานวนเพียงพอ สะอาดและปลอดภัย
สาหรับเด็ก
๖) มีการจัดทีพ่ กั สาหรับเด็กปว่ ยแยกเป็ นสัดส่วน
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗.๕ ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดสภาพแวดล้อมภายในอาคาร ให้
เอือ้ ต่ อการเรียนรู้ ปลอดภัย และถูกสุ ขลักษณะ
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
๗) มีสถานที่สาหรับการจัดเตรี ยมเครื่ องดื่ม ของว่าง และอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
รวมถึงสถานที่ทาความสะอาดภาชนะ และจัดเก็บภาชนะที่สะอาด ปลอดภัย และถูกสุ ขลักษณะ
๘) มีพ้นื ที่สาหรับใช้ในการแปรงฟัน ล้างมือ และทาความสะอาดร่ างกายเด็ก พร้อมอุปกรณ์ทาความ
สะอาด ที่จาเป็ นและเหมาะสมกับเด็ก
๙) มีน้ าสะอาดสาหรับบริ โภค เด็กมีแก้วน้ าส่ วนตัว และมีการล้างและจัดเก็บที่ถูกสุ ขลักษณะ
๑๐) มีการติดตั้งเครื่ องตัดไฟ และอุปกรณ์ดบั เพลิงที่พร้อมใช้งาน สายยางหรื ออุปกรณ์อื่นใดที่
สามารถใช้ในการดับไฟ และมีช่องทางฉุกเฉิ นที่สามารถพาเด็กออกนอกศูนย์พฒั นาเด็กได้อย่าง
ปลอดภัย
๑๑) มีหอ้ งส้วมที่ถูกสุ ขลักษณะ เหมาะสมกับวัย สะอาด ปลอดภัย และเพียงพอกับการใช้งานของเด็ก
มีน้ าสาหรับชาระล้าง มีแสงสว่างและการระบายอากาศที่ดี
๑๒) มีถงั ขยะที่สะอาด มีฝาปิ ดมิดชิด อยูใ่ นสภาพใช้งานได้ดี และมีการจัดเก็บออกจากตัวอาคารทุกวัน
เพื่อนาไปกาจัดอย่างถูกวิธี
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗.๖ ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดให้ มมี าตรการด้ านความ
ปลอดภัยและการป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
•
คาอธิบาย
ประสิ ทธิ ภาพของสถานศึ กษาในการจัดให้ มี ม าตรการด้ าน
ความปลอดภัยและการป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก หมายถึง
ความสาเร็ จของการบริ หารจัดการทรั พยากรในสถานศึ กษา
อย่างคุม้ ค่า เพื่อให้มีระบบการจัดการสร้างเสริ มความปลอดภัย
และป้ องกันการบาดเจ็บในเด็ก
77
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗.๖ ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดให้ มีมาตรการด้ านความ
ปลอดภัยและการป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
• เกณฑ์ การพิจารณา
๑) มีการกาหนดนโยบายเรื่ องความปลอดภัยในการดูแลเด็กเพื่อให้ครู
หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็ก และผูป้ กครองเด็กปฏิบตั ิตาม
๒) มีการอบรมบุคลากร และครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กเพื่อเพิม่ พูนความรู ้และ
ทักษะในการจัดการความปลอดภัยในเด็กเป็ นประจาทุกปี
๓) มีการประสานความร่ วมมือระหว่างสถานศึกษากับสถาบันองค์กรทั้ง
ภาครัฐ ภาคเอกชน และหน่วยงานต่างๆในเรื่ องการป้ องกันด้านความ
ปลอดภัยและการบาดเจ็บในเด็ก
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗.๖ ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดให้ มีมาตรการด้านความปลอดภัยและ
การป้ องกันการบาดเจ็บในเด็ก
น้าหนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
๔) มีระบบเฝ้ าระวังและวิเคราะห์ความเสี่ ยง เช่น มีแผนเฝ้ าระวังและวิเคราะห์ความ
เสี่ ยง มีการบันทึกการบาดเจ็บของเด็กรายบุคคล มีการเดินสารวจเพื่อค้นหาจุดเสี่ ยง
ต่อการบาดเจ็บ มีการสารวจและบันทึกข้อมูลเป็ นประจาสม่าเสมอตลอดปี มีการ
ประเมินผลที่นาไปสู่ การดาเนิ นกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ ยงเพื่อพัฒนา
ระบบเฝ้ าระวังและวิเคราะห์ความเสี่ ยงให้มีคุณภาพดียงิ่ ขึ้น
๕) มีกิจกรรมเพื่อการแก้ปัญหาและป้ องกันความปลอดภัยที่ครอบคลุมทั้ง ๖ ด้าน
อย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ความปลอดภัยของอาคาร ความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์
(ของใช้ ของเล่น อุปกรณ์การเรี ยนรู ้) การเดินทางปลอดภัย ระบบป้ องกันภัยจาก
บุคคล ระบบฉุกเฉิ น(แผนฝึ กซ้อมการป้ องกันภัย ฝึ กการกูช้ ีพ หมายเลขโทรศัพท์
ฉุกเฉิ น อุปกรณ์รักษาความปลอดภัย อุปกรณ์ดบั เพลิง) และความปลอดภัยในการ
จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้
ตัวบ่ งชี้ที่ ๘ ประสิ ทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน
นา้ หนัก ๕ คะแนน
• คาอธิบาย
• ให้ เลือกใช้ ตัวบ่ งชี ย้ ่ อยตามประเภทของสถานศึกษา ตามมาตรา ๑๘ ของพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ แก้ ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ ดังนี ้
• ตัวบ่ งชี้ที่ ๘.๑ ประสิทธิผลของระบบประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาหรื อหน่ วยงานทีม่ ี
หน้ าทีก่ ากับดูแลสถานศึกษา
• (สาหรับสถานศึกษาประเภทศูนย์ พฒ
ั นาเด็ก ได้ แก่ กระทรวงมหาดไทย เขตพืน้ ที่ปกครอง
พิเศษ(กรุงเทพฯและเมืองพัทยา) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ (ของ
รั ฐและของเอกชน) กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแรงงาน(ของรั ฐและของสถาน
ประกอบกิจการ) กระทรวงกลาโหม(กองทัพบก กองทัพเรื อ กองทัพอากาศ)
สานักนายกรั ฐมนตรี (กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน)
กระทรวงศึกษาธิ การ
(สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา) กระทรวงยุติธรรม(สานักสังคมสงเคราะห์ ))
• ตัวบ่ งชี้ที่ ๘.๒ พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้ นสังกัด
• (สาหรับสถานศึกษาประเภทโรงเรียนทีจ่ ัดการศึกษาระดับปฐมวัย ได้ แก่ โรงเรี ยนของรั ฐและ
โรงเรี ยนเอกชน)
80
ตัวบ่ งชี้ที่ ๘.๑ ประสิ ทธิผลของระบบประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาหรือหน่ วยงานทีม่ ี
หน้ าทีก่ ากับดูแลสถานศึกษา (สาหรับสถานศึกษาประเภทศูนย์ พฒ
ั นาเด็ก)
นา้ หนัก ๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๕ คะแนน)
• คาอธิบาย
ประสิ ท ธิ ผ ลของระบบประกั น คุ ณ ภาพภายในโดยสถานศึ ก ษาหรื อ
หน่ วยงานที่มีหน้ าที่กากับดูแลสถานศึ กษา หมายถึง ความสาเร็ จของ
ระบบประกัน คุ ณ ภาพภายในของสถานศึ ก ษาที่ น าไปสู่ ก ารพัฒ นา
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และรองรับการประกันคุณภาพภายนอก
ประกอบด้วย การประเมินคุณภาพภายใน การติดตามตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษา และการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
81
ตัวบ่ งชี้ที่ ๘.๑ ประสิ ทธิผลของระบบประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาหรือหน่ วยงานทีม่ ี
หน้ าทีก่ ากับดูแลสถานศึกษา (สาหรับสถานศึกษาประเภทศูนย์ พฒ
ั นาเด็ก)
นา้ หนัก ๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๕ คะแนน)
• เกณฑ์ การพิจารณา
๑) วางแผนการปฏิบตั ิงานทีค่ รอบคลุมทุกปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อคุณภาพการศึกษา รวมถึงการวางแผน
การจัดระบบบริหารและสารสนเทศทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพ หมายถึง สถานศึกษามีแผนปฏิบตั ิการประจาปี
ที่มีการกาหนดมาตรฐานและตัวบ่งชี้ความสาเร็ จที่ครอบคลุมทุกปั จจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพ
การศึกษา สอดคล้องตามหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย และมีรายละเอียดสาคัญเพียงพอต่อการ
บริ หารจัดการสถานศึกษาให้มีคุณภาพ มีการจัดระบบการดาเนินงานและระบบสารสนเทศที่
สอดคล้องกับแผนปฏิบตั ิการประจาปี ที่บุคลากรทุกฝ่ ายสามารถปฏิบตั ิได้
๒) ปฏิบตั ิตามแผน นิเทศ ติดตาม ประเมินผล และนาผลมาเปรียบเทียบกับเป้ าหมายตามแผนอย่ าง
ต่ อเนื่อง หมายถึง ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็ก และบุคลากรทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง
ใช้แผนปฏิบตั ิงานประจาปี เป็ นเครื่ องมือในการนิเทศ กากับติดตาม ประเมินผล การพัฒนา
คุณภาพของสถานศึกษาโดยนาผลมาเปรี ยบเทียบกับเป้ าหมายตามแผนอย่างต่อเนื่องและเป็ น
ส่ วนหนึ่งของกระบวนการบริ หารของสถานศึกษา
๓) นาข้ อมูลและผลการประเมินไปใช้ เพือ่ การตัดสิ นใจและปรับปรุ งพัฒนางานตามพันธกิจให้ เกิด
ผลดี หมายถึง ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็ก และบุคลากรทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องมีการนา
ข้อมูลจากการประเมินผลมาใช้ในการตัดสิ นใจและวางแผนปรับปรุ งพัฒนางานตามพันธกิจให้
สาเร็จและเกิดผลดีต่อการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานของสถานศึกษา
ตัวบ่ งชี้ที่ ๘.๑ ประสิ ทธิผลของระบบประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาหรือหน่ วยงานทีม่ ี
หน้ าทีก่ ากับดูแลสถานศึกษา (สาหรับสถานศึกษาประเภทศูนย์ พฒ
ั นาเด็ก)
นา้ หนัก ๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๕ คะแนน)
(ต่อ)
๔) ประเมินระบบประกันคุณภาพของสถานศึกษาโดยใช้ หลักการมีส่วนร่ วม การ
ตรวจสอบถ่ วงดุล และเสนอผลลัพธ์ ของการประกันคุณภาพต่ อหน่ วยงานทีม่ ี
หน้ าทีก่ ากับดูแลสถานศึกษาอย่ างน้ อยปี ละ ๑ ครั้ง หมายถึง คณะกรรมการ
สถานศึกษาที่ประกอบด้วยผูแ้ ทนชุมชนหรื อผูแ้ ทนผูป้ กครอง มีส่วนร่ วมในการ
ประเมินผลการดาเนินงานของสถานศึกษาตามระบบประกันคุณภาพของ
สถานศึกษา และเสนอผลการดาเนินการดังกล่าวต่อหน่วยงานที่มีหน้าทีก่ ากับดูแล
สถานศึกษา และสาธารณชน อย่างน้อยปี ละ ๑ ครั้ง
๕) จัดทารายงานประจาปี ทีเ่ ป็ นรายงานการประเมินตนเองอย่ างมีคุณภาพ สามารถ
รองรับการประเมินคุณภาพภายนอก หมายถึง สถานศึกษามีการจัดทารายงาน
ประจาปี ที่เป็ นรายงานประเมินผลการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานของสถานศึกษา
และสามารถรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกได้
ตัวบ่ งชี้ที่ ๘.๒
พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้ นสั งกัด
(สาหรับสถานศึกษาประเภทโรงเรียนทีจ่ ัดการศึกษาระดับปฐมวัย)
นา้ หนัก ๕ คะแนน (เชิงปริมาณ ๒.๕ และเชิงพัฒนาการ ๒.๕ คะแนน)
• คาอธิบาย
พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้ นสั งกัด หมายถึง การดาเนินการ
ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงที่ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการ
ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อที่ ๑๔ ระบุวา่ “กาหนดให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัด
ให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ
ภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ที่ยดึ หลักการมีส่วนร่ วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยการส่ งเสริ ม สนับสนุ น และกากับดูแลของหน่ วยงานต้นสังกัด
ทั้งนี้สถานศึกษาจะต้องดาเนิ นการประกันคุณภาพภายในที่ครอบคลุมตัวบ่งชี้ ตามกฎกระทรวงฯ
ซึ่งผลการประเมินคุณภาพภายในจากต้นสังกัดจะเป็ นคะแนนที่สามารถสะท้อนประสิ ทธิผลของ
คุณภาพการดาเนินงานด้านต่างๆ ของสถานศึกษาได้ ดังนั้นในการประเมินตัวบ่งชี้น้ ีจะใช้ค่าเฉลี่ย
คะแนนประเมินการประกันคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด ไม่ตอ้ งทาการประเมินใหม่
84
ตัวบ่ งชี้ที่ ๘.๒ พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้ นสั งกัด (สาหรับ
สถานศึกษาประเภทโรงเรียนทีจ่ ัดการศึกษาระดับปฐมวัย)
นา้ หนัก ๕ คะแนน (เชิงปริมาณ ๒.๕ และเชิงพัฒนาการ ๒.๕ คะแนน)
• แนวทางการพิจารณา
ใช้คะแนนผลการประเมินตามระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาโดยต้นสังกัด
ย้อนหลัง ๓ ปี โดยมีแนวทางการพิจารณา ๒ กรณี ดังนี้
เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน
ค่าน้าหนักคะ
กรณี ที่ ๑ เฉพาะสถานศึกษาที่ได้รบั การประเมินคุณภาพภายนอก ในปี ๒๕๕๔
๕
ใช้ คะแนนผลการประเมิ นระบบการประกันคุ ณภาพภายในของสถานศึ กษาโดยต้ นสังกัด
๑ปี ย้อนหลัง
กรณี ที่ ๒ สถานศึกษาที่ได้รบั การประเมินคุณภาพภายนอก ในปี ๒๕๕๕-๒๕๕๘
๕
ใช้คะแนนเฉลี่ยจากคะแนนผลการประเมินระบบการประกันคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด
โดยมีเกณฑ์การพิจารณาและเกณฑ์การให้คะแนนเชิงปริมาณและเชิงพัฒนาการ ดังนี้
๑. เชิงปริมาณ ใช้ คะแนนเฉลี่ ยจากคะแนนผลการประเมินระบบการประกันคุณภาพ
ภายในโดยต้นสังกัด (๒.๕ คะแนน)
๒. เชิ งพั ฒ นาการ ดู พ ั ฒ นาการของการประกั น คุ ณ ภาพภายในของสถานศึ ก ษา
(๒.๕ คะแนน)
กลุ่มตัวบ่ งชี้อตั ลักษณ์
ตัวบ่ งชี้ อัตลักษณ์ หมายถึ ง ตัวบ่งชี้ ที่ประเมิ นผลผลิ ตตามปรั ชญา ปณิ ธาน
พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา รวมถึงความสาเร็ จตาม
จุดเน้น และจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละสถานศึกษา โดย
ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาและหน่ วยงานต้นสังกัด
หรื อหน่วยงานที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษา ประกอบด้วย ๒ ตัวบ่งชี้ (ค่า
น้ าหนัก ๕ คะแนน)
ตัวบ่ งชี้
ที่
๙
๑๐
ชื่อตัวบ่ งชี้
ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิ ธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์
ของการจัดตั้งสถานศึกษา
ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของ
สถานศึกษา
นา้ หนัก
(คะแนน)
๒.๕
๒.๕
86
ตัวบ่ งชี้ที่ ๙ ผลการพัฒนาให้ บรรลุเป้ าหมายตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และ
วัตถุประสงค์ ของการจัดตั้งสถานศึกษา
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
• คาอธิบาย
ผลการพัฒนาให้ บรรลุตามปรั ชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุ ประสงค์ ของการ
จัดตั้งสถานศึ กษา หมายถึง ผลลัพธ์หรื อผลการดาเนิ นงานตามปรั ชญา ปณิ ธาน
พัน ธกิ จ และวัต ถุ ป ระสงค์ข องการจัด ตั้ง สถานศึ ก ษาซึ่ งก าหนดไว้เ ป็ นข้อ มู ล
เบื้ อ งต้นและเป็ นข้อตกลงร่ วมกันระหว่างคณะกรรมการสถานศึ กษา ผูบ้ ริ หาร
สถานศึกษา หน่ วยงานต้นสังกัดหรื อหน่ วยงานที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษาที่
ก าหนดเป็ นอัต ลัก ษณ์ ข องสถานศึ ก ษา โดย สมศ.จะประเมิ น ตามอัต ลัก ษณ์ ที่
สถานศึกษากาหนด
87
ตัวบ่ งชี้ที่ ๙ ผลการพัฒนาให้ บรรลุเป้ าหมายตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และ
วัตถุประสงค์ ของการจัดตั้งสถานศึกษา
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
• เกณฑ์ การพิจารณา
๑) ผูบ้ ริ หาร ครู บุคลากร ชุมชนและองค์กรภายนอกมีส่วนร่ วมในการกาหนดแผนปฏิบตั ิงานโดย
ระบุเป้ าหมายและกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับปรัชญา วิสยั ทัศน์ และพันธกิจการดาเนินงานของ
สถานศึกษาโดยได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
๒) มีการสร้างระบบการมีส่วนร่ วมของผูเ้ รี ยน และบุคลากรในการปฏิบตั ิตามกลยุทธ์ที่กาหนดอย่าง
ครบถ้วนสมบูรณ์ และบุคลากรไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๕๐ ให้ความร่ วมมือในการปฏิบตั ิ
๓) มีการประเมินความพึงพอใจของผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องในสถานศึกษา และผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องมีความพึง
พอใจอยูใ่ นระดับดีไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐
๔) ผลการดาเนินงานบรรลุตามปรัชญา วิสยั ทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษา
และเกิดผลกระทบที่ดีต่อชุมชน ท้องถิ่น
๕) ผูเ้ รี ยนมีคุณลักษณะที่เป็ นไปตามปรัชญา วิสยั ทัศน์ และพันธกิจด้านผูเ้ รี ยนตามที่สถานศึกษา
กาหนด และเป็ นที่ยอมรับของชุมชน ท้องถิ่น
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้ นและจุดเด่ นทีส่ ่ งผลสะท้ อนเป็ นเอกลักษณ์ ของ
สถานศึกษา
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
• คาอธิบาย
ผลการพั ฒ นาตามจุ ด เน้ นและจุ ด เด่ น ที่ ส่ งผลสะท้ อ นเป็ น
เอกลักษณ์ ข องสถานศึ กษา หมายถึ ง ผลการดาเนิ นงานตาม
จุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
ซึ่ งเป็ นผลลัพธ์ จากการดาเนิ นงานของสถานศึ กษานั้น ๆ เช่ น
โรงเรี ยนที่ เ น้ น ความสามารถด้ า นดนตรี กี ฬ า วิ ถี พุ ท ธ
วัฒนธรรมท้องถิ่น สองภาษา เป็ นต้น
89
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้ นและจุดเด่ นทีส่ ่ งผลสะท้ อนเป็ นเอกลักษณ์ ของ
สถานศึกษา
นา้ หนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
• เกณฑ์ การพิจารณา
๑. ผูบ้ ริ หาร ครู บุคลากร ชุมชนและองค์กรภายนอกมีส่วนร่ วมในการกาหนดจุดเน้น จุดเด่น หรื อ
ความเชี่ยวชาญเฉพาะของสถานศึกษา รวมทั้งกาหนดแผนปฏิบตั ิงานโดยระบุเป้ าหมายและกล
ยุทธ์การดาเนินงาน โดยได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
๒. มีการสร้างระบบการมีส่วนร่ วมของผูเ้ รี ยน และบุคลากรในการปฏิบตั ิตามกลยุทธ์ที่กาหนดอย่าง
ครบถ้วนสมบูรณ์ และบุคลากรไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๕๐ ให้ความร่ วมมือในการปฏิบตั ิอย่าง
ต่อเนื่อง
๓. มีการประเมินความพึงพอใจของผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องในสถานศึกษา และผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องมีความพึง
พอใจอยูใ่ นระดับดีไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐
๔. ผลการดาเนินงานบรรลุตามจุดเน้น จุดเด่น หรื อความเชี่ยวชาญเฉพาะของสถานศึกษาและเกิดผล
กระทบที่ดีต่อชุมชน ท้องถิ่น
๕. สถานศึกษามีเอกลักษณ์ตามจุดเน้น จุดเด่น หรื อความเชี่ยวชาญเฉพาะที่กาหนด และได้รับรางวัล
จากองค์กรภายนอกที่แสดงถึงการยอมรับในเอกลักษณ์น้ นั
กลุ่มตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม
ตั ว บ่ ง ชี้ ม าตรการส่ งเสริ ม หมายถึ ง ตัว บ่ ง ชี้ ที่ ป ระเมิ น ผลการด าเนิ น งานของ
สถานศึกษาโดยสถานศึกษาเป็ นผ้ กู าหนดแนวทางพัฒนาเพือ่ ร่ วมกันชี้แนะ ป้ องกัน
และแก้ ไขปัญหาสั งคมตามนโยบายของรั ฐ ซึ่ งสามารถปรั บเปลี่ยนตามกาลเวลา
และปัญหาสั งคมที่เปลี่ยนไป โดยมีเป้ าหมายที่แสดงถึงความเป็ นผูช้ ่วยเหลือสังคม
และแก้ปัญหาสังคมของสถานศึ กษา เช่ น การปฏิ รูปการศึ กษา การส่ งเสริ มและ
สื บสานโครงการตามพระราชดาริ และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การส่ งเสริ ม
ประชาธิ ปไตยในสถานศึกษาการป้ องกันสิ่ งเสพติด การพร้อมรับการเป็ นสมาชิ ก
สังคมอาเซี ยน การอนุ รักษ์พลังงาน การอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม การป้ องกันอุบตั ิภยั
การแก้ปั ญ หาความขัด แย้ง การสร้ า งสั ง คมสั น ติ สุ ข และความปรองดอง ฯลฯ
โดยสถานศึ กษาเป็ นผูก้ าหนดและหน่ วยงานต้นสังกัดหรื อหน่ วยงานที่ มีห น้าที่
กากับ ดู แ ลสถานศึ กษาให้ก ารรั บ รองการกาหนดตัวบ่ งชี้ ม าตรการส่ งเสริ มของ
สถานศึกษา ประกอบด้วย ๒ ตัวบ่งชี้ (ค่าน้ าหนัก ๕ คะแนน)
91
ประกอบด้วย ๒ ตัวบ่งชี้ (ค่าน้ าหนัก ๕ คะแนน) (ต่อ)
ตัวบ่ งชี้ที่
ชื่อตัวบ่ งชี้
๑๑
ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่ งเสริ มบทบาทของ
สถานศึกษา
ผลการส่ งเสริ มพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน
รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็ นเลิศ เพื่อให้
สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
๑๒
น้าหนัก
(คะแนน)
๒.๕
๒.๕
92
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๑ ผลการดาเนินการโครงการพิเศษเพือ่ ส่ งเสริมบทบาทของสถานศึกษา
น้าหนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ และBetter ๒.๕ คะแนน)
• คาอธิบาย
ผลการดาเนินการโครงการพิเศษเพื่อส่ งเสริ มบทบาทของสถานศึ กษา หมายถึ ง
สถานศึกษา มีการกาหนดมาตรการที่นามาปรับปรุ งและพัฒนาเพื่อแก้ไขปั ญหาทั้ง
ในสถานศึกษาและ/หรื อ ชุมชนรอบสถานศึกษา โดยเน้นการแก้ปัญหาท้องถิ่นที่มี
การดาเนิ นงานที่เกิดจากการมีส่วนร่ วมทั้งสถานศึกษา ผูป้ กครอง ชุมชนและสังคม
รวมทั้งมี การน้อมนาหลักปรั ชญาเศรษฐกิ จพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการบริ หาร
จัดการ การจัดทาหลักสู ตรการเรี ยนการสอน การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนและการ
พัฒนาบุคลากร เช่น ปั ญหาผูเ้ รี ยนขาดสารอาหาร การแก้ปัญหาในชุมชนหรื อ
ท้อ งถิ่ น การส่ ง เสริ มการศึ ก ษาต่ อ ตามศัก ยภาพของผู ้เ รี ยนและบริ บทของ
สถานศึกษา การมี แบบอย่างการจัดการเรี ยนการสอนและการบริ หารจัดการตาม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นต้น
93
ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการดาเนินการโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา
น้าหนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ และBetter ๒.๕ คะแนน)
• เกณฑ์ การพิจารณา
๑. เกณฑ์ การพิจารณาเชิงคุณภาพ (๒ คะแนน)
พิจารณาจากการดาเนินโครงการพิเศษที่สถานศึกษากาหนดเพื่อนามาปรับปรุ งและพัฒนาเพื่อแก้ไข
ปัญหาทั้งในสถานศึกษา และ/หรื อ ชุมชนรอบสถานศึกษา รวมทั้งการน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการบริ หารจัดการ การจัดทาหลักสู ตรการเรี ยนการสอน การจัดกิจกรรม
พัฒนาผูเ้ รี ยนและการพัฒนาบุคลากร ตามเกณฑ์การพิจารณาดังนี้
๑) มีการดาเนินการโครงการพิเศษ อย่างน้อย ๒ โครงการ ต่อปี การศึกษา
๒) มีการดาเนินงานอย่างเป็ นระบบตามวงจรคุณภาพ (PDCA)
๓) บรรลุเป้ าหมายตามแผนของโครงการพิเศษไม่ต่ากว่าร้อยละ ๘๐
๔) ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในโครงการพิเศษ
๕) มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์ เป็ นแบบอย่างและสร้างคุณค่าต่อสถานศึกษา และ/หรื อ ชุมชน
รอบสถานศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการดาเนินการโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา
น้าหนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ และBetter ๒.๕ คะแนน)
(ต่อ)
๒. เกณฑ์การพิจารณา BETTER (๓ คะแนน) พิจารณาจากผลการ
เปลี่ยนแปลงของการพัฒนาที่ดีขึน้ ในการแก้ปัญหา(BETTER) จากร้อยละของ
จานวนโครงการทีส่ ถานศึกษาดาเนินการและมีผลการเปลีย่ นแปลงทีด่ ขี น้ึ ในการแก้ไข
ปญั หาในสถานศึกษา และ/หรือ ชุมชนรอบสถานศึกษา รวมทัง้ จากการน้อมนาหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการ การจัดทาหลักสูตรการ
เรียนการสอน การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนและการพัฒนาบุคลากร รวมถึงการที่
สถานศึกษาสามารถเป็ นแบบอย่าง การแก้ไขปญั หาในสถานศึกษา และ/หรือ ชุมชน
รอบสถานศึกษา
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๒ ผลการส่ งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพือ่ ยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และ
พัฒนาสู่ ความเป็ นเลิศ เพือ่ ให้ สอดคล้ องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
น้าหนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
• คาอธิบาย
ผลการส่ งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพือ่ ยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนา สู่ ความเป็ นเลิศ
ที่สอดคล้ องกับแนวทางการปฏิรูปการศึ กษา หมายถึง สถานศึ กษามี การกาหนดมาตรการที่ นามา
ปรับปรุ งและพัฒนา เพื่อมุ่ งไปสู่ สถานศึ กษาที่ มีคุณภาพ เป็ นข้อตกลงร่ วมกันระหว่างสถานศึ กษา
หน่ ว ยงานต้น สั ง กัด สมศ. และ/หรื อ หน่ ว ยงานสนับ สนุ น เช่ น ส านัก งบประมาณ ส านัก งาน
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เป็ นต้น โดยกรณี สถานศึกษาของรัฐบาลควรมีการกาหนด
มาตรการร่ วมกันกับหน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้องตามข้อตกลงในการดาเนิ นงานและการใช้ทรัพยากรกับ
รัฐบาล โดยพิจารณาตามผลการประเมินสถานศึกษาในรอบสอง ดังนี้
๑. กลุ่มที่ตอ้ งยกระดับมาตรฐาน คือ สถานศึกษาที่มีผลการประเมินยังไม่ได้รับการรับรอง
๒. กลุ่มที่ตอ้ งรักษามาตรฐาน คือ สถานศึกษาที่ได้รับการรับรองและมีผลการประเมินในระดับดี
๓. กลุ่มที่ตอ้ งพัฒนาสู่ความเป็ นเลิศ คือ สถานศึกษาที่ได้รับการรับรองและมีผลการประเมิน
ในระดับดีมาก
96
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๒ ผลการส่ งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพือ่ ยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และ
พัฒนาสู่ ความเป็ นเลิศ เพือ่ ให้ สอดคล้ องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
น้าหนัก ๒.๕ คะแนน (เชิงคุณภาพ ๒.๕ คะแนน)
• เกณฑ์ การพิจารณา
พิจารณาจากผลการปรับปรุ งและพัฒนาสถานศึกษาตามแผนการดาเนินงานประจาปี ตามมาตรการ ที่นามา
ปรับปรุ งและ
พัฒนา เพื่อมุ่งไปสู่ สถานศึกษาที่มีคุณภาพตามกลุ่มสถานศึกษา
๑. มีแผนการดาเนินงานประจาปี ตามมาตรการที่นามาปรับปรุ งและพัฒนา เพื่อมุ่งไปสู่ สถานศึกษา
ที่มีคุณภาพตามกลุ่มสถานศึกษา โดยใช้ขอ้ เสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายนอกและผลการ
ประเมินคุณภาพภายใน (กรณี สถานศึกษาที่ยงั ไม่เคยได้รับการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสองให้
ใช้ผลการประเมินคุณภาพภายในจากต้นสังกัด)
๒. มีขอ้ ตกลงร่ วมกันระหว่างสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานสนับสนุนและหน่วยงานอื่นๆ
๓. มีการดาเนินงานอย่างเป็ นระบบครบวงจรคุณภาพ (PDCA)
๔. มีผลการดาเนินงานบรรลุเป้ าหมายตามแผนการดาเนินงานประจาปี ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๘๐
๕. มีผลกระทบต่อคุณภาพของสถานศึกษาตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา คือ การพัฒนาคุณภาพคน
ไทยยุคใหม่ การพัฒนาคุณภาพครู ยคุ ใหม่ การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่งเรี ยนรู ้ยคุ ใหม่ และ
การพัฒนาคุณภาพการบริ หารจัดการใหม่
การรับรองมาตรฐานของสถานศึกษา
ระดับการศึกษาปฐมวัย (๒-๕ ปี )
กรณี
สถานศึกษาประเภทศูนย์พฒ
ั นาเด็ก
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔ –
๒๕๕๘) ของ สมศ. เป็ นการประเมินรอบแรกของ ศูนย์พฒ
ั นาเด็ก
จึงเป็ นการประเมินเพื่อชี้ทิศทางการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานของ
สถานศึ กษา ผลการประเมินในภาพรวมจึงเป็ นเพี ยงการยืนยัน
สภาพจริง ไม่ตดั สินได้ – ตก หรือ ผ่าน-ไม่ผา่ น กาหนดแต่เพียงว่า
“ได้รบั การประเมินคุณภาพภายนอกจาก
สมศ. แล้ว”
๑๐ เมษายน ๒๕๕๘
98
การรับรองมาตรฐานคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษาในภาพรวม
กรณี สถานศึกษาประเภทโรงเรียนทีจ่ ดั การศึกษาปฐมวัย
จะต้ องมี ผ ลการประเมิ นคุ ณ ภาพภายนอกผ่ า นเกณฑ์
มาตรฐาน สมศ. ดังนี้
๑. มีผลรวมคะแนนของทุกตัวบ่งชี้ ตัง้ แต่ ๘๐.๐๐ คะแนนขึ้น
ไป
๒. มีตวั บ่งชี้ อย่างน้ อย ๑๐ ตัวบ่งชี้ จากทัง้ หมด ๑๒ ตัวบ่งชี้
ที่มีระดับคุณภาพแต่ละตัวบ่งชี้ ตัง้ แต่ระดับดีขนึ้ ไป
๓. สถานศึ ก ษาต้ อ งไม่ มี ต ัว บ่ ง ชี้ ใ ดอยู่ ใ นระดับ คุ ณ ภาพ
ควรปรับปรุง หรือ ต้องปรับปรุง
๑๐ เมษายน ๒๕๕๘
99
การคานวณผลการประเมิน
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกนัน้ นาเสนอโดยคานวณผลเป็ น
รายตัวบ่งชี้และแยกตามแต่ละประเภทของตัวบ่งชี้ โดยพิจารณาจาก
ค่าเฉลี่ยผลการประเมินในแต่ ละตัวบ่งชี้ ในการคานวณทศนิยมใช้
ทศนิยม ๒ ตาแหน่ ง หากทศนิยมตาแหน่ งที่สามมีค่าตัง้ แต่ .๐๐๕ ขึน้
ไปให้ปัดขึน้ และนาเสนอผลการประเมินในภาพรวมเพื่อใช้พิจารณา
ตั ด สิ น ผ ล แ ล ะ รั บ ร อ ง ม า ต ร ฐ า น คุ ณ ภ า พ ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า
ดังรายละเอียดตามตาราง
กลุ่มของตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้พืน้ ฐาน
ตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์
ตัวบ่งชี้ที่เป็ นมาตรการส่งเสริม
ภาพรวม
๑๐ เมษายน ๒๕๕๘
จานวนตัวบ่งชี้
๘
๒
๒
๑๒
คะแนนเต็ม
๙๐
๕
๕
๑๐๐
100
เกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกในภาพรวม
เป็ นการนาผลคะแนนของทุกตัวบ่งชี้ มามารวมกันแล้ว
พิจารณาเป็ นระดับคุณภาพดังรายละเอียดตามตาราง
ช่วงคะแนน (เต็ม ๑๐๐ คะแนน) ระดับคุณภาพ
๐.๐๐ – ๔๙.๙๙
๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙
๖๐.๐๐ – ๗๔.๙๙
๗๕.๐๐ – ๘๙.๙๙
๙๐.๐๐ – ๑๐๐.๐๐
๑๐ เมษายน ๒๕๕๘
ต้องปรับปรุง
ควรปรับปรุง
พอใช้
ดี
ดีมาก
101
การจัดคณะผูป้ ระเมินภายนอก
ผู้ ป ร ะ เ มิ น ภ า ย น อ ก ห ม า ย ถึ ง บุ ค ค ล ทั ้ง ที่ เ ป็ น
นักวิชาการ/วิชาชีพ หรือผูป้ กครอง/ผูแ้ ทนชุมชนที่มีคณ
ุ สมบัติ
ตามที่ สมศ. กาหนด และได้รบั การรับรองจาก สมศ. ให้ทา
การประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกสถานศึ ก ษา ซึ่ ง ผู้ป ระเมิ น
ภายนอก ก็คือ คุณหมอโรงเรียนนัน่ เอง
๑๐ เมษายน ๒๕๕๘
102
จานวนของผูป้ ระเมินภายนอก
ที่เข้าประเมินในแต่ละสถานศึกษา
สาหรั บ สถานศึกษาประเภทศูนย์ พฒ
ั นาเด็ก
ขนาดของสถานศึกษา
สถานศึกษาขนาดเล็ก
(มีจานวนนักเรียนน้อยกว่า ๑๐๑ คน)
สถานศึกษาขนาดกลาง
(มีจานวนนักเรียนตัง้ แต่ ๑๐๑ – ๓๐๐ คน)
สถานศึกษาขนาดใหญ่
(มีจานวนนักเรียนตัง้ แต่ ๓๐๑ – ๕๐๐ คน)
สถานศึกษาขนาดใหญ่พเิ ศษ
(มีจานวนนักเรียนตัง้ แต่ ๕๐๑ คนขึน้ ไป)
๑๐ เมษายน ๒๕๕๘
จานวนผูป้ ระเมินภายนอก
๒-๔ คน
๓-๕ คน
๔-๖ คน
๕-๗ คน
103
สาหรับ สถานศึกษาประเภทโรงเรียนทีจ่ ดั การศึกษาระดับปฐมวัย
จานวนผูป้ ระเมินภายนอก
ขนาดของสถานศึกษา
สถานศึกษาขนาดเล็ก
๒-๕ คน
(มีจานวนนักเรียนน้อยกว่า ๓๐๑ คน)
สถานศึกษาขนาดกลาง
๓-๖ คน
(มีจานวนนักเรียนตัง้ แต่ ๓๐๑ – ๑,๐๐๐ คน)
สถานศึกษาขนาดใหญ่
(มีจานวนนักเรียนตัง้ แต่ ๑,๐๐๑ – ๒,๐๐๐ คน)
๔-๗ คน
สถานศึกษาขนาดใหญ่พเิ ศษ
(มีจานวนนักเรียนตัง้ แต่ ๒,๐๐๑ คนขึน้ ไป)
๕-๘ คน
กรณี สถานศึกษาประเภทโรงเรียนทีจ่ ดั
การศึกษาปฐมวัยและมีศนู ย์พฒ
ั นาเด็ก
ขนาดของสถานศึกษา
(เพิ่ม) จานวน
ผูป้ ระเมินภายนอก
สถานศึกษาขนาดเล็ก
(มีจานวนนักเรียนน้อยกว่า ๑๐๑ คน)
๑-๒ คน
สถานศึกษาขนาดกลาง
(มีจานวนนักเรียนตัง้ แต่ ๑๐๑-๓๐๐ คน)
๒-๓ คน
สถานศึกษาขนาดใหญ่
(มีจานวนนักเรียนตัง้ แต่ ๓๐๑-๕๐๐คน)
๓-๔ คน
สถานศึกษาขนาดใหญ่พเิ ศษ
(มีจานวนนักเรียนตัง้ แต่ ๕๐๑ คนขึน้ ไป)
๔-๕ คน
ระยะเวลาการประเมิน
การประเมิ นคุ ณ ภาพภายนอกสถานศึ ก ษาระดั บ
การศึกษาขัน้ พื้นฐาน กาหนดให้ ผ้ปู ระเมินภายนอกที่ ได้รบั
การรับรองจาก สมศ. เข้าทาการประเมินคุณภาพภายนอก
สถานศึ ก ษา ในระยะเวลาการประเมิ น ๓ วั น ท าการ
ที่สถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอน
๑๐ เมษายน ๒๕๕๘
106
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บ รวบรวมข้ อ มู ล เป็ นขัน้ ตอนส าคัญ ส าหรั บ
การประเมินคุณภาพภายนอก เนื่ องจากผู้ประเมินภายนอก
ต้ อ งตรวจสอบและค้ น หาร่ อ งรอย หลัก ฐานเพื่ อ ยื น ยัน
การปฏิบ ตั ิ ง านของสถานศึ ก ษาตามสภาพจริ ง ซึ่ ง การเก็บ
รวบรวมข้ อมูลสามารถท าได้ หลายวิ ธี แต่ วิ ธี ที่ เ หมาะสมที่
สมศ. นาเสนอสาหรับเก็บข้อมูล ประกอบด้วยการเก็บข้ อมูล
แบบ ๓ วิธีหลัก คือ
๑) การศึกษาจากเอกสาร
๒) การสัมภาษณ์
๓) การสังเกต
๑๐ เมษายน ๒๕๕๘
107
การติดตามและประเมินผลการปฏิบตั ิ งาน
ของผูป้ ระเมินภายนอก
ในระหว่ า งและหลังการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึ กษาของ
คณะผู้ ป ระเมิ นภายนอก สมศ. จะด าเนิ นการก ากับ ดู แ ลคุ ณ ภาพและ
ประเมินผลงานของคณะผู้ประเมินภายนอก โดยอาศัยทัง้ ข้อมูลย้อนกลับจาก
สถานศึกษาที่ได้รบั การประเมินและบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องว่าผู้ประเมินภายนอก
ได้ปฏิบตั ิ หน้ าที่อย่างเหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค์และข้อกาหนดของ สมศ.
ตลอดจนปฏิบตั ิ ตามจรรยาบรรณของผูป้ ระเมินภายนอกและ
หน่ วยประเมินหรือไม่
นอกจากนัน้ ยังมีการตรวจสอบคุณภาพของผูป้ ระเมินภายนอก
จากรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่
คณะผูป้ ระเมินภายนอกจัดส่งมายัง สมศ.
๑๐ เมษายน ๒๕๕๘
108
การติดตามผลการพัฒนาของสถานศึกษา
การติดตามผลเป็ นขัน้ ตอนที่ ทาให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง
และน าไปสู่ก ารพัฒ นาคุณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษา การติด ตาม
ผลการพัฒ นาของสถานศึ ก ษาให้ พิ จ ารณาจากรายงานการประเมิ น
ตนเอง (SAR)
หรื อ รายงานประจ าปี ที่ สถานศึ ก ษาแต่ ล ะแห่ ง ต้ อ ง
ดาเนินการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และจาก
รายงานการประเมินคุณภาพภายนอก โดยคณะผู้ประเมินภายนอกที่ สม
ศ. ให้การรับรอง รวมทัง้ ติดตาม ส่งเสริม สนับสนุน ประสานเชื่อมโยงกับ
หน่ วยงานต้นสังกัดในการประเมินคุณภาพภายใน รวมทัง้
การพัฒนาสถานศึกษาตามข้อเสนอแนะจากการประเมิน
คุณภาพภายนอก นอกจากนี้ ยงั ติดตามตรวจสอบวิจยั
กรณี ตวั อย่างว่าสถานศึกษานัน้ ๆ ได้ใช้ผลการประเมินในการปรับปรุง
แก้ไขภายในระยะเวลาที่กาหนดหรือไม่
๑๐ เมษายน ๒๕๕๘
109
ขัน้ ตอนการประเมิน
ระยะก่อนการตรวจ
เยี่ยม
ระยะระหว่างตรวจ
เยี่ยม
ระยะหลังการตรวจ
เยี่ยม
110
• วางแผนการตรวจเยี่ยมและแผนการประเมิน โดย
การศึกษาและรวบรวมข้อมูลจาก SAR ข้อมูลพืน้ ฐาน
เอกสาร หลักฐาน ฯลฯ
• ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล
• กาหนดขอบเขตของการประเมิน
• แจ้งกาหนดการตรวจเยี่ยมต่อสถานศึกษา เพื่อให้
สถานศึกษาจัดส่งรายงานประเมินตนเองมายัง สมศ.
111
 ชี้แจงกับบุคลากรของสถานศึกษาและผูป้ ระสานงานเพื่อทาความเข้าใจ
 ดาเนินการประเมินโดยใช้วิธีการที่หลากหลาย
 3 วิธีการ ได้แก่ เอกสาร สังเกต สัมภาษณ์
 3 แหล่ง ได้แก่ ผูจ้ ดั การศึกษา ผูร้ บั ผลประโยชน์ ผูไ้ ด้รบั
ผลกระทบ
 วิเคราะห์ข้อมูล
 เสนอข้อสังเกตและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผูบ้ ริหารสถานศึกษา
 นาสรุปผลการประเมินในภาพรวมด้วยวาจาต่อผูบ้ ริหารและผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
112
•
•
•
•
•
•
จัดทาร่างรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา
ส่งร่างรายงานฯให้สถานศึกษาตรวจสอบ
ปรับแก้รายงานตามข้อเสนอแนะของผูป้ ระเมินอภิมานภายนอก
ส่งรายงานประเมินฉบับสมบรูณ์มายัง สมศ.
สมศ. พิจารณารับรองรายงานและพิจารณารับรองรายงาน
สมศ. รายงานผลการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาประจาปี ต่อ
- คณะรัฐมนตรี
- ต้นสังกัดหรือหน่ วยงานที่มีหน้ าที่กากับดูแลสถานศึกษา
- สานักงบประมาณ
- หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน
113
ขอขอบพระคุณทุกท่ าน
โดยท่ านสามารถรับทราบข้ อมูลข่ าวสาร
ได้ ที่ www.onesqa.or.th
โทร. 02-216-3955
114