ข้ อ 1 จงอธิบายความสัมพันธ์ ระหว่ าง สภาพแวดล้ อมภายนอก องค์ การ กลยุทธ์ องค์ การและโครงสร้ างองค์ การ โดยพิจารณา จากกรอบแนวคิดเชิงวิชาการ ตอบ จากองค์ ความรู้ ท่ ขี ้ าพเจ้

Download Report

Transcript ข้ อ 1 จงอธิบายความสัมพันธ์ ระหว่ าง สภาพแวดล้ อมภายนอก องค์ การ กลยุทธ์ องค์ การและโครงสร้ างองค์ การ โดยพิจารณา จากกรอบแนวคิดเชิงวิชาการ ตอบ จากองค์ ความรู้ ท่ ขี ้ าพเจ้

ข้ อ 1
จงอธิบายความสัมพันธ์ ระหว่ าง สภาพแวดล้ อมภายนอก
องค์ การ กลยุทธ์ องค์ การและโครงสร้ างองค์ การ โดยพิจารณา
จากกรอบแนวคิดเชิงวิชาการ
ตอบ จากองค์ ความรู้ ท่ ขี ้ าพเจ้ าได้ เรี ยนมาในรายวิชา รศ.610
“องค์ การสมัยใหม่ ” จาก ดร.สุจติ รา บุณยรัตพันธุ์
ได้ อธิบายว่ า :-
สภาพแวดล้ อมองค์ การ (Environment) แบ่ งเป็ น 2 ประเภท คือ
1. สภาพแวดล้ อมทั่วไป (General Environment)
หมายถึง :- ปั จจัยต่ างๆ ที่มีผลกระทบทั่วไปต่ อองค์ การ
เช่ น :- สภาวะทางเศรษฐกิจ สังคมการเมือง และวัฒนธรรม
2. สภาพแวดล้ อมเฉพาะ (Specific Environment)
หมายถึง :- ปั จจัยที่มีผลกระทบโดยตรงต่ อองค์ การ เช่ น :คู่แข่ งขัน ลูกค้ า หน่ วยควบคุม หรื อกากับ สมาคมการค้ า
มูลนิธิ สหภาพแรงงาน
โครงสร้ างองค์ การ (Organizational Structure) แบ่ งเป็ น 3 ลักษณะคือ
1. ความซับซ้ อน (Complexity) หมายถึง ลักษณะการจาแนก
องค์ การเป็ นระดับหรือหน่ วยย่ อย ทัง้ ในแนวราย แนวดิ่ง
และตามลักษณะที่ตงั ้
2. ความเป็ นทางการ (Formalization) หมายถึง การกาหนด
บรรทัดฐานของงานอย่ างเป็ นทางการ เพื่อเป็ นการควบคุม
/กาหนดพฤติกรรมของพนักงานและบุคลากรต่ างๆ รวมทัง้
เป็ นกลวิธีเพื่อการประสานงาน
3. การรวมอานาจ (Centralization) หมายถึง อานาจในการ
ตัดสินใจอยู่ท่ ใี คร? ถ้ าอยู่ท่ ผี ้ ูบริหารสูงสุดเป็ นการรวม
อานาจ ถ้ าอยู่ท่ ผี ้ ูบริหารรองลงมาหรื อหัวหน้ าหน่ วยงาน
ย่ อย ผู้จัดการ หัวหน้ าสาขา เป็ นการกระจายอานาจ
กลยุทธ์ องค์ การ (Organizational Strategy)
หมายถึง :- การกาหนดเป้าหมาย, การกาหนดวิถีทางที่จะ
บรรลุเป้าหมาย, การจัดสรรทรัพยากรเพื่อให้ การดาเนินการบรรลุ
เป้าหมาย โดยการกาหนดไว้ ล่วงหน้ า
Miles และ Snow ได้ เสนอแนวคิดเรื่องกลยุทธ์ ไว้ ดังนี ้
1. กลยุทธ์ ป้องกัน (Refender) หมายถึง :- กลยุทธ์ การตัง้ รับ
มุ่งเน้ นประสิทธิภาพ ปกป้องอาณาเขต
2. กลยุทธ์ วเิ คราะห์ (Analyzer) หมายถึง :- กลยุทธ์ ท่อี าศัย
ข้ อมูล นาข้ อมูลมาวิเคราะห์ ก่อนตัดสินใจผลิตสินค้ า
ตัวใหม่ หาตลาดใหม่ เมื่อแน่ ใจว่ าอนาคตน่ าจะไปได้ ดี
3. กลยุทธ์ ฉวยโอกาส (Prospector) :- เน้ นที่โอกาส ในกรณี
สภาพแวดล้ อมผันผวนฉวยโอกาสผลิตสินค้ าใหม่ ขยาย
ตลาดใหม่ เป็ นกลยุทธ์ ท่ มี ีความเสี่ยงสูง จากองค์ ความรู้
ดังกล่ าวข้ างต้ นพอจะอธิบายความสัมพันธ์ ระหว่ างสภาพ
แวดล้ อมภายนอกองค์ การ, กลยุทธ์ องค์ การและโครงสร้ าง
องค์ การได้ ดังนี ้ :-
Burns และ Stalker เสนอแนวคิดว่ า “โครงสร้ างขององค์ การที่มี
ประสิทธิผลจะต้ อง สอดคล้ องกับสภาพแวดล้ อม” ดังนี ้
1. สภาพแวดล้ อมมีเสถียรภาพและมีความแน่ นอน
ไม่ เปลี่ยนแปลง ให้ ใช้ โครงสร้ างองค์ การแบบเครื่องจักร
มีความซับซ้ อนสูง
โครงสร้ างองค์ การแบบเครื่องจักร
เป็ นทางการสูง
(Mechanistic Structure)
รวมอานาจ
2. สภาพแวดล้ อมขนาดเสถียรภาพและมีความไม่ แน่ นอน
มีการเปลี่ยนแปลงให้ ใช้ โครงสร้ างแบบสิ่งมีชีวติ
มี
ค
วามซั
บ
ซ้
อ
นต
่
า
โครงสร้ างแบบสิ่งมีชีวติ
เป็ นทางการต่า
(Organic Structure)
กระจายอานาจ
สภาพแวด
ล้ อม
ภายนอก
กลยุทธ์
โครงสร้ าง
สภาพแวดล้ อมภายนอก มีผลต่ อการกาหนดกลยุทธ์ และการ
กาหนดกลยุทธ์ มีผลต่ อโครงสร้ างองค์ การ
Miles และ Snow ได้ แบ่ งกลยุทธ์ ออกเป็ นประเภท แต่ ละ
ประเภทใช้ กับสภาพแวดล้ อมที่ต่างกัน และแต่ ละประเภทจะเป็ น
ตัวกาหนดโครงสร้ างองค์ การ ดังนี ้
กลยุทธ์
ป้องกัน
สภาพแวดล้อม
ลักษณะโครงสร้าง
มีเสถียรภาพ/คงที่ ไม่ - ซับซ้อนมาก
เปลีย่ นแปลง
- เป็ นทางการสูง
- รวมอานาจ
วิเคราะห์ ขาดเสถียรภาพมีการ - ซับซ้อนมาก
เปลีย่ นแปลง
- เป็ นทางการน้อย
- กระจายอานาจ
แสวงหาโอกาส พลวัตรผันผวน
- ซับซ้อนน้อย
ใหม่
- เป็ นทางการน้อย
- กระจายอานาจมาก
สรุ ป:- เราจะสรุ ปว่ าอย่ างไร? ดีเอ่ ย!
ข้ อ 2
แนวทางการจัดโครงสร้ างองค์ การตามสถานการณ์ (Strutural
Contingencies Approach) คืออะไรจงอธิบาย
ตอบ ตามองค์ ความรู้ ท่ ขี ้ าพเจ้ าได้ เรี ยนมาในรายวิชา รศ.610
“องค์ การสมัยใหม่ ” จาก ดร.สุจติ รา บุณยรัตนพันธุ์
อธิบายว่ า :-
โครงสร้ างตามสถานการณ์ (Structural Contingencies Approach)
ฐานคติ :- - องค์ การเป็ นระบบเปิ ด
- ประสิทธิภาพขององค์ การขึน้ อยู่กับการกาหนด
โครงสร้ างที่เหมาะสม
สถานการณ์ ท่ มี ีผลต่ อการกาหนดโครงสร้ างองค์ การ
1. สภาพแวดล้ อมองค์ การ (Environment)
Burns และ Stolker นักวิชาการเชื่อว่ าโครงสร้ างของ
องค์ การที่มีประสิทธิผลจะต้ องสอดคล้ องกับสภาพ
แวดล้ อม คือ :-
1.1 สภาพแวดล้ อมมีเสถียรภาพและมีความแน่ นอนให้ ใช้
โครงสร้ างองค์ การ
แบบเครื่องจักร (Mechanistic) Structure)
ซับซ้ อนสูง
เป็ นทางการสูง
รวมอานาจ
1.2 สภาพแวดล้ อมขาดเสถียรภาพและมีความไม่ แน่ นอนใช้
โครงสร้ างองค์ การ
แบบมีชีวติ (Organic Structure)
ซับซ้ อนสูง
เป็ นทางการสูง
รวมอานาจ
2. กลยุทธ์ องค์ การ (Organization Strategy)
หมายถึง :- การกาหนดเป้าหมาย การกาหนดวิถีทางที่จะ
บรรลุเป้าหมาย การจัดสรรทรัพยากรเพื่อให้ การดาเนินการ
บรรลุเป้าหมายโดยการกาหนดไว้ ล่วงหน้ า
Miles และ Snow ได้ แยกประเภทกลยุทธ์ องค์ การไว้ ดังนี ้
2.1 กลยุทธ์ ปกป้อง (Defender) กรณีสภาพแวดล้ อมมี
เสถียรภาพและมีความ แน่ นอน ต้ องการเน้ น
ประสิทธิภาพรักษาอาณาเขต ไม่ ขยายตลาดใหม่
ใช้ โครงสร้ างแบบเครื่องจักร (Mechanistic Structure)
คือ :- ความซับซ้ อนมาก – เป็ นทางการสูงและรวมอานาจ
2.2 กลยุทธ์ วเิ คราะห์ (Analyzer) กรณีสภาพแวดล้ อมขาด
เสถียรภาพมีความไม่ แน่ นอนมีการเปลี่ยนแปลง ใช้ ข้อมูล
มาวิเคราะห์ ก่อนตัดสินใจ เปิ ดตัวผลิตภัณฑ์ ใหม่ และขยาย
ตลาดใหม่ เมื่อแน่ ใจว่ าอนาคตน่ าจะไปได้ ดี ใช้ โครงสร้ าง
แบบความซับซ้ อนน้ อย, ความเป็ นทางการน้ อย, รวมอานาจ
ปานกลาง
2.3 กลยุทธ์ ฉวยโอกาส (Prospector) กรณีสภาพแวดล้ อมมี
ความผันผวน ต้ องใช้ กลยุทธ์ ฉกฉวยโอกาส เปิ ดตัวสินค้ า
ใหม่ ขยายตลาดใหม่ ต้ องใช้ โครงสร้ างแบบมีชีวติ
(Organic Structure) คือ :- ความซับซ้ อนน้ อย, เป็ นทางการ
ต่าและกระจายอานาจ
3. ขนาดขององค์ การ (Organization Size)
ขนาดขององค์ การ
มีผล
โครงสร้ างองค์ การ
ต่ อ
-
องค์ การขนาดใหญ่
มีการทางานเฉพาะด้ านมาก
มีความเป็ นทางการมากขึน้
มีการแบ่ งระดับชัน้ มากขึน้
การรวมอานาจน้ อยลง
ความซับซ้ อนแนวราบมากขึน้
เป็ นทางการสูง
ความซับซ้ อนในแนวดิ่งมาก
กระจายอานาจ
องค์ การขนาดใหญ่
องค์ การขนาดเล็ก
ความซับซ้ อนมาก
เป็ นทางการสูง
กระจายอานาจ
ความซับซ้ อนต่า
เป็ นทางการต่า
รวมอานาจ
4. เทคโนโลยีองค์ การ (Technology)
หมายถึง:- สารสนเทศ + อุปกรณ์ + เทคนิค + กระบวนการที่
จาเป็ นในการแปลงสิ่งนาเข้ า (Input) เป็ นผลลัพธ์ (Output)
Joan Woodward
ประเภทของเทคโนโลยีมีผลต่ อโครงสร้ าง
องค์ การ
องค์ การจะมีประสิทธิผลต่ อเมื่อเทคโน
และโครงสร้ างสอดคล้ องกัน
ข้ อ 3
จงอธิบายแนวทางประเมินประสิทธิผลองค์ การที่ท่านทราบ
แนวทางใดที่ท่านเห็นว่ าน่ าจะดีท่ สี ุด จงอธิบายพร้ อมด้ วย
ยกเหตุผลสนับสนุน
ตอบ ตามองค์ ความรู้ ท่ ขี ้ าพเจ้ าได้ เรี ยนมาในรายวิชา รศ.610
“องค์ การสมัยใหม่ ” จาก ดร.สุจติ รา บุณยรัตนพันธ์
ได้ อธิบายว่ า
Stephen P.Robbins นักวิชาการได้ แบ่ งแนวทางประเมิน
ประสิทธิผลขององค์ การ เป็ น 4 วิธี คือ
1. Goal Attainment Approach การวัดประสิทธิผลองค์ การ
จากความสามารถ องค์ การในการบรรลุเป้าหมาย
นิยาม : ประสิทธิผล คือ การบรรลุเป้าหมาย
ฐานคติ : - องค์ การปฏิบตั งิ านอย่ างมีขัน้ ตอนและ
สมเหตุสมผล
- องค์ การมีเป้าหมายและมีการจัดลาดับควา
สาคัญของเป้าหมายอย่ างชัดเจน
- องค์ การมีเป้าหมายจานวนไม่ มาก ไม่ หลาก
หลาย
- ผู้ปฏิบัตมิ ีความเห็นตรงกันเกี่ยวกับเป้าหมาย
- เป้าหมายสามารถวัดได้
แนวทางปฏิบัติ : Management by Objectives การบริหาร
จัดการโดยยึดเป้าหมายเป็ นหลัก
ข้ อจากัด : - เป้าหมายของใคร
- เป้าหมายเป็ นทางการหรือไม่ เป็ นทางการ
- เป้าหมายเป็ นระยะสัน้ หรือระยะยาว
2. Systems Approach การวัดประสิทธิผลขององค์ การโดย
ใช้ ความคิดระบบ
นิยาม : ประสิทธิผล คือ ความสามารถในการจัดการและดาเนิน
การกับ Input
ฐานคติ : - องค์ การเป็ นระบบที่มีปฏิสัมพันธ์ กับสภาพแวดล้ อม
- องค์ การประกอบด้ วยแผนกต่ างๆ ที่พ่งึ พาซึ่งกัน
และกัน
- องค์ การจาเป็ นต้ องแสวงหาปั จจัยนาเข้ า (Input)
เพื่อมาดาเนินการแปลงออกเป็ นผลลัพธ์ (output)
แนวทางปฏิบัติ : 1. Management Audit ตรวจสอบการบริหาร
จัดการ
2. Performance Audit ตรวจสอบจากผลงาน
3. Output/Input Ratios ตรวจสอบประสิทธิผล
ข้ อจากัด : - การวัด/ประเมินกระบวนการทางาน ทายาก
- การเน้ นที่กระบวนการบริหาร/จัดการ อาจไม่ สาคัญ
เท่ ากับการวัดที่ผลการดาเนินงาน
3. Strategic Constituencies Approach การวัดประสิทธิผล
องค์ การ โดยดูจากความสามารถในการชนะใจผู้มีอทิ ธิพล
นิยาม : ประสิทธิผล คือ ความสามารถสนองตนเองต่ อความ
ต้ องการของกลุ่มต่ างๆ ที่มาจากสภาพแวดล้ อม
ภายนอก (ในกรณีสภาพแวดล้ อมภายนอกให้ คุณให
โทษต่ อองค์ การ)
ฐานคติ : - องค์ การมีลักษณะเป็ นการเมืองที่ต้องมุ่งเอาใจ
กลุ่มต่ างๆ ที่มาจากสภาพแวดล้ อมภายนอก
โดยเฉพาะถ้ ากลุ่มนัน้ ให้ คุณให้ โทษได้
- กลุ่มต่ างๆ มีพลังอานาจไม่ เท่ าเทียมกัน
- การกาหนดเป็ นเป้าหมายองค์ การเป็ นการ
ให้ ความสาคัญกับกลุ่มเพียงบางกลุ่ม
แนวทางปฏิบัติ : - ระบุว่า Strategic Constituencies เป็ นใคร
- ประเมินว่ ากลุ่ม/บุคคลใดมีพลังอานาจ
มากกว่ ากัน
- ประเมินความคาดหวังของกลุ่มที่มีต่อ
องค์ การ
ข้ อจากัด : แนวทางปฏิบัตขิ ้ างต้ น “พูดง่ าย ทายาก”
4. Competing Values Approach การวัดประสิทธิผลองค์ การ
จากค่ านิยมที่แตกต่ างกันของสมาชิกองค์ การ
นิยาม : เป็ นการบูรณาการ แนวทางทัง้ 3 ข้ างต้ น
ฐานคติ : - การประเมินประสิทธิผลองค์ การไม่ มีแนวทาง
ได้ ดีท่ สี ุด (No one best way) ดังนัน้ ต้ องนามา
ผสมผสานกัน
- การประเมินประสิทธิผลเป็ นเรื่อง Subjective
ขึน้ อยู่กับผู้ประเมินว่ าเป็ นใคร
แนวทางปฏิบัติ : พิจารณาดังนี ้
- เน้ นความยืดหยุ่นหรือเน้ นการควบคุม
- เน้ นคนหรือเน้ นงาน
- เน้ นวิธีการทางานหรือเน้ นผลลัพธ์
ข้ อจากัด : จากแนวทางที่ 1-3 แนวทางใดดีท่ สี ุด?
จงอธิบายพร้ อมยกตัวอย่ างสนับสนุน
ข้ อ 4
จงอธิบายโครงสร้ างของหน่ วยงานของท่ านโดยสังเขป โดย
อาศัยกรอบความคิดที่ได้ ศึกษามาในรายวิชา รศ.610 และ
โครงสร้ างดังกล่ าวสอดคล้ องกับแนวคิดของทฤษฎีองค์ การ
ตามสถานการณ์ (Structural Contingencies Approach)
หรือไม่ อย่ างไร จงอภิปรายโดยนาผลงานของนักวิชาการที่
ท่ านทราบประกอบการอธิบาย
ตอบ จากองค์ ความรู้ ท่ ขี ้ าพเจ้ าได้ ศกึ ษามาในรายวิชา รศ.610
“องค์ การสมัยใหม่ ” จาก ดร.สุจติ รา บุณยรัตพันธุ์
ได้ อธิบายว่ า
โครงสร้ างองค์ การ (Organization Structure)
ลักษณะโครงสร้ างองค์ การ
1. ความซับซ้ อน (Complexity) หมายถึง ลักษณะการจาแนก
องค์ การเป็ นระดับหรือหน่ วยย่ อยทัง้ ในแนวราบ แนวดิ่งและ
ลักษณะที่ตงั ้
1.1การจาแนกในแนวราบ (Horizontal Differentiation)
หมายถึง ความแตกต่ างที่มีอยู่ระหว่ างหน่ วยงานย่ อยตาม
แนวนอน แบ่ งเป็ น 2 ลักษณะ
1.1.1 จาแนกตามความชานาญการ
1.1.2 จาแนกเป็ นแผนก
1.2 การจาแนกในแนวดิ่ง (Vertical Differentiation)
หมายถึง ความแตกต่ างตามแนวดิ่ง คือความลึกของ
โครงสร้ างหรือจานวนระดับในระดับชัน้ ยิ่งมีระดับชัน้
มากยิ่งมีความซับซ้ อนมาก
1.3 การจาแนกตามลักษณะที่ตงั ้ (Spatial Differentiation)
หมายถึง องค์ การหนึ่งอาจมีท่ตี งั ้ หลายๆ แห่ ง แต
เป็ นองค์ การที่มีความแตกต่ างตามแนวนอนและแนวตัง้
เท่ ากันการมีท่ตี งั ้ หลายๆ แห่ งเป็ นการเพิ่มความซับซ้ อนให้ กับ
องค์ การ เกิดได้ 2 ลักษณะ
1.3.1 การกระจายที่ตงั ้ ในแนวราบ
ฝ่ ายขาย – ฝ่ ายผลิต อยู่คนละแห่ ง ถ้ าอยู่เมืองเดียวกัน
จะซับซ้ อนน้ อยกว่ าคนละเมือง
1.3.2 การกระจายที่ตงั ้ ในแนวดิ่ง
องค์ การที่รวมสมาชิกทุกระดับ ทุกฝ่ ายไว้ ท่ เี ดียวกันอยู่
เมืองเดียวกันจะซับซ้ อนน้ อยกว่ าองค์ การที่มีฝ่ายต่ างๆ
อยู่คนละเมือง
2. ความเป็ นทางการ (Formalization) หมายถึง การกาหนด
รู ปแบบบรรทัดฐานของหน่ วยงานอย่ างเป็ นทางการ เพื่อ
ควบคุม/กาหนดพฤติกรรมของพนักงานและบุคคลต่ างๆ
โดยกาหนดไว้ อย่ างเป็ นลายลักษณ์ อักษรอย่ างตายตัว
3. การรวมอานาจ (Centralization) หมายถึง อานาจการ
ตัดสินใจอยู่ท่ ใี คร
รวมอานาจ = อานาจการตัดสินในอยู่ท่ ผี ้ ูบริหารสูงสุด
กระจายอานาจ = อานาจการตัดสินใจมอบหมายให้
ผู้บริหารระดับกลาง ผู้จัดการสาข
หรือหัวหน้ าหน่ วยงานย่ อย
โครงสร้ างหน่ วยงานของข้ าพเจ้ า
ผู้บริหารสูงสุด
รองผู้บริหาร 1
หัวหน้ าฝ่ าย 1
รองผู้บริหาร 2
หัวหน้ าฝ่ าย 2
แผนก 1
รองผู้บริหาร 3
หัวหน้ าฝ่ าย 3
แผนก 1
แผนก 1
แผนก 1
โครงสร้ างหน่ วยงานของข้ าพเจ้ า
 เป็ นหน่ วยงานทางราชการ มีผ้ ูบริหารสูงสุด 1 ท่ าน
มีรองผู้บริหาร จานวน 3 คน แต่ ละคนรับผิดชอบฝ่ าย
ต่ างๆ คนละ 3 ฝ่ าย โดยมีหวั หน้ าฝ่ ายกากับดูแลหน่ วย
ย่ อยภายในฝ่ ายอีกหลายแผนกมากน้ อยตามลักษณะ
ของแต่ ละฝ่ าย
 การปฏิบัตงิ านยึดกฎระเบียบของทางราชการ มีการติดต่ อ
สื่อสารกันเป็ นทางการเป็ นลายลักษณ์ อักษร
 มีสายบังคับบัญชาแบ่ งหน้ าที่กันทาอย่ างชัดเจน
วิเคราะห์ โครงสร้ างหน่ วยงานของข้ าพเจ้ า
1. ความซับซ้ อน (Complexity) ความซับซ้ อนสูง เนื่องจากมีการ
จาแนกองค์ การเป็ นระดับหรือหน่ วยย่ อย ทัง้ ในแนวราบก็มาก
มีระดับชัน้ ในแนวดิ่งมาก จึงมีความซับซ้ อนสูง
2. ความเป็ นทางการ (Formalization) มีการติดต่ อสื่อสารกัน
เป็ นทางการ ติดต่ อสื่อสารเป็ นลายลักษณ์ อักษร มีกฎระเบียบ
ในการปฏิบัติ เนื่องจากเป็ นหน่ วยงานทางราชการ จึงมีความ
เป็ นทางการสูง
3. การรวมอานาจ (Centralization) อานาจการตัดสินใจอยู่ท่ ผี ้ ู
บริหารสูงสุด แต่ ได้ มอบอานาจให้ รองผู้บริหาร, หัวหน้ าฝ่ าย
ในการตัดสินใจในงานที่รับผิดชอบ จึงเป็ นการกระจายอานาจ