การประเมินคุณภาพภายนอก รอบ 3 ระดับปฐมวัย รศ.ดร.รุจริ ์ ภู่สาระ กลุมตั ้ น ื้ ฐาน ่ วบงชี ่ พ 8 ตัวบ่งชี้ (80 คะแนน) ตัว นำ้ หนัก เกณฑ์ กำรให้ ชื่อตัวบ่ งชี้ บ่ งชี้ที่ (คะแนน) คะแนน 1 เด็กมีพฒั นาการด้านร่

Download Report

Transcript การประเมินคุณภาพภายนอก รอบ 3 ระดับปฐมวัย รศ.ดร.รุจริ ์ ภู่สาระ กลุมตั ้ น ื้ ฐาน ่ วบงชี ่ พ 8 ตัวบ่งชี้ (80 คะแนน) ตัว นำ้ หนัก เกณฑ์ กำรให้ ชื่อตัวบ่ งชี้ บ่ งชี้ที่ (คะแนน) คะแนน 1 เด็กมีพฒั นาการด้านร่

การประเมินคุณภาพภายนอก
รอบ 3
ระดับปฐมวัย
รศ.ดร.รุจริ ์ ภู่สาระ
กลุมตั
้ น
ื้ ฐาน
่ วบงชี
่ พ
8 ตัวบ่งชี้ (80 คะแนน)
ตัว
นำ้ หนัก เกณฑ์ กำรให้
ชื่อตัวบ่ งชี้
บ่ งชี้ที่
(คะแนน) คะแนน
1 เด็กมีพฒั นาการด้านร่ างกายสมวัย
5
ปริ มาณ
2 เด็กมีพฒั นาการด้านอารมณ์และ
5
ปริ มาณ
จิตใจสมวัย
3 เด็กมีพฒั นาการด้านสังคมสมวัย
5
ปริ มาณ
4 เด็กมีพฒั นาการด้านสติปัญญาสมวัย
5
ปริ มาณ
5 เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในขั้น
10
ปริ มาณ
ต่อไป
กลุมตั
้ น
ื้ ฐาน
่ วบงชี
่ พ
8 ตัวบ่งชี้ (80 คะแนน)
ตัว
นำ้ หนัก เกณฑ์ กำรให้
ชื่อตัวบ่ งชี้
บ่ งชี้ที่
(คะแนน) คะแนน
6 ประสิ ทธิผลการจัดประสบการณ์
35
คุณภาพ
การเรี ยนรู้ที่เน้นเด็กเป็ นสาคัญ
7 ประสิ ทธิภาพของการบริ หารจัดการ 15
คุณภาพ
และพัฒนาสถานศึกษา
8 ประสิ ทธิผลของระบบการประกัน
5
ใช้ผลจากต้น
คุณภาพภายใน
สังกัด
ปริ มาณ+
พัฒนาการ
ตัวบ่ งชี้ที่ 1 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนร่ ำงกำยสมวัย (5 คะแนน)
(2.5 คะแนน)
1.1
เด็กมีสุขภาพกายสมวัย
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. ร้อยละของการเจริ ญเติบโตสมวัย
 น้ าหนัก, ส่ วนสู ง, ตามเกณฑ์กรมอนามัย
2. ร้อยละของเด็กที่มีสมรรถภาพทางร่ างกายสมวัย
 การเล่นออกกาลังกายประมาณ 5 นาที (เด็ก 2 – 3 ขวบ)
 การเล่นออกกาลังกายประมาณ 10 นาที (เด็ก 3 – 5 ขวบ)
3. ร้อยละของเด็กที่มีสมรรถภาพทางกลไกสมวัย
 เคลื่อนไหวร่ างกายได้คล่องแคล่ว
 ทรงตัวได้ดี
 หยิบจับสิ่ งของขนาดใหญ่ได้
 ใช้มือหยิบจับ รับโยนได้ตามวัย
ตัวบ่ งชี้ที่ 1 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนร่ ำงกำยสมวัย (5 คะแนน)
(2.5 คะแนน)
1.1
เด็กมีสุขภาพกายสมวัย
คำแนะนำทีส่ ถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
1. จัดทาบันทึก น้ าหนัก ส่ วนสูง / รวบรวมผลการบันทึกของ
กรมอนามัย
2. บันทึกการเล่นออกกาลังกาย (ตามระดับอายุ)
3. บันทึกสมรรถภาพทางกลไกในการเคลื่อนไหวร่ างกาย, การ
ทรงตัว, การหยิบจับสิ่ งของ, การใช้มือหยิบจับ รับ โยน
4. จัดให้มีเครื่ องเล่นสนาม
5. ภายในห้องเรี ยนจัดมุมต่างๆ ให้สอดคล้องกับวัย
ตัวบ่ งชี้ที่ 1 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนร่ ำงกำยสมวัย (5 คะแนน)
(2.5 คะแนน)
1.2
เด็กมีสุขนิสยั สมวัย
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. ร้อยละของเด็กที่สามารถดูแลตนเองให้มีสุขนิสัยที่ดี
 ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร / หลังจากเข้าห้องน้ า /
แปรงฟันหลังรับประทานอาหาร
2. ร้อยละของเด็กที่รู้จกั หลีกเลี่ยงการกระทาที่นาไปสู่การ
บาดเจ็บตามวัย
 ปฏิบต
ั ิตนตามข้อตกลงเรื่ องความปลอดภัยในห้องเรี ยน
เช่น
oไม่ปีนหยิบของในที่สูง
oไม่เอานิ้วแหย่ในรู ไฟ (อายุ 3 – 5 ขวบ)
ตัวบ่ งชี้ที่ 1 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนร่ ำงกำยสมวัย (5 คะแนน)
(2.5 คะแนน)
1.2
เด็กมีสุขนิสยั สมวัย
คำแนะนำทีส่ ถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
1. จัดบันทึกการดูแลตนเองของเด็กเป็ นรายบุคคล
2. จัดบันทึกการปฎิบตั ิตนตามข้อตกลงในชั้นเรี ยนเป็ นรายบุคคล
ตัวบ่ งชี้ที่ 2 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนอำรมณ์ และจิตใจสมวัย (5 คะแนน)
(2.5 คะแนน)
2.1
เด็กมีสุขภาพจิตสมวัย
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. ร้อยละของเด็กที่แสดงความตระหนักในตนเอง
 บอกความต้องการ / ความพอใจของตนเอง (อายุ 2 – 3
ขวบ)
 ตัดสิ นใจเลือกสิ่ งต่างๆ ได้ (อายุ 3 – 5 ขวบ)
 บอกชื่ อ เพศ สถานภาพ จานวนสมาชิ กในครอบครัว
(อายุ 3 – 5 ขวบ)
2. ร้อยละของเด็กซึ่งแสดงความรู ้สึกที่ดีต่อตนเองและผูอ้ ื่น
 ยิม
้ / แสดงความยินดีเมื่อสามารถทาสิ่ งใดได้
 ยิม
้ / แสดงท่าทาง / พูดชมเชยในความสามารถของผูอ้ ื่น
(อายุ 3 – 5 ขวบ)
ตัวบ่ งชี้ที่ 2 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนอำรมณ์ และจิตใจสมวัย (5 คะแนน)
(2.5 คะแนน)
2.1
เด็กมีสุขภาพจิตสมวัย
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
3. ร้อยละของเด็กที่มีความมุ่งมัน่ ตั้งใจ
 ทากิ จกรรมที่เลือกเองจนสาเร็ จ (อายุ 2 – 3 ขวบ)
 ทากิ จกรรมที่เลือกเองจนสาเร็ จ ไม่ลม
้ เลิกกลางคัน (อายุ 3 –
5 ขวบ)
4. ร้อยละของเด็กที่สามารถเล่นและปฏิบตั ิกิจกรรมร่ วมกับผูอ้ ื่น
่ กล้ๆ เพื่อน (อายุ 2 – 3 ขวบ)
 เล่นด้วยตนเองแต่อยูใ
 เล่นอย่างร่ วมมือ / ปฏิบต
ั ิกิจกรรมร่ วมกับเพื่อน (อายุ 3 – 5
ขวบ)
5. ร้อยละของเด็กที่มีมนุษยสัมพันธ์กบั คนคุน้ เคย
 ยิม
้ / พูดคุย / ทักทาย / ตามวัย
ตัวบ่ งชี้ที่ 2 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนอำรมณ์ และจิตใจสมวัย (5 คะแนน)
(2.5 คะแนน)
2.1
เด็กมีสุขภาพจิตสมวัย
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
6. ร้อยละของเด็กที่มีความรู ้สึกร่ วมกับผูอ้ ื่น
 ยิม
้ ร้องไห้ หัวเราะ ตามสถานการณ์ที่ตนรับรู ้
คำแนะนำทีส่ ถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
1. จัดทาแบบบันทึกพฤติกรรมตามข้อ 1 – 6 ของเด็กเป็ น
รายบุคคล
2. ภาพถ่ายการเล่น / พฤติกรรมตามเกณฑ์
ตัวบ่ งชี้ที่ 2 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนอำรมณ์ และจิตใจสมวัย (5 คะแนน)
(2.5 คะแนน)
2.1
เด็กมีสุนทรี ยภาพสมวัย
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. ร้อยละของเด็กที่แสดงความชื่นชอบและตอบสนองต่อศิลปะ
ดนตรี และการเคลื่อนไหว
 แสดงความสนใจ อยากรู ้อยากเห็น
 แสดงอารมณ์ร่วมไปกับ สี สน
ั รู ปทรง ของงานศิลปะ
เสี ยงดนตรี ท่าทาง จังหวะการเคลื่อนไหว
2. ร้อยละของเด็กที่แสดงความชื่นชอบต่อธรรมชาติ
 แสดงความชื่ นชอบ ตื่นตาตื่นใจ
 สนใจใคร่ รู้ธรรมชาติรอบตัว และปรากฏการณ์ธรรมชาติ
ตัวบ่ งชี้ที่ 2 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนอำรมณ์ และจิตใจสมวัย (5 คะแนน)
(2.5 คะแนน)
2.1
เด็กมีสุนทรี ยภาพสมวัย
คำแนะนำที่สถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
จัดรวบรวมภาพถ่ายที่แสดงอารมณ์ในสถานการณ์ต่างๆ
ตัวบ่ งชี้ที่ 3 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนสั งคมสมวัย (5 คะแนน)
(2.5 คะแนน)
3.1
เด็กมีวินยั และรู้ผิดชอบสมวัย
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. ร้อยละของเด็กซึ่งมีวินยั ความรับผิดชอบ
 ปฏิบต
ั ิตามกิจวัตรประจาวันของห้องเรี ยน (อายุ 2 – 3 ขวบ)
 รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
2. ร้อยละของเด็กที่รู้จกั อดทน รอคอย
 อดทน รอคอย สิ่ งที่ตอ
้ งการได้ตามวัย
 ควบคุมตนเองให้ทางานจนเสร็ จตามวัย
3. ร้อยละของเด็กที่มีความซื่อสัตย์
่ ของชิ้นใดเป็ นของตนและชิ้นใดเป็ นของผูอ้ ื่น
 บอกได้วา
 เก็บของคืนให้เจ้าของหรื อผูใ
้ หญ่
ตัวบ่ งชี้ที่ 3 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนสั งคมสมวัย (5 คะแนน)
(2.5 คะแนน)
3.1
เด็กมีวินยั และรู้ผิดชอบสมวัย
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
4. ร้อยละของเด็กที่รู้จกั ประหยัด
 การรับประทานอาหาร นม น้ า ให้คุม
้ ค่า (อายุ 3 – 5 ขวบ)
่ ย่างคุม้ ค่า
 ใช้ของที่มีอยูอ
5. ร้อยละของเด็กที่รู้คุณผูอ้ ื่นมีเมตตา กรุ ณา มีน้ าใจ
่ มีผใู ้ หญ่ช่วยเหลือตน
 แสดงการรับรู ้วา
 กล่าวคาขอบคุณ พ่อ แม่ ครู / ผูเ้ ลี้ยงดูเด็ก ผูใ
้ หญ่ เพื่อน
 แสดงความชื่ นชมในความสาเร็ จของผูอ
้ ื่น
 แสดงความอ่อนโยน สงสาร และเห็ นใจคน / สัตว์
ั คนคุน้ เคย
 เอื้อเฟื้ อ / แบ่งปั นสิ่ งของให้กบ
ตัวบ่ งชี้ที่ 3 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนสั งคมสมวัย (5 คะแนน)
(2.5 คะแนน)
3.1
เด็กมีวินยั และรู้ผิดชอบสมวัย
คำแนะนำทีส่ ถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
จัดทาบันทึกรายการทั้ง 5 ข้อ แล้วตรวจสอบพฤติกรรมเด็ก
เก็บไว้เป็ นหลักฐาน
ตัวบ่ งชี้ที่ 3 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนสั งคมสมวัย (5 คะแนน)
3.2
เด็กสามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้ (2.5 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. ร้อยละของเด็กที่เคารพในสิ ทธิของผูอ้ ื่น
 ขออนุ ญาตเจ้าของก่อนหยิบสิ่ งของของผูอ
้ ื่น
 ยกมือไหว้ขอโทษเมื่อทาผิด
2. ร้อยละของเด็กที่สามารถปฏิบตั ิตามกฎของห้องเรี ยนและ
สถานศึกษา
 ปฏิบต
ั ิตามข้อตกลงของห้องเรี ยน
 เก็บของเล่นเข้าที่
 ไม่วิ่งไปมาในห้องเรี ยน
 ขึ้นลงบันไดตามสัญลักษณ์
 เข้าแถวรับบริ การก่อนหลัง
ตัวบ่ งชี้ที่ 3 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนสั งคมสมวัย (5 คะแนน)
3.2
เด็กสามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้ (2.5 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
3. ร้อยละของเด็กที่ปฏิบตั ิตนตามวัฒนธรรมไทยและหลัก
ศาสนาที่ตนนับถือ
 มีมารยาทในการพูด
 มีมารยาทในการฟั ง
 มีมารยาทในการไหว้
 มีมารยาทในการแสดงความเคารพผูใ
้ หญ่
 มีมารยาทในการรับประทานอาหารได้เหมาะสมตามวัย
 แสดงความเคารพ / ปฏิบต
ั ิตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ
ตัวบ่ งชี้ที่ 3 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนสั งคมสมวัย (5 คะแนน)
3.2
เด็กสามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้ (2.5 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
4. ร้อยละของเด็กที่รู้จกั การเป็ นผูน้ าและผูต้ ามที่ดี
 รับฟั งความเห็ นของเพื่อนเมื่อทางานร่ วมกัน
 แสดงความเห็นในที่ประชุม / การทางานร่ วมกับเพื่อน
 บอกเหตุผลในการตัดสิ นใจทาสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ ง
คำแนะนำที่สถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
จัดทาบันทึกรายการทั้ง 4 ข้อ แล้วตรวจสอบพฤติกรรมเด็ก
เก็บไว้เป็ นหลักฐาน
ตัวบ่ งชี้ที่ 4 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนสติปัญญำสมวัย (10 คะแนน)
(2.5 คะแนน)
4.1
เด็กมีความใฝ่ รู้สมวัย
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. ร้อยละของเด็กที่รักการอ่านตามวัย
 ความสนใจหรื อขออ่านหนังสื อ หยิบใช้หนังสื อ ค้นคว้า
ข้อมูลจากหนังสื อ สื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ ออื่นๆ
2. ร้อยละของเด็กที่ใฝ่ รู ้ในเรื่ องรอบตัวตามวัย
 ความสนใจที่จะเรี ยนรู ้สิ่งรอบตัวผ่านกิ จกรรมและสื่ อ
หลากหลายในโอกาสต่างๆ
 รู ้จก
ั ตั้งคาถาม สารวจ ทดลองสิ่ งที่ไม่คนุ ้ เคย
คำแนะนำที่สถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
จัดทาบันทึกรายการทั้ง 1 – 2 ข้อ แล้วตรวจสอบพฤติกรรม
เด็กเก็บไว้เป็ นหลักฐาน
ตัวบ่ งชี้ที่ 4 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนสติปัญญำสมวัย (10 คะแนน)
4.2
เด็กมีการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเนื่องสมวัย (2.5 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. ร้อยละของเด็กที่มีสมาธิในการเรี ยนรู ้
 มีสมาธิ ในการเล่น
 จดจ่อกับสิ่ งที่ตนสนใจ
 ทากิ จกรรมต่อเนื่ องประมาณ 5 – 10 นาที (อายุ 2 – 3
ขวบ)
 มีสมาธิ สนใจได้นาน 10 – 15 นาที (อายุ 3 – 5 ขวบ)
2. ร้อยละของเด็กที่สามารถจาสิ่ งต่างๆ ได้
 จาสิ่ งต่างๆ โดยการเชื่ อมโยงกับประสบการณ์เดิม เช่ น
การรับกลิ่น การเคยได้รับคาชม การเคยเล่นของชิน้ นั้น
ตัวบ่ งชี้ที่ 4 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนสติปัญญำสมวัย (10 คะแนน)
4.2
เด็กมีการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเนื่องสมวัย (2.5 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
3. ร้อยละของเด็กที่มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่ งต่างๆ ที่เกิดจาก
การเรี ยนรู ้
 มีความรู ้ ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ ยวกับ
oสี
oจานวน
oตาแหน่ง
4. ร้อยละของเด็กที่สามารถแก้ปัญหาได้เหมาะสมตามวัย
 ขอความช่ วยเหลือ / เลียนแบบวิธีแก้ปัญหาของผูอ
้ ื่น
 ลองผิด ลองถูก พูดคุย ไต่ถาม สังเกต สารวจ เพื่อแก้ปัญหา
ตัวบ่ งชี้ที่ 4 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนสติปัญญำสมวัย (10 คะแนน)
4.2
เด็กมีการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเนื่องสมวัย (2.5 คะแนน)
คำแนะนำทีส่ ถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
จัดทาบันทึกรายการทั้ง 4 ข้อ แล้วตรวจสอบพฤติกรรมเด็ก
เก็บไว้เป็ นหลักฐาน
ตัวบ่ งชี้ที่ 4 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนสติปัญญำสมวัย (10 คะแนน)
4.3
เด็กมีทกั ษะในการสื่ อสารสมวัย
(2.5 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. ร้อยละของเด็กที่มีความเข้าใจและใช้ภาษาพูดอย่างถูกต้อง
เหมาะสมกับวัย


ใช้คาที่ได้เรี ยนรู ้ไหมในการสื่ อสาร
พูดคุยโต้ตอบกับผูอ้ ื่นได้เป็ นเรื่ องราวที่สอดคล้องกับ (อายุ 3 –
5 ขวบ)
2. ร้อยละของเด็กที่มีทกั ษะในการอ่านอย่างถูกต้องเหมาะสมตามวัย





อ่านหนังสื อได้ถูกต้อง
เปิ ดหนังสื ออ่านโดยไม่กลับหัว
เปิ ดหนังสื อจากหน้าไปหลัง
อ่านหนังสื อจากซ้ายไปขวา จากบนลงล่าง
ถามเนื้อหาสาระของข้อความจากเรื่ องราวในตาม / หนังสื อที่
อ่าน
ตัวบ่ งชี้ที่ 4 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนสติปัญญำสมวัย (10 คะแนน)
4.3
เด็กมีทกั ษะในการสื่ อสารสมวัย
(2.5 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
3. ร้อยละของเด็กที่มีทกั ษะในการเขียนเนื้อสื่ อความหมายอย่าง
ถูกต้องเหมาะสมกับวัย
 วาดรู ป ขีดเขียนเส้นลักษณะต่างๆ เพื่อสื่ อความหมาย
 เขียนและอธิ บายสิ่ งที่วาด / เขียนให้ผอ
ู ้ ื่นเข้าใจได้
4. ร้อยละของเด็กที่มีความเข้าใจและใช้ภาษาท่าทางและ
สัญลักษณ์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามวัย
 ใช้ภาษา / ท่าทางในการสื่ อสาร / พูดคุย
 บอกความหมาย / สิ่ งที่ควรทาเมื่อเห็ นสัญญาณหรื อ
สัญลักษณ์ต่างๆ
ตัวบ่ งชี้ที่ 4 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนสติปัญญำสมวัย (10 คะแนน)
4.3
เด็กมีทกั ษะในการสื่ อสารสมวัย
(2.5 คะแนน)
คำแนะนำทีส่ ถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
1. กาหนดคา / รายการที่เด็กจะต้องเรี ยนรู ้ตามวัย แล้วจดบันทึก
รายการที่เด็กสามารถสื่ อสารโดยการพูดได้
2. กาหนดคา ประโยค ภาพ ให้เด็กอ่าน แล้วบันทึกผลตามข้อ 2
3. บันทึกความสามารถในการเขียน โดยรวบรวมผลการขีด
เขียน วาด และข้อความอธิบายให้เข้าใจ
4. บันทึกรายการความสามารถในข้อ 4 ของเด็กแต่ละคน
ตัวบ่ งชี้ที่ 4 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนสติปัญญำสมวัย (10 คะแนน)
4.4
เด็กมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
(2.5 คะแนน)
สมวัย
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. ร้อยละของเด็กที่ถ่ายทอดความคิดสร้างสรรค์ผา่ นการ
ทางานศิลปะ เล่าเรื่ อง เล่นเกมภาษา
 ทางานศิลปะตามความคิดของตนเอง
 เล่นเลียนแบบ (อายุ 2 – 3 ขวบ)
2. ร้อยละของเด็กที่ทดลองวิธีการใหม่ๆ ในการทาสิ่ งต่างๆ
 ทดลองใช้สิ่งของ
 เล่นด้วยวิธีการต่างๆ
ตัวบ่ งชี้ที่ 4 เด็กมีพฒ
ั นำกำรด้ ำนสติปัญญำสมวัย (10 คะแนน)
4.4
เด็กมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
(2.5 คะแนน)
สมวัย
คำแนะนำทีส่ ถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
1. เก็บรวบรวมหลักฐาน เช่น ภาพที่เด็กวาด การถ่ายภาพ การ
เล่นบทบาทสมมติ
2. จัดทารายการพฤติกรรมของเด็กในการทดลองใช้ของที่
ปรากฏในแผนการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ โดยสรุ ปไว้
ในบันทึกหลังสอน
ตัวบ่ งชี้ที่ 5 เด็กมีควำมพร้ อมศึกษำต่ อในขั้นต่ อปป (10 คะแนน)
5.1 เด็กมีทกั ษะพื้นฐานตามพัฒนาการทุก
(5 คะแนน)
ด้านสมวัย
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ รายงานผลย้อนหลัง 1 ปี ในด้าน
1. ร้อยละของเด็กมีทกั ษะพื้นฐานตามพัฒนาการด้านร่ างกายสมวัย
 การทรงตัว
 การประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้ อใหญ่
 การประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้ อเล็ก
 การรักษาสุ ขภาพ
 การรักษาความปลอดภัย
2. ร้อยละของเด็กที่มีทกั ษะพื้นฐานตามพัฒนาการด้านอารมณ์
และจิตใจสมวัยในด้าน
 ดนตรี สุ นทรี ยภาพ การเล่น และคุณธรรมจริ ยธรรม
ตัวบ่ งชี้ที่ 5 เด็กมีควำมพร้ อมศึกษำต่ อในขั้นต่ อปป (10 คะแนน)
5.1 เด็กมีทกั ษะพื้นฐานตามพัฒนาการทุก
(5 คะแนน)
ด้านสมวัย
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ รายงานผลย้อนหลัง 1 ปี ในด้าน
3. ร้อยละของเด็กมีทกั ษะพื้นฐานตามพัฒนาการด้านสังคมสมวัย








การปฏิบตั ิกิจวัตรประจาวันของตนเอง
การเล่นและการทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น
การวางแผนตัดสิ นใจเลือก
การลงมือปฏิบตั ิ
การเรี ยนรู ้ความรู ้สึก ความสนใจ ความต้องการของตนเองและ
ผูอ้ ื่น
การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และเคารพความคิดเห็นของผูอ้ ื่น
การแก้ปัญหาในการเล่น
การปฏิบตั ิตนตามวัฒนธรรมท้องถิ่น และความเป็ นไทย
ตัวบ่ งชี้ที่ 5 เด็กมีควำมพร้ อมศึกษำต่ อในขั้นต่ อปป (10 คะแนน)
5.1 เด็กมีทกั ษะพื้นฐานตามพัฒนาการทุก
(5 คะแนน)
ด้านสมวัย
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ รายงานผลย้อนหลัง 1 ปี ในด้าน
4. ร้อยละของเด็กมีทกั ษะพื้นฐานตามพัฒนาการด้านสติปัญญา
สมวัย
 ทักษะพื้นฐานการคิด
 ทักษะพื้นฐานการใช้ภาษา
 ทักษะพื้นฐานการสังเกต
 ทักษะพื้นฐานการจาแนกและเปรี ยบเทียบ
 ทักษะพื้นฐานจานวน
 ทักษะพื้นฐานมิติสม
ั พันธ์ (พื้นที่ / ระยะ)
 ทักษะพื้นฐานเวลา
ตัวบ่ งชี้ที่ 5 เด็กมีควำมพร้ อมศึกษำต่ อในขั้นต่ อปป (10 คะแนน)
5.1 เด็กมีทกั ษะพื้นฐานตามพัฒนาการทุก
(5 คะแนน)
ด้านสมวัย
คำแนะนำทีส่ ถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
จัดทารายการตามข้อ 1 – 4 แล้วสรุ ปผลของผูเ้ รี ยนเป็ น
รายบุคคลในแต่ละรายการ เก็บรวบรวมเป็ นหลักฐาน
ตัวบ่ งชี้ที่ 5 เด็กมีควำมพร้ อมศึกษำต่ อในขั้นต่ อปป (10 คะแนน)
(5 คะแนน)
5.2
เด็กมีความรู้พ้นื ฐานสมวัย
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ รายงานผลย้อนหลัง 1 ปี ในดังนี้
1. ร้อยละของเด็กที่มีความรู ้เรื่ องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
 ชื่ อ / นามสกุล รู ปร่ าง หน้าตา อวัยวะต่างๆ
 วิธีระวังรักษาร่ างกายให้สะอาด ปลอดภัย
 เรี ยนรู ้วิธีเล่น / ทาสิ่ งต่างๆ ด้วยตนเองคนเดี ยวหรื อกับ
ผูอ้ ื่น
 เรี ยนรู ้ในการแสดงความคิดเห็น ความรู ้สึก และมีมารยาท
ดี
ตัวบ่ งชี้ที่ 5 เด็กมีควำมพร้ อมศึกษำต่ อในขั้นต่ อปป (10 คะแนน)
(5 คะแนน)
5.2
เด็กมีความรู้พ้นื ฐานสมวัย
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
2. ร้อยละของเด็กที่มีความรู ้เรื่ องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่
แวดล้อมตัวเด็ก
 ความรู ้เกี่ ยวกับครอบครัว
 ความรู ้เกี่ ยวกับสถานศึกษา
่ วข้องหรื อ
 ความรู ้เกี่ ยวกับชุ มชนและบุคคลต่างๆ ที่เด็กเกีย
ใกล้ชิดหรื อมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจาวัน
3. ร้อยละของเด็กที่มีความรู ้เรื่ องราวเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัวเด็ก
 ความรู ้เกี่ ยวกับสิ่ งมีชีวิต – สิ่ งไม่มีชีวิต
 ความรู ้เกี่ ยวกับความเปลี่ยนแปลงของโลกและสิ่ งแวดล้อมเด็ก
 ความรู ้เกี่ ยวกับธรรมชาติ เช่ น ฤดูกาล กลางวัน กลางคืน
ตัวบ่ งชี้ที่ 5 เด็กมีควำมพร้ อมศึกษำต่ อในขั้นต่ อปป (10 คะแนน)
(5 คะแนน)
5.2
เด็กมีความรู้พ้นื ฐานสมวัย
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ รายงานผลย้อนหลัง 1 ปี ในดังนี้
4. ร้อยละของเด็กที่มีความรู ้เรื่ องราวเกี่ยวกับสิ่ งต่างๆ รอบตัวเด็ก
 ความรู ้เกี่ ยวกับขนาด สี รู ปร่ าง รู ปทรง น้ าหนัก
 ความรู ้เกี่ ยวกับผิวสัมผัสของสิ่ งต่างๆ รอบต่างๆ สิ่ งของใช้
 ความรู ้เกี่ ยวกับการสื่ อสารในชี วิตประจาวัน
คำแนะนำทีส่ ถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
1. อาจใช้แบบทดสอบเป็ นภาพ สิ่ งของ เครื่ องใช้ วัสดุต่างๆตาม
รายการข้อ 1 – 4
2. บันทึกการสังเกตเกี่ยวกับวิธีการเรี ยนรู ้ของเด็กตามรายการที่
เรี ยนผ่านมาในตัวบ่งชี้ที่ 1 – 4
ตัวบ่ งชี้ที่ 6 ประสิ ทธิภำพผลของกำรจัดประสบกำรณ์ (35 คะแนน)
กำรเรียนรู้ทเี่ น้ นเด็กเป็ นสำคัญ
6.1
ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ (คุณภาพ 5
คะแนน)
เพื่อพัฒนาด้านร่ างกาย
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. โน้มน้าวให้เด็กรับประทานอาหารครบหมู่ ดื่มน้ าสะอาดและ
นม อย่างเพียงพอ
2. ดูแลให้เด็กได้รับวัคซีนป้ องกันโรคที่จาเป็ นตามวัย
3. จัดโอกาสให้เด็กช่วยเหลือตัวเองในการปฏิบตั ิกิจวัตรประจาวัน
4. จัดกิจกรรมให้เด็กได้ใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ และการ
ประสานสัมพันธ์ของทักษะกลไก
5. จัดโอกาสให้เด็กเล่นเกม ออกกาลังกายที่เหมาะสมกับวัย
ความสามารถและความสนใจของเดกแต่ละคน
6. เสริ มสร้างสุ ขนิสัยที่ดีในการรักษาความสะอาด ป้ องกันโรค
และความปลอดภัยแก่ร่างกาย
ตัวบ่ งชี้ที่ 6 ประสิ ทธิภำพผลของกำรจัดประสบกำรณ์ (35 คะแนน)
กำรเรียนรู้ทเี่ น้ นเด็กเป็ นสำคัญ
6.1
ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ (คุณภาพ 5
คะแนน)
เพื่อพัฒนาด้านร่ างกาย
คำแนะนำทีส่ ถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
1. แผนการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ควรบรรจุกิจกรรมตามข้อ
1 – 6 ให้ครบ
2. ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กควรมีบนั ทึกหลังการสอนเกี่ยวกับ
พฤติกรรมของเด็กหลังจบการสอนแต่ละแผน
ตัวบ่ งชี้ที่ 6 ประสิ ทธิภำพผลของกำรจัดประสบกำรณ์ (35 คะแนน)
กำรเรียนรู้ทเี่ น้ นเด็กเป็ นสำคัญ
6.2
ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ (คุณภาพ 5
เพื่อพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. สนับสนุนให้เด็กรู ้จกั ควบคุมตนเอง อดทนรอคอย และมุ่งมัน่
ตั้งใจ
2. สนับสนุนให้เด็กรู ้มีความรู ้สึกที่ดีต่อตนเองและผูอ้ ื่น
3. จัดโอกาสให้เด็กได้เลือกทากิจกรรมตามความสนใจ ความ
ถนัด ความสามารถและความพอใจของเด็ก
4. จัดโอกาสให้เด็กได้ชื่นชม และตอบสนองต่อศิลปะ ดนตรี
และการเคลื่อนไหว หรื อสัมผัสกับความมหัศจรรย์ของ
ธรรมชาติและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
5. จัดโอกาสให้เด็กได้สื่อสารความคิด หรื อประสบการณ์ของ
ตนผ่านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ในลักษณะต่างๆ
ตัวบ่ งชี้ที่ 6 ประสิ ทธิภำพผลของกำรจัดประสบกำรณ์ (35 คะแนน)
กำรเรียนรู้ทเี่ น้ นเด็กเป็ นสำคัญ
6.2
ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ (คุณภาพ 5
เพื่อพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ คะแนน)
คำแนะนำทีส่ ถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
1. แผนการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ควรบรรจุกิจกรรมตาม
ข้อ 1 – 5 ให้ครบ
2. ภาพถ่ายกิจกรรมที่แสดงถึงพฤติกรรมตามข้อ 1 – 5
ตัวบ่ งชี้ที่ 6 ประสิ ทธิภำพผลของกำรจัดประสบกำรณ์ (35 คะแนน)
กำรเรียนรู้ทเี่ น้ นเด็กเป็ นสำคัญ
6.3
ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ (เชิงคุณภาพ
เพื่อพัฒนาการด้านสังคม
5 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกายวาจา
และการปฏิบตั ิต่อผูอ้ ื่น
2. ส่ งเสริ มให้เด็กมีความประพฤติดี ได้แก่ ขยัน ประหยัด ซื้อสัตย์
มีวินยั สุ ภาพ
สะอาด สามัคคี มีน้ าใจ
3. ส่ งเสริ มให้เด็กมีความชื่นชมธรรมชาติและดูแลรักษา
สิ่ งแวดล้อม
4. ส่ งเสริ มให้เด็กได้ปฏิบตั ิตนตามวัฒนธรรมไทย และหลัก
ศาสนาที่นบั ถือ
ตัวบ่ งชี้ที่ 6 ประสิ ทธิภำพผลของกำรจัดประสบกำรณ์ (35 คะแนน)
กำรเรียนรู้ทเี่ น้ นเด็กเป็ นสำคัญ
6.3
ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ (เชิงคุณภาพ
เพื่อพัฒนาการด้านสังคม
5 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
5. จัดโอกาสให้เด็กได้เรี ยนรู ้การเป็ นผูน้ าและผูต้ ามที่ดี
6. จัดโอกาสให้เด็กได้เรี ยนรู ้อย่างร่ วมมือกับเพื่อเป็ นกลุ่มเล็กและ
กลุ่มใหญ่
7. จัดโอกาสให้เด็กได้เรี ยนรู ้และเข้าร่ วมกิจกรรมในโอกาสวัน
สาคัญต่างๆตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย ์
เป็ นประมุข
ตัวบ่ งชี้ที่ 6 ประสิ ทธิภำพผลของกำรจัดประสบกำรณ์ (35 คะแนน)
กำรเรียนรู้ทเี่ น้ นเด็กเป็ นสำคัญ
6.3
ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ (เชิงคุณภาพ
เพื่อพัฒนาการด้านสังคม
5 คะแนน)
คำแนะนำทีส่ ถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
1. ครู ควรแต่งกายให้เหมาะสมกับการเป็ นครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็ก
และใช้วาจาสุ ภาพต่อเด็ก
2. มีแผนการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ที่มีกิจกรรม / สื่ อ /
อุปกรณ์ สถานที่แหล่งเรี ยนรู ้ให้สอดคล้องกับเกณฑ์การ
พิจารณาข้อ 2 – 7
ตัวบ่ งชี้ที่ 6 ประสิ ทธิภำพผลของกำรจัดประสบกำรณ์ (35 คะแนน)
กำรเรียนรู้ทเี่ น้ นเด็กเป็ นสำคัญ
6.4
ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ (เชิงคุณภาพ
เพื่อพัฒนาการด้านสิ ติปัญญา
5 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. จัดกิจกรรมให้เด็กสื บค้น สารวจ และตั้งคาถาม เพื่อสร้างความ
เข้าใจเกี่ยวกับสิ่ งต่างๆ รอบตัว
2. จัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่าถึงสิ่ งที่ทา ทบทวนประสบการณ์เดิม
ทบทวนเรื่ องที่เด็กควรรู ้ หรื อเหตุการณ์ที่น่าสนใจ
3. เปิ ดโอกาสให้เด็กได้คุน้ เคยกับการอ่านหนังสื อและได้อ่าน
หนังสื อตามวัย
ตัวบ่ งชี้ที่ 6 ประสิ ทธิภำพผลของกำรจัดประสบกำรณ์ (35 คะแนน)
กำรเรียนรู้ทเี่ น้ นเด็กเป็ นสำคัญ
6.4
ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ (เชิงคุณภาพ
เพื่อพัฒนาการด้านสิ ติปัญญา
5 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
4. จัดกิจกรรมแบบบูรณาการ เป็ นรายบุคคล กลุ่มเล็กและกลุ่ม
ใหญ่ผา่ นกิจกรรมบูรณาการที่เด็กได้เล่น และลงมือกระทาเพื่อ
พัฒนาความคิดรวบยอดและทักษะเกี่ยวกับคณิ ตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ ภาษา สังคม ดนตรี กีฬาที่เหมาะสมกับบริ บท
วัฒนธรรมของเด็ก
5. ส่ งเสริ มเด็กแสดงความคิดสร้างสรรค์อย่างอิสระ
ตัวบ่ งชี้ที่ 6 ประสิ ทธิภำพผลของกำรจัดประสบกำรณ์
กำรเรียนรู้ทเี่ น้ นเด็กเป็ นสำคัญ
6.4
ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้
เพื่อพัฒนาการด้านสิ ติปัญญา
(35 คะแนน)
(เชิงคุณภาพ
5 คะแนน)
คำแนะนำทีส่ ถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
1. จัดกิจกรรมตามข้อ 1 – 5 ให้ปรากฏในแผนการจัด
ประสบการณ์การเรี ยนรู ้ จัดมุมต่าง ๆ ตามข้อ 4 ให้มีอุปกรณ์
หนังสื อเด็ก รู ปภาพตามมุมห้องที่สะดวกกับการจัดกิจกรรม
2. นาผลงานของเด็กแต่ละประเด็นตามข้อ 4 รวบรวมและติดไว้
ตามมุมนั้นๆ
ตัวบ่ งชี้ที่ 6 ประสิ ทธิภำพผลของกำรจัดประสบกำรณ์ (35 คะแนน)
กำรเรียนรู้ทเี่ น้ นเด็กเป็ นสำคัญ
6.5
ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มความสัมพันธ์ (เชิงคุณภาพ
ทางบวกกับเด็กและครอบครัว
5 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. สร้างความสัมพันธ์ที่มนั่ คงกับเด็ก
2. ยอมรับความเป็ นตัวตนของเด็ก
3. ปฏิบตั ิกบั เด็กอย่างให้เกียรติและเท่าเทียมกัน โดยไม่แบ่งเชื้อ
ชาติ ภาษา เพศ หรื อภูมิหลังทางวัฒนธรรม และสร้างเสริ มให้
เด็กเห็นคุณค่าของความแตกต่าง
4. ส่ งเสริ มการสร้างมิตรภาพระหว่างเด็ก
5. มีปฏิบตั ิสมั พันธ์กบั ผูป้ กครองอย่างให้เกียรติและสม่าเสมอ
ตัวบ่ งชี้ที่ 6 ประสิ ทธิภำพผลของกำรจัดประสบกำรณ์ (35 คะแนน)
กำรเรียนรู้ทเี่ น้ นเด็กเป็ นสำคัญ
6.5
ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มความสัมพันธ์ (เชิงคุณภาพ
ทางบวกกับเด็กและครอบครัว
5 คะแนน)
คำแนะนำที่สถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
1. หลักฐานการเข้ารับการอบรมครู หรื อผูด้ ูแลเด็กในภาระหน้าที่
2. รายงานการประชุมเรื่ องเสนอเพื่อทราบถึงการแก้ไขส่ งเสริ ม
ความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก ครอบครัว และสถานศึกษา
ตัวบ่ งชี้ที่ 6 ประสิ ทธิภำพผลของกำรจัดประสบกำรณ์ (35 คะแนน)
กำรเรียนรู้ทเี่ น้ นเด็กเป็ นสำคัญ
6.6 ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ที่ตอบ (เชิงคุณภาพ
สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็ก 10 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. จัดทาแผนการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ที่เหมาะสมกับการ
เรี ยนรู ้และพัฒนาการเด็กตามวัยอย่างเหมาะสมตามบริ บทของ
ท้องถิ่น
2. จัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ที่หลากหลายเพื่อให้เด็กมีโอกาสใน
การในการเรี ยนรู ้อย่างเต็มตามศักยภาพ
3. จัดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยต่อสุ ขภาพและร่ างกายของเด็ก
4. จัดสภาพแวดล้อมที่ตอบสนองความต้องการส่ งเสริ ม
พัฒนาการและการเรี ยนรู ้ของเด็ก
ตัวบ่ งชี้ที่ 6 ประสิ ทธิภำพผลของกำรจัดประสบกำรณ์ (35 คะแนน)
กำรเรียนรู้ทเี่ น้ นเด็กเป็ นสำคัญ
6.6 ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ที่ตอบ (เชิงคุณภาพ
สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็ก 10 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
5. จัดสภาพแวดล้อมที่ให้มีบรรยากาศที่อบอุ่นและสอดคล้องกับ
บริ บททางวัฒนธรรม
6. จัดสภาพแวดล้อมที่ป้องกันพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของเด็ก
7. มีการวางแผนและจัดระบบการประเมินพัฒนาการเด็กที่
สอดคล้องกับมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์
8. ติดตาม บันทึก และประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างสม่าเสมอ
ต่อเนื่องด้วยวิธีการที่หลากหลาย
ตัวบ่ งชี้ที่ 6 ประสิ ทธิภำพผลของกำรจัดประสบกำรณ์ (35 คะแนน)
กำรเรียนรู้ทเี่ น้ นเด็กเป็ นสำคัญ
6.6 ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ที่ตอบ (เชิงคุณภาพ
สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็ก 10 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
9. นาผลการประเมินพัฒนาการเด็กทุกด้านไปใช้เพื่อการพัฒนา
เด็กและพัฒนาแนวทางการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้
10.เปิ ดโอกาสให้ผปู ้ กครองมีส่วนร่ วมในการวางแผนนาผลการ
ประเมินไปพัฒนาเด็ก
ตัวบ่ งชี้ที่ 6 ประสิ ทธิภำพผลของกำรจัดประสบกำรณ์ (35 คะแนน)
กำรเรียนรู้ทเี่ น้ นเด็กเป็ นสำคัญ
6.6 ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ที่ตอบ (เชิงคุณภาพ
สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็ก 10 คะแนน)
คำแนะนำทีส่ ถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
1. จัดให้ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กทาแผนการจัดประสบการณ์การ
เรี ยนรู ้ให้สอดคล้องกับเกณฑ์ขอ้ 1 – 2
2. จัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรี ยน ให้
สอดคล้องกับเกณฑ์ขอ้ 3 – 6
3. จัดประชุมร่ วมกับผูป้ กครองในการวางแผนการติดตาม
ประเมินผลพัฒนาการของเด็กตามเกณฑ์ขอ้ 7 – 10
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ประสิ ทธิภำพของกำรบริหำรจัดกำร
และพัฒนำสถำนศึกษำ
7.1
ประสิ ทธิภาพการบริ หารจัดการของ
ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
(15 คะแนน)
(เชิงคุณภาพ
2.5 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. ผูบ้ ริ หารสถานศึกษามีความสามารถในการบริ หาร
2. ผูบ้ ริ หารสถานศึกษามีความสามารถในการบริ หาร
งบประมาณ
3. ผูบ้ ริ หารสถานศึกษามีความรู ้และเป็ นผูน้ าในการพัฒนา
วิชาการ
4. ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาสนับสนุนให้ผเู ้ กี่ยวข้องมีส่วนร่ วมใน
การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ประสิ ทธิภำพของกำรบริหำรจัดกำร
และพัฒนำสถำนศึกษำ
7.1
ประสิ ทธิภาพการบริ หารจัดการของ
ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
(15 คะแนน)
(เชิงคุณภาพ
2.5 คะแนน)
คำแนะนำทีส่ ถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
1. จัดทาโครงสร้างการบริ หาร
2. คาสัง่ มอบหมายงาน
3. จัดทารายงานการประชุมการบริ หารงานงบประมาณ และ
วิชาการ
4. จัดตั้งสมาคม / ชมรมผูป้ กครอง
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ประสิ ทธิภำพของสกำรบริหำรจัดกำร (15 คะแนน)
และพัฒนำสถำนศึกษำ
7.2
ประสิ ทธิภาพของคณะกรรมการ
(เชิงคุณภาพ
สถานศึกษา
2.5 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ คณะกรรมการสถานศึกษามีคุณสมบัติและ
หน้าที่ดงั นี้
1. มีความรู ้ความสามารถและประสบการณ์ดา้ นต่างๆ หลากหลาย
และมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
2. มีส่วนร่ วมในการบริ หารงานวิชาการ
3. มีส่วนร่ วมในการบริ หารงานบุคคล
4. มีส่วนร่ วมในการบริ หารงานงบประมาณ
5. มีส่วนร่ วมในการบริ หารงานบริ หารทัว่ ไป
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ประสิ ทธิภำพของสกำรบริหำรจัดกำร (15 คะแนน)
และพัฒนำสถำนศึกษำ
7.2
ประสิ ทธิภาพของคณะกรรมการ
(เชิงคุณภาพ
สถานศึกษา
2.5 คะแนน)
คำแนะนำที่สถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
1. รวบรวมประวัติ ผลงานของคณะกรรมการสถานศึกษาใน
แฟ้ มประวัติ
2. บันทึกรายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาให้ครบ
4 งาน
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ประสิ ทธิภำพของสกำรบริหำรจัดกำร (15 คะแนน)
และพัฒนำสถำนศึกษำ
7.3 ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดให้ (เชิงคุณภาพ
มีครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กเพียงพอและมีคุณภาพ 2.5 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. มีการบริ หารจัดการให้มีจานวนครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กครบทุกห้อง
• 2 - 3 ปี 1/7-10 คน
• 3 - 5 ปี 1/10-15 คน
2. มีการคัดเลือกและพัฒนาครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กให้มีความรู ้
ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ
3. มีการคัดเลือกและพัฒนาครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กให้มีคุณลักษณะที่
พึงประสงค์
4. ส่ งเสริ ม สนับสนุนให้ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กได้รับการอบรมด้าน
การพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็ นประจาทุกปี
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ประสิ ทธิภำพของสกำรบริหำรจัดกำร (15 คะแนน)
และพัฒนำสถำนศึกษำ
7.3 ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดให้ (เชิงคุณภาพ
มีครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กเพียงพอและมีคุณภาพ 2.5 คะแนน)
คำแนะนำที่สถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
1. ปฏิบตั ิตามเกณฑ์ขอ้ 1 – 4
2. จัดแยกจานวนครู ที่มีวฒ
ุ ิดา้ นการศึกษาปฐมวัย/ผูผ้ า่ นการอบรม
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ประสิ ทธิภำพของสกำรบริหำรจัดกำร (15 คะแนน)
และพัฒนำสถำนศึกษำ
7.4
ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัด (เชิงคุณภาพ
สภาพแวดล้อมภายนอกให้เอื้อต่อการ
2.5 คะแนน)
เรี ยนรู ้ ปลอดภัย และถูกสุ ขลักษณะ
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. สถานศึกษามีที่ต้ งั เป็ นสัดส่ วน มีอาณาเขตชัดเจน ตั้งอยูห่ ่างจาก
แหล่งอบายมุข ฝุ่ นละออง กลิ่น เสี ยงรบกวน และพื้นที่เสี่ ยงต่อ
อันตราย
2. มีพ้นื ที่ภายนอกเพียงพอเหมาะสมกับจานวนเด็ก และมีการ
จัดสรรพื้นที่อย่างชัดเจน สาหรับเป็ นสนามเด็กเล่น การเล่น
อิสระและการกิจกรรมนอกห้องเรี ยน
3. มีพ้นื ที่สนามเด็กเล่นและเครื่ องมือเล่นที่เหมาะสมปลอดภัย
สาหรับเด็ก
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ประสิ ทธิภำพของสกำรบริหำรจัดกำร (15 คะแนน)
และพัฒนำสถำนศึกษำ
7.4
ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัด (เชิงคุณภาพ
สภาพแวดล้อมภายนอกให้เอื้อต่อการ
2.5 คะแนน)
เรี ยนรู ้ ปลอดภัย และถูกสุ ขลักษณะ
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
4. มีพ้นื ที่สาหรับจัดเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ภายนอกห้องเรี ยนให้แก่เด็ก
5. มีการจัดสถานที่พกั รอ และมุมการเรี ยนรู ้สาหรับผูป้ กครอง
6. มีการจัดสถานที่สาหรับเก็บน้ าสะอาดเพื่อดื่ม และใช้อย่าง
เพียงพอ
7. มีการจัดพื้นที่เก็บสิ่ งปฏิกลู ที่เหมาะสม ถูกสุ ขลักษณะเพียงพอ
และมีการกาจัดสิ่ งปฏิกลู ทุกวัน
8. มีการจัดการดูแลสภาพแวดล้อมให้ถูกสุ ขลักษณะเป็ นระเบียบ
เรี ยบร้อย สะอาด ปลอดภัย ร่ มรื่ น สวยงาม
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ประสิ ทธิภำพของสกำรบริหำรจัดกำร (15 คะแนน)
และพัฒนำสถำนศึกษำ
7.4
ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัด (เชิงคุณภาพ
สภาพแวดล้อมภายนอกให้เอื้อต่อการ
2.5 คะแนน)
เรี ยนรู ้ ปลอดภัย และถูกสุ ขลักษณะ
คำแนะนำทีส่ ถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
1. ปฏิบตั ิตามเกณฑ์ขอ้ 1 – 8
2. จัดทาแผนผังบริ เวณโรงเรี ยนในแต่ละส่ วนให้ชดั เจน
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ประสิ ทธิภำพของสกำรบริหำรจัดกำร (15 คะแนน)
และพัฒนำสถำนศึกษำ
7.5 ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัด (เชิงคุณภาพ
สภาพแวดล้อมภายในอาคารให้เอื้อต่อการ 2.5 คะแนน)
เรี ยนรู ้ ปลอดภัย และถูกสุ ขลักษณะ
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. ตัวอาคารมัน่ คง แข็งแรง และปลอดภัย ประตู หน้าต่างอยูใ่ น
สภาพดี สามารถเข้าออกได้หลายทาง ปลัก๊ ไฟติดตั้งอยูส่ ูงจาก
พื้นมากกว่า 1.5 เมตรและมีฝาปิ ดป้ องกันเด็กเล่น
2. พื้นที่ในห้องเรี ยนแบ่งเป็ นสัดส่ วนสาหรับการทากิจกรรมได้
หลากหลายรู ปแบบ มีพ้นื ที่วา่ งสาหรับการนัง่ ทางานที่พ้นื
ห้อง และมีพ้นื ที่สาหรับเก็บอุปกรณ์ของครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็ก
และของเด็ก
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ประสิ ทธิภำพของสกำรบริหำรจัดกำร (15 คะแนน)
และพัฒนำสถำนศึกษำ
7.5 ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัด (เชิงคุณภาพ
สภาพแวดล้อมภายในอาคารให้เอื้อต่อการ 2.5 คะแนน)
เรี ยนรู ้ ปลอดภัย และถูกสุ ขลักษณะ
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
3. มีพ้นื ที่หอ้ งสาหรับจัดกิจกรรมเพื่อเด็กเหมาะสมกับจานวน
เด็ก คือ มีพ้นื ที่ไม่นอ้ ยกว่า 2.00 ตารางเมตร ต่อเด็ก 1 คน
4. ภายในห้องเรี ยนมีแสงสว่างเพียงพอ และอากาศถ่ายเทได้ดี
5. โต๊ะ เก้าอี้ ของเล่น และของใช้ มีขนาดเหมาะสม จานวน
เพียงพอ สะอาดและปลอดภัยสาหรับเด็ก
6. มีการจัดที่พกั สาหรับเด็กป่ วยแยกเป็ นสัดส่ วน
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ประสิ ทธิภำพของสกำรบริหำรจัดกำร (15 คะแนน)
และพัฒนำสถำนศึกษำ
7.5 ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัด (เชิงคุณภาพ
สภาพแวดล้อมภายในอาคารให้เอื้อต่อการ 2.5 คะแนน)
เรี ยนรู ้ ปลอดภัย และถูกสุ ขลักษณะ
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
7. มีสถานที่สาหรับการจัดเตรี ยมเครื่ องดื่ม ของว่าง และอาหาร
ที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ รวมถึงสถานที่ทาความสะอาด
ภาชนะ และจัดเก็บภาชนะที่สะอาด ปลอดภัย และถูก
สุ ขลักษณะ
8. มีพ้นื ที่สาหรับใช้ในการแปรงฟัน ล้างมือ และทาความ
สะอาดร่ างกายเด็ก พร้อมอุปกรณ์ทาความสะอาด ที่จาเป็ น
และเหมาะสมกับเด็ก
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ประสิ ทธิภำพของสกำรบริหำรจัดกำร (15 คะแนน)
และพัฒนำสถำนศึกษำ
7.5 ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัด (เชิงคุณภาพ
สภาพแวดล้อมภายในอาคารให้เอื้อต่อการ 2.5 คะแนน)
เรี ยนรู ้ ปลอดภัย และถูกสุ ขลักษณะ
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
9. มีน้ าสะอาดสาหรับบริ โภค เด็กมีแก้วน้ าส่ วนตัว และมีการ
ล้างและจัดเก็บที่ถูกสุ ขลักษณะ
10.มีการติดตั้งเครื่ องตัดไฟ และอุปกรณ์ดบั เพลิงที่พร้อมใช้งาน
สายยางหรื ออุปกรณ์อื่นใดที่สามารถใช้ในการดับไฟ และมี
ช่องทางฉุกเฉินที่สามารถพาเด็กออกนอกศูนย์พฒั นาเด็กได้
อย่างปลอดภัย
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ประสิ ทธิภำพของสกำรบริหำรจัดกำร (15 คะแนน)
และพัฒนำสถำนศึกษำ
7.5 ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัด (เชิงคุณภาพ
สภาพแวดล้อมภายในอาคารให้เอื้อต่อการ 2.5 คะแนน)
เรี ยนรู ้ ปลอดภัย และถูกสุ ขลักษณะ
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
11.มีหอ้ งส้วมที่ถูกสุ ขลักษณะ เหมาะสมกับวัย ปลอดภัย และ
เพียงพอกับการใช้งานของเด็ก มีน้ าสาหรับชาระล้าง มีแสง
สว่างและการระบายอากาศที่ดี
12.มีถงั ขยะที่สะอาด มีฝาปิ ดมิดชิด อยูใ่ นสภาพใช้งานได้ดี และ
มีการจัดเก็บออกจากตัวอาคารทุกวันเพื่อนาไปกาจัดอย่างถูก
วิธี
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ประสิ ทธิภำพของสกำรบริหำรจัดกำร (15 คะแนน)
และพัฒนำสถำนศึกษำ
7.5 ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการจัด (เชิงคุณภาพ
สภาพแวดล้อมภายในอาคารให้เอื้อต่อการ 2.5 คะแนน)
เรี ยนรู ้ ปลอดภัย และถูกสุ ขลักษณะ
คำแนะนำทีส่ ถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
1. ปฏิบตั ิตามเกณฑ์ขอ้ 1 – 12
2. จัดทาแผนผังในห้องเรี ยน เกี่ยวกับการแบ่งสัดส่ วนพื้นที่ใช้
งาน
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ประสิ ทธิภำพของสกำรบริหำรจัดกำร (15 คะแนน)
และพัฒนำสถำนศึกษำ
7.6
ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการ (เชิงคุณภาพ
จัดให้มีมาตรการด้านความปลอดภัย 2.5 คะแนน)
และการป้ องกันการบาดเจ็บในเด็ก
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. มีการกาหนดนโยบายเรื่ องความปลอดภัยในการดูแลเด็ก
เพื่อให้ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็ก และผูป้ กครองเด็กปฏิบตั ิตาม
2. มีการอบรมบุคลากร และครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กเพื่อเพิ่มพูนความรู ้
และทักษะในการจัดการความปลอดภัยในเด็กเป็ นประจาทุกปี
3. มีการประสานความร่ วมมือระหว่างสถานศึกษากับสถาบัน
องค์กรทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และหน่วยงานต่างๆ ในเรื่ องการ
ป้ องกันด้านความปลอดภัยและการบาดเจ็บในเด็ก
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ประสิ ทธิภำพของสกำรบริหำรจัดกำร (15 คะแนน)
และพัฒนำสถำนศึกษำ
7.6
ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการ (เชิงคุณภาพ
จัดให้มีมาตรการด้านความปลอดภัย 2.5 คะแนน)
และการป้ องกันการบาดเจ็บในเด็ก
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
4. มีระบบเฝ้ าระวังและวิเคราะห์ความเสี่ ยง เช่น มีแผนเฝ้ าระวัง
และวิเคราะห์ความเสี่ ยง มีการบันทึกการบาดเจ็บของเด็ก
รายบุคคล มีการเดินสารวจเพื่อค้นหาจุดเสี่ ยงต่อการบาดเจ็บ
มีการสารวจและบันทึกข้อมูลเป็ นประจาสม่าเสมอตลอดปี มี
การประเมินผลที่นาไปสู่การดาเนินกิจกรรมการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมเสี่ ยงเพื่อพัฒนาระบบเฝ้ าระวังและวิเคราะห์ความ
เสี่ ยงให้มีคุณภาพดียงิ่ ขึ้น
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ประสิ ทธิภำพของสกำรบริหำรจัดกำร (15 คะแนน)
และพัฒนำสถำนศึกษำ
7.6
ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการ (เชิงคุณภาพ
จัดให้มีมาตรการด้านความปลอดภัย 2.5 คะแนน)
และการป้ องกันการบาดเจ็บในเด็ก
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
5. มีกิจกรรมเพื่อการแก้ปัญหาและป้ องกันความปลอดภัยที่
ครอบคลุมทั้ง 6 ด้าน อย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ความปลอดภัยของ
อาคาร ความปลอดภัยจากบุคคล ระบบฉุกเฉิน (แผนฝึ กซ้อม
การป้ องกันภัย ฝึ กการกูช้ ีพ หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน
อุปกรณ์รักษาความปลอดภัย อุปกรณ์ดบั เพลิง) และความ
ปลอดภัยในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ประสิ ทธิภำพของสกำรบริหำรจัดกำร (15 คะแนน)
และพัฒนำสถำนศึกษำ
7.6
ประสิ ทธิภาพของสถานศึกษาในการ (เชิงคุณภาพ
จัดให้มีมาตรการด้านความปลอดภัย 2.5 คะแนน)
และการป้ องกันการบาดเจ็บในเด็ก
คำแนะนำทีส่ ถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
1. การจัดทาแผนปฏิบตั ิการควรให้ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็ก ผูแ้ ทน
ผูป้ กครองคณะกรรมสถานศึกษา เข้ามาร่ วมกาหนดนโยบาย
ในการดาเนินการ
2. จัดให้มีการให้ความรู ้แก่ครู หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเด็กโดยบันทึกการรับ
ความรู ้ไว้เป็ นหลักฐาน
3. มีเอกสารความร่ วมมือระหว่างสถานศึกษากับหน่วยงาน
ภายในการดูแลความปลอดภัยและการบาดเจ็บในเด็ก
ตัวบ่ งชี้ที่ 8 ประสิ ทธิผลของระบบประกัน
คุณภำพภำยใน
(5 คะแนน)
8.1
(เชิงคุณภาพ 2.5
ประสิ ทธิผลของระบบประกันคุณภาพ
คะแนน
ภายในโดยสถานศึกษาหรื อหน่วยราชการที่ พัฒนาการ 2.5
กากับดูแลสถานศึกษา (ศูนย์พฒั นาเด็ก)
คะแนน = 5 คะแนน)
8.2
พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายใน
โดยสถานศึกษาและต้นสังกัด(สาหรับ
สถานศึกษาประเภทโรงเรี ยนที่จดั การศึกษา
ระดับปฐมวัย)
(เชิงคุณภาพ 2.5
คะแนน
พัฒนาการ 2.5
คะแนน = 5 คะแนน)
กรณีที่ 1 เฉพาะสถานศึกษาที่ได้รับการประเมินปี 2554
(ย้อนหลัง 3 ปี )
กรณีที่ 2 เฉพาะสถานศึกษาที่ได้รับการประเมินปี 2554 – 58
ตัวบ่ งชี้ที่ 8 ประสิ ทธิผลของระบบประกัน
คุณภำพภำยใน
(5 คะแนน)
8.2 ต้ นสั งกัดประเมินสถำนศึกษำ 8 ข้ อ(5 คะแนน)
1. กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา(ครู และบุคลากร
ทางการศึกษา,หลักสูตร,ตารา,วิธีการสอน สิ่ งอานวยความ
สะดวกเพื่อการศึกษา)
2. จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่ง
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
3. จัดระบบบริ การและสารสนเทศ
4. ดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
5. จัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
6. จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา
ตัวบ่ งชี้ที่ 8 ประสิ ทธิผลของระบบประกัน
คุณภำพภำยใน
(5 คะแนน)
8.2 ต้ นสั งกัดประเมินสถำนศึกษำ 8 ข้ อ(ต่ อ)
7. จัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานประเมินคุณภาพ
ภายใน
8. จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
คำแนะนำทีส่ ถำนศึกษำควรเตรียมรับกำรประเมินภำยนอก
1. จัดทา SAR ของแต่ละปี เก็บรวบรวมตั้งแต่ปี 51, 52, 53
กลุมตั
้ ต
ั ลักษณ ์
่ วบงชี
่ อ
2 ตัวบงชี
่ ้
ตัวบ่ งชี้
นำ้ หนัก
ชื่อตัวบ่ งชี้
ที่
(คะแนน)
9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา
2.5
ปณิ ธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของ
การจัดตั้งสถานศึกษา
10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่
2.5
ส่ งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของ
สถานศึกษา
(5 คะแนน)
เกณฑ์ กำรให้
คะแนน
คุณภาพ
คุณภาพ
ตัวบ่ งชี้ที่ 9 ผลกำรพัฒนำให้ บรรลุเป้ำหมำยตำม (เชิงคุณภำพ
ปรัชญำ ปณิธำน พันธกิจ และ
2.5 คะแนน)
วัตถุประสงค์ ของกำรจัดตั้งสถำนศึกษำ
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. ผูบ้ ริ หาร ครู บุคลากร ชุมชนและองค์กรภายนอกมีส่วนร่ วม
ในการกาหนดแผนปฏิบตั ิงานโดยระบุเป้ าหมายและกลยุทธ์
ที่สอดคล้องกับปรัชญา ปณิ ธาน/วิสยั ทัศน์ และพันธกิจการ
ดาเนินงานของสถานศึกษาโดยได้รับการเห็นชอบจาก
คณะกรรมการสถานศึกษา
2. มีการสร้างระบบการมีส่วนร่ วมของผูเ้ รี ยน และบุคลากรใน
การปฏิบตั ิตามกลยุทธ์ที่กาหนดอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ และ
บุคลากรไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 50 ให้ความร่ วมมือในการปฏิบตั ิ
ตัวบ่ งชี้ที่ 9 ผลกำรพัฒนำให้ บรรลุเป้ำหมำยตำม (เชิงคุณภำพ
ปรัชญำ ปณิธำน พันธกิจ และ
2.5 คะแนน)
วัตถุประสงค์ ของกำรจัดตั้งสถำนศึกษำ
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
3. มีการประเมินความพึงพอใจของผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องใน
สถานศึกษา และผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับ
ดีไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80
4. ผลการดาเนินงานบรรลุตามปรัชญา ปณิ ธาน/วิสยั ทัศน์ พันธกิจ
และวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษาและเกิดผลกระทบที่ดี
ต่อชุมชน ท้องถิ่น
5. ผูเ้ รี ยนมีคุณลักษณะที่เป็ นไปตามปรัชญา ปณิ ธาน/วิสัยทัศน์
และพันธกิจด้านผูเ้ รี ยนตามที่สถานศึกษากาหนด และเป็ นที่
ยอมรับของชุมชน ท้องถิ่น
ตัวบ่ งชี้ที่ 10 ผลกำรพัฒนำตำมจุดเน้ นและจุดเด่ นที่ (เชิงคุณภำพ
ส่ งผลสะท้ อนเป็ นเอกลักษณ์ ของ
2.5 คะแนน)
สถำนศึกษำ
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
1. ผูบ้ ริ หาร ครู บุคลากร ชุมชนและองค์กรภายนอกมีส่วนร่ วม
ในการกาหนดจุดเน้น จุดเด่น หรื อความเชี่ยวชาญเฉพาะของ
สถานศึกษา รวมทั้งกาหนดแผนปฏิบตั ิงานโดยระบุเป้ าหมาย
และกลยุทธ์การดาเนินงานโดยได้รับการเห็นชอบจาก
คณะกรรมการสถานศึกษา
2. มีการสร้างระบบการมีส่วนร่ วมของผูเ้ รี ยน และบุคลากรใน
การปฏิบตั ิตามกลยุทธ์ที่กาหนดอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ และ
บุคลากรไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 50 ให้ความร่ วมมือในการปฏิบตั ิ
อย่างต่อเนื่อง
ตัวบ่ งชี้ที่ 10 ผลกำรพัฒนำตำมจุดเน้ นและจุดเด่ นที่ (เชิงคุณภำพ
ส่ งผลสะท้ อนเป็ นเอกลักษณ์ ของ
2.5 คะแนน)
สถำนศึกษำ
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
3. มีการประเมินความพึงพอใจของผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องใน
สถานศึกษา และผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับ
ดีไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80
4. ผลการดาเนินงานบรรลุตามจุดเน้นจดเด่น หรื อเชี่ยวชาญ
เฉพาะของสถานศึกษาและเกิดผลกระทบที่ดีต่อชุมชน ท้องถิ่น
5. สถานศึกษามีเอกลักษณ์ตามจุดเน้น จุดเด่น หรื อเชี่ยวชาญ
เฉพาะที่กาหนด และได้รับการยอมรับจากองค์กรภายนอก
สถานศึกษา
กลุมตั
้ าตรการส่งเสริม
่ วบงชี
่ ม
2 ตัวบงชี
่ ้
ตัวบ่ งชี้
ชื่อตัวบ่ งชี้
ที่
11 ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อ
ส่ งเสริ มบทบาทของสถานศึกษา
12
ผลการส่ งเสริ มพัฒนาสถานศึกษาเพื่อ
ยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐานและ
พัฒนาสู่ความเป็ นเลิศที่สอดคล้องกับ
แนวทางการปฏิรูปการศึกษา
(5 คะแนน)
นำ้ หนัก
(คะแนน)
2.5
เกณฑ์ กำรให้
คะแนน
คุณภาพและ
พัฒนาการ
2.5
คุณภาพ
(เชิงคุณภำพ
ตัวบ่ งชี้ที่ 11 ผลกำรดำเนินกำรโครงกำรพิเศษ
และพัฒนำกำร
เพือ่ ส่ งเสริมบทบำทของสถำนศึกษำ
2.5 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำเชิงคุณภำพ
ดูจากการดาเนินโครงการพิเศษระดับสถานศึกษาที่
สถานศึกษากาหนดเพื่อนามาปรับปรุ งและพัฒนาเพื่อแก้ไข
ปัญหาทั้งในสถานศึกษา และ/หรื อ ชุมชนรอบสถานศึกษา
รวมทั้งการน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป
ประยุกต์ใช้ในการบริ หารจัดการ การจัดทาหลักสูตรการเรี ยน
การสอนการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนและการพัฒนา
บุคลากร ตามเกณฑ์การพิจารณาดังนี้ (2 คะแนน)
(เชิงคุณภำพ
ตัวบ่ งชี้ที่ 11 ผลกำรดำเนินกำรโครงกำรพิเศษ
และพัฒนำกำร
เพือ่ ส่ งเสริมบทบำทของสถำนศึกษำ
2.5 คะแนน)
1. มีการดาเนินการโครงการพิเศษ อย่างน้อย 1 โครงการ
2. มีการดาเนินงานเข้าสู่ ระบบตามวงจรคุณภาพ (PDCA)
3. บรรลุเป้ าหมายตามแผนการดาเนินงานไม่ต่ากว่า
ร้อยละ 80
4. เด็กอย่างน้อยร้อยละ 50 มีส่วนร่ วมในโครงการพิเศษ
(เชิงคุณภำพ
ตัวบ่ งชี้ที่ 11 ผลกำรดำเนินกำรโครงกำรพิเศษ
และพัฒนำกำร
เพือ่ ส่ งเสริมบทบำทของสถำนศึกษำ
2.5 คะแนน)
เกณฑ์ กำรพิจำรณำพัฒนำกำร
พิจารณาจากผลการเปลี่ยนแปลงของการพัฒนาที่ดีข้ ึนในการ
แก้ปัญหา เช่น จากร้อยละของจานวนโครงการที่สถานศึกษา
ดาเนินการและมีผลการเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ ึนในการแก้ไข
ปัญหาในสถานศึกษา และ/หรื อ ชุมชนรอบสถานศึกษา
รวมทั้งจากการน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป
ประยุกต์ใช้ในการบริ หารจัดการการจัดทาหลักสูตรการเรี ยน
การสอน การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนและการพัฒนา
บุคลากร รวมถึงการที่สถานศึกษาสามารถเป็ นแบบอย่าง การ
แก้ไขปัญหาในสถานศึกษา และ/หรื อ ชุมชนรอบสถานศึกษา
ตัวบ่ งชี้ที่ 12 ผลกำรส่ งเสริมพัฒนำสถำนศึกษำเพือ่ (เชิงคุณภำพ
ยกระดับมำตรฐำน รักษำมำตรฐำน
2.5 คะแนน)
และพัฒนำสู่ ควำมเป็ นเลิศทีส่ อดคล้อง
กับแนวทำงกำรปฏิรูปกำรศึกษำ
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
พิจารณาจากผลการปรับปรุ งและพัฒนาสถานศึกษาตามแผนการ
ดาเนินงานประจาปี ตามมาตรการที่นามาปรับปรุ งและพัฒนา เพื่อมุ่ง
ไปสู่ สถานศึกษาที่มีคุณภาพตามกลุ่มสถานศึกษา
1. มีแผนการดาเนินงานประจาปี ตามการที่นามาปรับปรุ งพัฒนา
เพื่อมุ่งไปสู่ สถานศึกษาที่มีคุณภาพตามกลุ่มสถานศึกษา โดยใช้
ข้อเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายนอกและผลการ
ประเมินคุณภาพภายใน (กรณี สถานศึกษาที่ยงั ไม่เคยได้รับการ
ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสองให้ใช้ผลการประเมินคุณภาพ
ภายในจากต้นสังกัด)
ตัวบ่ งชี้ที่ 12 ผลกำรส่ งเสริมพัฒนำสถำนศึกษำเพือ่ (เชิงคุณภำพ
ยกระดับมำตรฐำน รักษำมำตรฐำน
2.5 คะแนน)
และพัฒนำสู่ ควำมเป็ นเลิศทีส่ อดคล้อง
กับแนวทำงกำรปฏิรูปกำรศึกษำ
เกณฑ์ กำรพิจำรณำ
2. มีขอ้ ตกลงร่ วมกันระหว่างสถานศึกษากับหน่วยงานต้น
สังกัด หรื อหน่วยสนับสนุน หรื อหน่วยงานอื่นๆ ทั้งเป็ นลาย
ลักษณ์อกั ษรหรื อมีขอ้ มูลเชิงประจักษ์
3. มีการดาเนินงานอย่างเป็ นระบบครบวงจรคุณภาพ (PDCA)
4. มีผลการดาเนินงานบรรลุเป้ าหมายตามแผนการดาเนินงาน
ประจาปี ไม่ต่ากว่าร้อยละ 80
5. มีผลกระทบต่อคุณภาพของสถานศึกษาตามแนวทางการ
ปฏิรูปการศึกษา