ข้ อ 1 ให้ ท่านใช้ ทฤษฎีโครงสร้ างตามสถานการณ์ (Structural Contingency) ของ มอร์ แกน วิเคราะห์ องค์ การของท่ านว่ า มีลักษณะอย่ างไร ตอบ ตามองค์ ความรู้ ท่ ขี.

Download Report

Transcript ข้ อ 1 ให้ ท่านใช้ ทฤษฎีโครงสร้ างตามสถานการณ์ (Structural Contingency) ของ มอร์ แกน วิเคราะห์ องค์ การของท่ านว่ า มีลักษณะอย่ างไร ตอบ ตามองค์ ความรู้ ท่ ขี.

ข้ อ 1
ให้ ท่านใช้ ทฤษฎีโครงสร้ างตามสถานการณ์ (Structural
Contingency) ของ มอร์ แกน วิเคราะห์ องค์ การของท่ านว่ า
มีลักษณะอย่ างไร
ตอบ ตามองค์ ความรู้ ท่ ขี ้ าพเจ้ าได้ เรี ยนมาในรายวิชา รศ.610
องค์ การสมัยใหม่ โดย ดร.ทิพวรรณ หล่ อสุวรรณรัตน์
ทฤษฎีโครงสร้ างตามสถานการณ์ (Structural Contingency)
ของมอร์ แกน มีตัวแบบดังนี ้
ทฤษฎีโครงสร้ างตามสถานการณ์
(Structural Contingency)
สิ่ งแวดล้ อม
คงที่/ไม่ แน่ นอน A
D
C
B ไม่ แน่ นอน
แผนรั บ
A
D
C
B แผนรุ ก
งานประจา
A
D
C
B ซับซ้ อน
มุ่งปั จจัยศก
A
C
B ความสาเร็จ
เครื่ องจักร
A
C
B สิ่งมีชีวิต
รวมศูนย์
A
C
B ประชาธิปไตย
- กลยุทธ์
- เทคโนโลยี
D
- คน
D
- โครงสร้ าง
- การจัดการ
D
ตามแนวความคิดของมอร์ แกนได้ นาโครงสร้ างตามสถานการณ์
มาพัฒนาเพื่อให้ เข้ าใจและประยุกต์ ได้ ง่าย โดยได้ นาปั จจัยมา
พิจารณา คือ:- สิ่งแวดล้ อม - กลยุทธ์ - เทคโนโลยี - คน/วัฒนธรรม
- การจัดการโดยแบ่ งแต่ ละปั จจัยดังกล่ าว เพื่อใช้ ในการวิเคราะห์
องค์ การดังนี ้
1. สิ่งแวดล้ อม :- คงที่ = A
ไม่ คงที่ = B
2. กลยุทธ์ :- กลยุทธ์ ตงั ้ รับ = A
กลยุทธ์ แบบรุ ก = B
3. เทคโนโลยี :- งานประจา = A
งานซับซ้ อน = B
4. คน
:- มุ่งผลตอบแทน = A
มุ่งผลงาน = B
5. โครงสร้ าง :- แบบเครื่องจักร = A
แบบสิ่งมีชีวติ = B
6. การจัดการ :- รวมศูนย์ อานาจ = A
กระจายอานาจ = B
องค์ การของข้ าพเจ้ า
เกี่ยวกับสภาพแวดล้ อม :- องค์ การของข้ าพเจ้ าเป็ น
หน่ วยงานราชการสถานศึกษา โรงเรี ยนมัธยมศึกษา
ประจาตาบล เปิ ดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้ นและ
มัธยมศึกษาตอนปลาย มีนักเรี ยน 1,280 คน มี
ครู -อาจารย์ จานวน 58 คน ทุนดาเนินการได้ จาก
งบประมาณทาง ราชการ โดยรั ฐบาลจ่ ายเงินอุดหนุน
เป็ นรายหัว ดังนัน้ สภาพแวดล้ อมจึงมีลักษณะ คงที่/ไม่
เปลี่ยนแปลง
กลยุทธ์ องค์ การ :- ใช้ แบบแผนรั บ Defenders คือ :- มุ่งเน้ นประสิทธิภาพ
และคุณภาพของผู้เรี ยน ไม่ ต้องการขยายตลาดใหม่ หรื อ
นักเรี ยนเพิ่มเนื่องจากจากัดในอัตรากาลัง
เทคโนโลยี :คือ การจัดการเรี ยนการสอน ก็เป็ นไปตามที่หลักสูตร
กาหนดไว้ แน่ นอนตายตัวต้ องสอนตามหลักสูตร จึงถือเป็
แบบงานประจา
คน :- คนในองค์ การทางานโดยหวังผลตอบแทน คือ เงินเดือน
การเลื่อนขัน้ เงินเดือนเป็ นกรณีพเิ ศษ
โครงสร้ างองค์ การ :- มีการกาหนดและแบ่ งงานกันเป็ นฝ่ ายต่ างๆ เป็ นหมวด
วิชา ติดต่ อสื่อสารกันเป็ นทางการยึดกฎระเบียบในการ
ปฏิบัตจิ งึ มีโครงสร้ างแบบเครื่ องจักร
การจัดการ :การตัดสินใจการพิจารณาสั่งการอยู่ท่ ผี ้ ูบริหารเพียง
คนเดียว จึงเป็ นการจัดการแบบรวมอานาจ
สรุ ป องค์ การของข้ าพเจ้ าตามแนวคิดของมอร์ แกนจึงเป็ นแบบโครงสร้ าง
องค์ การแบบเครื่ องจักร
ข้ อ 2
จงอธิบายแนวคิด Corporate Culture (วัฒนธรรมหน่ วยงาน)
ของดีลและเคเนดี ้ และใช้ แนวคิดนีว้ เิ คราะห์ วัฒนธรรมใน
หน่ วยงานของท่ านว่ ามีลักษณะอย่ างไร
ตอบ ตามองค์ ความรู้ ท่ ขี ้ าพเจ้ าได้ เรี ยนมาในรายวิชา รศ.610
องค์ การสมัยใหม่ จาก ดร.ทิพวรรณ หล่ อสุวรรณรัตน์
ได้ อธิบายไว้ ดังนี ้ :-
วัฒนธรรมหน่ วยงาน (Corporate Culture)
หมายถึง :- ความเชื่อ ค่ านิยม ธรรมเนียม ฐานคติ
สัญลักษณ์ หรื อความหมายที่ใช้ ร่วมกันในองค์ การ
รู ปแบบวัฒนธรรมขององค์ การตามแนวคิดของดีลและเคเนด
ดีลและเคเนดี ้ ได้ ศึกษาวัฒนธรรมองค์ การโดยเสนอ
ว่ าวัฒนธรรมองค์ การขึน้ อยู่กับลักษณะของตลาด โดยแบ่ ง
ตลาดตามลักษณะสาคัญ 2 ประการ คือ :- ระดับความเสี่ยง
(Degree of Risk) และความรวดเร็วในการรั บข้ อมูล
ย้ อนกลับ (Speed of Feedback)
ดีลและเคเนดี ้ ได้ เสนอว่ าองค์ การมี 4 ประเภท แต่ ละประเภท
มีวัฒนธรรมต่ างกันดังนี ้
1. องค์ การที่มีความเสี่ยงสูงและข้ อมูลย้ อนกลับเร็ว
เรียกว่ า วัฒนธรรมห้ าวหาญ (Tough Person)
2. องค์ การที่มีความเสี่ยงต่าและข้ อมูลย้ อนกลับเร็ว
เรียกว่ า วัฒนธรรมอุตสาหกรรม (Work Horal/Play Hard)
3. องค์ การที่มีความเสี่ยงสูง และข้ อมูลย้ อนกลับช้ า
เรียกว่ า เดิมพันด้ วยองค์ การ (Bet Your Company)
4. องค์ การที่มีความเสี่ยงต่าและข้ อมูลย้ อนกลับช้ า
เรียกว่ า วัฒนธรรมกระบวนการ (Process Culture)
ความสัมพันธ์ ระหว่ างสิ่งแวดล้ อมกับประเภทวัฒนธรรม
ระดับความเสี่ ยง
สู ง
ความเร็ว
ของข้ อมูล
ย้ อนกลับ
เร็ว วัฒนธรรม “ห้าวหาญ”
ตัวอย่าง บริ ษทั ที่ปรึ กษา
ต่า
วัฒนธรรม “อุตสาหะ”
ตัวอย่าง ร้านแมคโดนัลด์
ช้ า วัฒนธรรม “เดิมพันด้วยองค์การ” วัฒนธรรม “เน้นกระบวนการ”
ตัวอย่าง องค์การนาซ่า
ตัวอย่าง มหาวิทยาลัย
วัฒนธรรมองค์ การ
ลักษณะวัฒนธรรม
ความเสีย่ ง
ข้อมูลย้อนกลับ
ประเภทองค์การ
ห้าวหาญ
สูง
เร็ว
บริษทั ก่อสร้าง
บริษทั เครือ่ ง
สาอาง
บริษทั โทรศัพท์
บริษทั วิทยุ-โทร
ทัศน์
บริษทั ทีป่ รึกษา
อุตสาหะ
ต่า
เร็ว
บริษทั อสังหาริมทรัพย์
บริษทั คอมพิวเตอร์
บริษทั จาหน่ายรถ
ร้านอาหารจานด่วน
เดิมพันด้วยองค์การ กระบวนการ
สูง
ต่า
ช้า
ช้า
บริษทั น้ามันยานอวกาศ - ธนาคาร
บริษทั อุตสาหกรรมด้าน - บริษทั ประกัน
การเงิน
รถ
บริษทั ออกแบบก่อสร้าง - องค์การเภสัช
- สาธารณูปโภค
- หน่วยงานราช
การ
องค์ การของข้ าพเจ้ า
เป็ นหน่ วยงานทางราชการสถานศึกษาของรัฐ มีลักษณะ
วัฒนธรรมตามแนวคิดของดีลและเคเนดี ้ คือ:ความเสี่ยง
ต่า
ข้ อมูลย้ อนกลับ
ช้ า
ข้ อ 3
ริชาร์ ด สก๊ อตต์ (Richard W. Scott) ได้ แบ่ งแนวคิดเรื่อง
องค์ การเป็ น 3 สานัก คือ :- สานักเหตุผลนิยม (Rational Systems)
สานักธรรมชาตินิยม (Natural Systems) และสานักระบบเปิ ด
(Open Systems) แต่ ละสานักมีความคิดเรื่ององค์ การอย่ างไร
และแนวคิดดังกล่ าวมีผลในการประยุกต์ ในเรื่ องการปฏิรูประบบ
ราชการอย่ างไร
ตอบ จากองค์ ความรู้ ท่ ขี ้ าพเจ้ าได้ เรี ยนมาในรายวิชา รศ.610
“องค์ การสมัยใหม่ ” จาก ดร.ทิพวรรณ หล่ อสุวรรณรัตน์
โดยอธิบายว่ า :- ริชาร์ ด สก๊ อต (Richard W. Scott)
ได้ แบ่ งแนวคิดเรื่ององค์ การ เป็ น 3 สานัก คือ:-
1. สานักเหตุผลนิยม (Rational Systems)
ได้ ให้ ความหมายของคาว่ า องค์ การ คือ การรวมกลุ่มคนเพื่อ
ให้ บรรลุวัตถุประสงค์ เฉพาะที่กาหนดไว้ โดยมีโครงสร้ างทางสังคม
ที่มีความเป็ นทางการค่ อนข้ างสูง
ลักษณะองค์ การตามแนวคิดสานักเหตุผลนิยม
1. มีกลุ่มคนตัง้ แต่ 2 คน ขึน้ ไป
2. มีขอบเขตชัดเจน
3. มีวัตถุประสงค์ ชัดเจน เขียนเป็ นลายลักษณ์ อักษร
4. มีการจัดแบ่ งอานาจหน้ าที่ สายบังคับบัญชาชัดเจน
5. มีกฎระเบียบ
6. สื่อสารกันเป็ นทางการไม่ เน้ นคน เช่ น ส่ วนราชการ
รัฐวิสาหกิจ ฯลฯ
2. สานักธรรมชาตินิยม (Natural Systems)
องค์ การ คือ กลุ่มซึ่งมีผ้ ูมีความสนใจร่ วมกันในการอยู่รอด
ในสังคมและมีพันธะในการทากิจกรรมร่ วมกันโดยใช้ โครงสร้ าง
ที่ไม่ เป็ นทางการ
ลักษณะองค์ การธรรมชาตินิยม
- กลุ่มมีความสนใจการอยู่รอดในสังคม
- มีพันธะในการทากิจกรรมร่ วมกัน
- ใช้ โครงสร้ างที่ไม่ เป็ นทางการ
- ให้ ความสาคัญกับคณะ/คน
- เกิดขึน้ โดยธรรมชาติ
เช่ น :- ครอบครัว ชุมชน NGO ปอเต็กตึง้ มูลนิธิต่างๆ
3. สานักระบบเปิ ด (Open Systems)
องค์ การ คือ :- ระบบกิจกรรมที่สัมพันธ์ กัน (ไม่ เกี่ยวกับคน)
- โดยมีสมาชิกที่มีลักษณะแตกต่ างกัน
- โดยระบบนีข้ นึ ้ อยู่กับการแลกเปลี่ยนกับสื่อ
ต่ างๆ
- ภายใต้ ส่ งิ แวดล้ อมขององค์ การนัน้
ลักษณะองค์ การระบบเปิ ด
- ระบบประกอบด้ วย Input – Process – Output เช่ น :- A.T.M.
โค้ กกระป๋อง + เวบไซต์ + รถไฟฟ้า
- ระบบที่มีลาดับขัน้
1. ระบบใหญ่ (Supro System)
ระบบเศรษฐกิจไทย
2. ระบบ (System)
ภาคอุตสาหกรรม
3. ระบบย่ อย (Supsystem)
อุตสาหกรรมเหล็ก/สิ่งท
- สามารถดารงรักษาตนเอง
- ไม่ มีขอบเขตจากัด
- ระบบทางานโดยอัตโนมัติ
- มีความสัมพันธ์ กับสิ่งแวดล้ อม
การแบ่ งแนวคิดดังกล่ าวมีผลในการประยุกต์ ในเรื่องการ
ปฏิรูประบบราชการอย่ างไร?
ระบบราชการ = สานักเหตุผลนิยม (Rational Systems)
เดิมระบบราชการจะมีลักษณะเป็ นสานักเหตุผลนิยม คือ:- มีกลุ่มคน – มีขอบเขตชัดเจน
- มีวัตถุประสงค์ ชัดเจน เขียนไว้ เป็ นลายลักษณ์
อักษรและเฉพาะเจาะจง
- มีการแบ่ งอานาจหน้ าที่และสายบังคับบัญชาชัดเจน
- มีกฎระเบียบและการสื่อสารเป็ นทางการ
จากการแบ่ งแนวคิดดังกล่ าวของ สก๊ อตต์ มีผลในเรื่องการ
ปฏิรูประบบราชการโดยประยุกต์ แนวคิด สานักธรรมชาตินิยมและ
สานักระบบเปิ ดมาใช้ ในการปฏิรูประบบราชการ ดังนี:้ 1. เรื่องระบบ
2. เรื่อง คน
3. เรื่อง สิ่งแวดล้ อม
ฯลฯ
ข้ อ 4
ให้ ใช้ แนวคิดเรื่องวัฒนธรรมข้ าม (Cross Culture) อธิบายปั ญหา
ที่เกิดขึน้ ระหว่ าง นางระเบียบรัตน์ พงษ์ พานิช สว.ขอนแก่ นกับ
ประชาชนทางภาคเหนือ เรื่ อง การแก้ กฎห้ ามผู้หญิงเข้ าถึงองค์
พระธาตุดอยสุเทพ ท่ านคิดว่ าควรมีกลยุทธ์ ด้านวัฒนธรรม
องค์ การในการแก้ ปัญหาเรื่องนีอ้ ย่ างไร
ตอบ ตามองค์ ความรู้ ท่ ขี ้ าพเจ้ าได้ เรี ยนมาในรายวิชา รศ.610
“องค์ การสมัยใหม่ ” จาก ดร.ทิพวรรณ หล่ อสุวรรณรัตน์
ได้ อธิบายว่ า
วัฒนธรรมข้ าม (Cross Culture) คือ :- การศึกษาเปรียบเทียบ
ทัศนคติและพฤติกรรมของบุคคลในประเทศต่ างๆ หรือการศึกษา
เปรี ยบเทียบลักษณะขององค์ การแต่ ละประเทศว่ ามีลักษณะเหมือน
และแตกต่ างกันอย่ างไร
ในเรื่องของวัฒนธรรมข้ าม (Cross Culture) มีนักวิชาการที่
ได้ แสดงแนวคิดไว้ หลายท่ าน แต่ ในที่นีจ้ ะยกแนวคิดของ
แนนซี แอดเลอร์ ที่ได้ เสนอ แนวทางจัดการกับความ แตกต่ าง
ทางวัฒนธรรม 3 แนวทาง
1. แนวทางที่ไม่ ใส่ ใจต่ อวัฒนธรรม (Parochial) คือ :- ไม่ เห็น
ความสาคัญของความแตกต่ างของวัฒนธรรมและไม่ สนใจว่ า
จะมีผลกระทบต่ อองค์ การอย่ างไร ผู้บริหารจึงคิดว่ าสิ่งที่ตน
คิดเป็ นวิธีเดียวที่อยู่ในโลกนีเ้ ท่ านัน้
2. แนวทางที่คดิ ว่ ากลุ่มของตนดีเลิศกว่ ากลุ่มอื่น (Ethnocentrie)
คือ :- ความ แตกต่ างทางวัฒนธรรมก่ อให้ เกิดปั ญหาต้ องกาจัด
หรือลดความแตกต่ าง โดยใช้ แนวคิดตนเป็ นบรรทัดฐานโดย
เชื่อว่ าแนวปฏิบัตขิ องตนดีกว่ าของกลุ่มอื่นทัง้ หมด
3. การแสวงหาทางเลือกที่ดีกว่ า (Synergistie) คือ :- ความ
แตกต่ างทางวัฒนธรรมมีทงั ้ ข้ อดีและข้ อจากัด และไม่ มีความ
แตกต่ างใดดีกว่ ากลุ่มอื่น จึงต้ องผสมผสานวัฒนธรรมใหม่
การแสวงหาทางเลือกที่ดีกว่ า มี 3 ขัน้ ตอน คือ
บรรยายสถานการณ์
(Situation Description)
ทาความเข้ าใจปั ญหา
จากมุมมองของแต่ ละวัฒนธรรม
(Interpretation)
เลือกกลยุทธ์ ในการแก้ ปัญหา
(Strategic Options)
1. การบรรยายสถานการณ์ :- เป็ นการอธิบายถึงสถานการณ์
ของความขัดแย้ งทางวัฒนธรรมที่เกิดขึน้
2. ทาความเข้ าใจปั ญหาจากมุมมองของแต่ ละวัฒนธรรม :เป็ นการหาคาตอบว่ าทาไมคนต่ างวัฒนธรรมจึงคิดรู้ สึกและ
มีพฤติกรรมที่เหมือนและแตกต่ างกัน โดยใช้ มุมมองของคน
ในวัฒนธรรมนัน้ ๆ
3. การเลือกกลยุทธ์ ในการแก้ ปัญหา :- องค์ การมีทางเลือก
หลายทางในการแก้ ปัญหา โดย แนนซีแอดเลอร์ ได้ เสนอ
ไว้ 5 กลยุทธ์ ดังนี ้
กลยุทธ์ เรื่ องการจัดการวัฒนธรรมองค์ การ
วัฒนธรรมเรา
วัฒนธรรมตนเองเป็ นหลัก
(Cultural Dominance)
หาทางออกวัฒนธรรมใหม่
(Cultural Synergy)
ประนีประนอมทางวัฒนธรรม
(Cultural Compromise)
หลีกเลี่ยงวัฒนธรรม
(Cultural Avoidance)
ทาตามวัฒนธรรมผู้อ่ ืน
(Cultural Accommodation)
วัฒนธรรมคนอื่น
1. ใช้ วัฒนธรรมตนเองเป็ นหลัก (Cultural Dominance)
คือ :- การปฏิบัตเิ หมือนกับวัฒนธรรมเดิมของตนเอง ใช้ กรณีสมาชิก
องค์ การมีอานาจเหนือกว่ าพันธมิตร
2. ทาตามวัฒนธรรมผู้อ่ ืน (Cultural Accommodation)
คือ :- การเลียนแบบหรื อปฏิบัตติ ามวัฒนธรรมขององค์ การที่ตนอาศัยอยู่
3. การประนีประนอมทางวัฒนธรรม (Cultural Compromise)
คือ :- ผสมผสานแนวทางที่ 1 และแนวทางที่ 2 โดยการ ปรั บตัวเข้ าหากัน
4. การหลีกเลี่ยงวัฒนธรรม (Cultural Avoidance)
คือ :- ไม่ สนใจความแตกต่ างทางวัฒนธรรม ใช้ ในกรณีไม่ มีความ
แตกต่ างหรื อความขัดแย้ งทางวัฒนธรรม
5. การหาทางออกวัฒนธรรมใหม่ (Cultural Synergy)
คือ :- การพัฒนา หรื อสร้ างวัฒนธรรมใหม่ เพื่อแก้ ปัญหาความขัดแย้ ง
จากองค์ ความรู้ ดงั กล่ าว ข้ าพเจ้ าจึงขอใช้ แนวคิดของ
แนนซี แอดเลอร์ อธิบายปั ญหาระหว่ างนางระเบียบรัตน์ พงษ์ พานิช
กับประชาชนชาวเหนือ และเลือกกลยุทธ์ การแก้ ปัญหาดังนี ้
1. บรรยายสถานการณ์
2. ทาความเข้ าใจปั ญหา
3. เลือกกลยุทธ์ ในการแก้ ปัญหา
ข้ อ 5
การคิดตามกลุ่ม (Groupthink) มีผลต่ อการตัดสินใจอย่ างไร
จงอธิบาย มีแนวทางใดที่จะป้องกันปั ญหาการคิดตามกลุ่มได้
ตอบ จากองค์ ความรู้ ท่ ขี ้ าพเจ้ าได้ เรี ยนมาในรายวิชา รศ.610
“องค์ การสมัยใหม่ ” จาก ดร.ทิพวรรณ หล่ อสุวรรณรัตน์
ได้ อธิบายว่ า
การคิดตามกลุ่ม (Groupthink) และผลต่ อการตัดสินใจขององค์ การ
Irving Janis ได้ ให้ ความหมายของการคิดตามกลุ่มไว้ ว่า
การคิดตามกลุ่ม คือ วิธีการคิดซึ่งเกิดขึน้ เมื่อคนอยู่ในกลุ่มที่มี
ความสัมพันธ์ อย่ างเหนียวแน่ นและเมื่อสมาชิกในกลุ่มต้ องการแสวง
หามติเอกฉันท์ ในการกระทาอย่ างใดอย่ างหนึ่งมากกว่ าการประเมิน
ทางเลือกในการดาเนินการบนพืน้ ฐานตามสภาพความจริง
โมเดลของการคิดตามกลุ่ม (Groupthink)
เงื่อนไข
(Antecedent
Conditions)
1. ความเป็ นอัน
หนึ่งอันเดียว
กันของกลุ่ม
2. การสร้ าง
เกราะ
คุ้มกันกลุ่ม
3. ขาดกระบวน
การแสวงหา
ข้ อมูลและ
ประเมินข้ อมูล
4. ผู้นาเผด็จการ
5. ความตึง
เครียด
แนวโน้ มการ
แสวงหาข้ อ
ตกลง
(Concurence
Seeking
Tendency)
อาการของการคิดตามกลุ่ม
(Groupthink)
1. ภาพลวงตาของความ
ปลอดภัย
2. การสร้ างเหตุผลของกลุ่ม
3. ความเชื่อด้ านศีลธรรมของ
กลุ่ม
4. ความเชื่อว่ าภายนอกมี
ลักษณะ
ชั่วร้ ายโง่ เขลาและอ่ อนแอ
5. แรงกดดันโดยตรงต่ อผู้
คัดค้ าน
6. การห้ ามแสวงความเห็นที่
แตก
ต่ างจากกลุ่ม
7. ภาพลวงตาของความเป็ น
อาการของการ
ตัดสินใจที่ไร้
ประสิทธิภาพ
1. การพิจารณาทาง
เลือกไม่ รอบคอบ
2. ความล้ มเหลวใน
การประเมินความ
เสี่ยงที่จะเกิดขึน้
3. การแสวงหา
ข้ อมูล
ข่ าวสารที่มีประ
สิทธิภาพ
4. อคติในการ
ประมวลข้ อมูล
5. ความล้ มเหลว
ในการวางแผน
สามารถอธิบายได้ ดังนี ้
Janis และ Mann ได้ เสนอโมเดลของการคิดตามกลุ่ม
ตามแสดงในภาพข้ างบนโดยเสนอว่ า “การคิดตามกลุ่ม” จะเกิดขึน้
เมื่อมีเงื่อนไขที่เกิดขึน้ ก่ อน
เงื่อนไขของการคิดตามกลุ่ม (Antecedent Condition)
เงื่อนไขต่ อไปนีจ้ ะทาให้ สมาชิกของกลุ่มมีโอกาสในการพัฒนาไปสู่
“การคิดตามกลุ่ม” ได้ โดยง่ าย คือ
1. ความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันของกลุ่ม (Cohesiveness)
เงื่อนไขที่สาคัญที่สุดของ “การคิดตามกลุ่ม” คือ กลุ่มคน
ที่มีความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันสูงและมีความผูกพันกัน
แน่ นแฟ้น
2. การสร้ างเกราะคุ้มกันภัยของกลุ่ม (Insulation of the Group)
คือ การปกป้องกลุ่มจากการเสียดทานจากภายนอก เพื่อทา
ให้ กลุ่มรู้ สกึ ปลอดภัยจากภัยคุกคามต่ างๆ จากภายนอก
3. กระบวนการแสวงหาข้ อมูลและประเมินข้ อมูล กลุ่มไม่ มี
กระบวนการแสวงหาข้ อมูลมาวิเคราะห์ อย่ างมีประสิทธิภาพ
4. ผู้นาเผด็จการ (Directive Leadership) หากกลุ่มมีผ้ ูนาเป็ น
เผด็จการ ซึ่งประกาศจุดยืนในด้ านนโยบายแน่ ชัดแล้ ว สมาชิก
กลุ่มซึ่งมีความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน ก็มีแนวโน้ มที่จะ
ยอมรั บทางเลือกผู้นา
5. ความตึงเครี ยดสูง (High Stress) เมื่อสถานการณ์ มีความ
ตึงเครี ยดสูง ทางเลือกที่ผ้ ูนาเสนอหรื อบุคคลที่มีอทิ ธิพลใน
กลุ่มนาเสนอ มีแนวโน้ มที่ได้ รับการยอมรั บจากกลุ่มสูง
อาการของการคิดตามกลุ่ม
1. ภาพลวงตาของความปลอดภัย:- อาการ “คิดตามกลุ่ม”
ที่สาคัญ คือ การหลงเข้ าใจผิดคิดว่ ากลุ่มของตนมีหลักประกัน
ของความปลอดภัยจากภัยอันตรายหรือความเสี่ยงต่ างๆ จึงทา
ให้ มองกลุ่มตนเองในด้ านดีเกินไป
2. การสร้ างเหตุผลของกลุ่ม:- กลุ่มจะสร้ างความเป็ นเหตุเป็ นผล
ซึ่งจะใช้ เป็ นบรรทัดฐานของกลุ่มตนเอง เพื่อที่จะลดความกดดัน
จากสัญญาณเตือนภัยที่มีลักษณะเป็ นผลลบต่ อกลุ่มของตน
3. ความเชื่อด้ านศีลธรรมของกลุ่ม:- ความเชื่ออย่ างสนิทใจว่ า
กลุ่มของตนมีศีลธรรมและจริยธรรมที่ดี ดังนัน้ จึงละเลยผล
การกระทาของกลุ่มตนว่ าเหมาะสมถูกต้ องหรื อไม่ แม้ จะมีลักษณะ
ทาลายล้ างต่ อบุคคลอื่นก็ได้ รับการยอมรับว่ าเป็ นสิ่งน่ ากระทา
4. ความเชื่อว่ ากลุ่มภายนอกมีลักษณะชั่วร้ าย โง่ เขลาและ
อ่ อนแอ:- ความเชื่อว่ าพวกตรงข้ ามชั่วร้ าย โง่ เขลาและ
อ่ อนแอกว่ าพวกตนสมควรจะต้ องถูกจากัดออกไป และ
กลุ่มของตนทาหน้ าที่ผ้ ูพทิ กั ษ์ ความดี
5. แรงกดดันโดยตรงต่ อผู้คัดค้ านความเห็นของกลุ่ม:ผู้ท่ มี ีความเห็นแตกต่ างจากกลุ่มจะถูกแรงกดดันจากกลุ่ม
ให้ เปลี่ยนความเห็นให้ สอดคล้ องกับกลุ่มโดย ข้ ออ้ างความ
จงรักภักดี
6. การห้ ามแสดงความเห็นที่แตกต่ างจากกลุ่ม:- ความเห็นที่
แตกต่ างจากกลุ่ม จะถูกห้ ามไม่ ให้ แสดงออกมาหรื อไม่ ให้
นาเสนอหรือนามาพิจารณา
7. ภาพลวงตาของความเป็ นเอกภาพของกลุ่ม:- ความเข้ าใจ
ว่ ากลุ่มของตนเองมีความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันและยาก
ที่ผ้ ูใดจะทาลายได้ ทาให้ มองโลกในแง่ ดีเหมาะสมเข้ าใจว่ า
ผู้ท่ ไี ม่ แสดงความคิดเห็น เป็ นผู้เห็นด้ วยและยินดีปฏิบตั ติ าม
8. การปกป้องกลุ่มตนเอง:- สมาชิกของกลุ่ม จะปกป้องกลุ่ม
จากข่ าวสารหรือการวิพากษ์ วจิ ารณ์ ท่ มี ีผลลบต่ อกลุ่มไม่ ว่า
ข่ าวสารหรื อการวิพากษ์ วจิ ารณ์ นัน้ จะมีความถูกต้ องหรื อ
ไม่ เพียงไร
ผลต่ อการตัดสินใจ
อาการ ”คิดตามกลุ่ม” มีผลทาให้ การตัดสินใจ ด้ อยคุณภาพ
กล่ าวคือ:1. มีการพิจารณาทางเลือกอย่ างไม่ รอบคอบ กล่ าวคือ :- มีการ
จากัดการอภิปรายเฉพาะทางเลือกเพียงไม่ ก่ ที าง โดยไม่ ได้
สารวจทางเลือกอื่นๆ ประกอบในการตัดสินใจด้ วย
2. ความล้ มเหลวในการประเมินความเสี่ยงของทางเลือก
กล่ าวคือ :- สมาชิกใช้ เวลาน้ อยหรือไม่ ได้ ใช้ เวลาในการอภิปราย
ความเสี่ยงทางเลือก ทางเลือกอื่นถูกมองข้ ามไป เนื่องจากการ
ประเมินตนเองสูงเกินไป
3. การค้ นหาข้ อมูลอย่ างไม่ มีประสิทธิภาพ:- มีความพยายามน้ อย
มากในการหาข้ อมูลและสารสนเทศ เพื่อช่ วยในการประเมินผล
4. อคติในการประมวลข้ อมูล:- สมาชิกแสดงความสนใจกับ
ความเห็นหรือข้ อเท็จจริงซึ่งสนับสนุนนโยบายที่เลือกไว้ แล้ ว
จึงละเลยข้ อเท็จจริง
5. ความล้ มเหลวในการวางแผน:- สมาชิกใช้ เวลาน้ อยมาก
ในการที่จะประเมินว่ านโยบายที่กลุ่มตนได้ กาหนดไว้ อาจ
มีปัญหาที่ไม่ คาดคิดเกิดขึน้ จึงขาดการวางแผนฉุกเฉินที่
จะเตรียมรับกับเหตุการณ์
การป้องกันปั ญหาการคิดตามกลุ่ม
1. บทบาทผู้นา
เพื่อป้องกันการคิดตามกลุ่ม ผู้นาควรมีบทบาทและมีทกั ษะ
ในการพิจารณาปั ญหาดังนี ้
1.1 นาเสนอปั ญหาเป็ นรู ปธรรมชัดเจน ไม่ ชีน้ าทางแก้ ปัญหา
1.2 ให้ ข้อมูลหรื อข้ อเท็จจริงที่จาเป็ น
1.3 ส่ งเสริม/กระตุ้นให้ สมาชิกทุกคนแสดงความคิดเห็น
1.4 ตัง้ คาถามที่ช่วยในการวิเคราะห์ อภิปราย
1.5 สรุ ปและทาความเข้ าใจประเด็นต่ างๆ
2. การส่ งเสริมความเห็นที่ขัดแย้ ง
2.1 ความขัดแย้ งทางความคิดที่สร้ างสรรค์ จะเป็ นสิ่งหนึ่ง
ที่ช่วยป้องกันปั ญหา”การคิดตามกลุ่ม” ได้
2.2 กระตุ้นความขัดแย้ งโดยการมอบหมายให้ สมาชิกกลุ่ม
คนใดคนหนึ่งมีบทบาทคัดค้ านและท้ าทายจุดอ่ อนของ
แผนหรือนโยบายที่กลุ่มเสนอ
3. บทบาทของผู้เชี่ยวชาญ
ผู้นาควรเชิญผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกเข้ ามาในกลุ่มเป็ น
ระยะๆ เพื่อช่ วยทาให้ กลุ่มได้ มุมมองปั ญหาที่แตกต่ างจาก
กลุ่มออกไปและช่ วยให้ การพิจารณาเป็ นไปโดยรอบคอบ
4. กระบวนการตัดสินใจที่โปร่ งใส
องค์ การควรสร้ างกระบวนการตัดสินใจขึน้ ภายในองค์ การ
แล้ วให้ รับรู้ กันโดย ทั่วไป เพื่อจะได้ มีช่องทางในการสื่อสาร
ข้ อมูลหรื อป้อนข้ อมูลย้ อนกลับจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้ องเพื่อ
นาเสนอต่ อกลุ่มผู้ตดั สินใจ เช่ น การตัง้ คณะอนุกรรมการหรื อ
คณะทางานย่ อย
5. การระดมความคิดเห็น
ประยุกต์ วธิ ีการระดมความคิดเห็นในรู ปแบบเก่ า มาใช้ การ
ระดมสมองอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้ คอมพิวเตอร์ เข้ ามาช่ วยในการ
ระดมสมองเพื่อช่ วยปรับปรุ งประสิทธิภาพการตัดสินใจ โดย
เฉพาะการตัดสินใจปั ญหาที่มีความเสี่ยงสูง
สรุ ป “การคิดตามกลุ่ม” เป็ นวิธีคดิ ของกลุ่มซึ่งเกิดขึน้ เมื่อมีแรง
กดดันให้ มีการปฏิบัตติ ามมติ เอกฉันท์ โดยปราศจากการวิเคราะห์
ประเด็นข้ อมูลอย่ างแท้ จริง เป็ นผลทาให้ “การตัดสินใจขององค์ การ
ขาดคุณภาพและเกิดผลเสียหายได้ ”
การป้องกันปั ญหา “การคิดตามกลุ่ม” มีหลายวิธีตงั ้ แต่
พิจารณาบทบาทผู้นา การส่ งเสริมความเห็นที่ขัดแย้ ง การมีส่วน
ร่ วมของผู้เชี่ยวชาญ การระดมความคิดเห็น ตลอดจนการสร้ าง
กระบวนการตัดสินในที่โปร่ งใส ซึ่งวิธีการเหล่ านีส้ ามารถนาไป
ประยุกต์ ใช้ ตามความเหมาะสมกับสภาพขององค์ การก็จะทาให้
ป้องกันปั ญหา “การคิดตามกลุ่ม” ได้ และเสริมสร้ างคุณภาพการ
ตัดสินใจขององค์ การให้ ดีย่งิ ขึน้