การประกันคุณภาพภายใน เพือ่ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. 2554-2558) ดวงปาน สวงรัมย์ ศึกษานิเทศก์ ชานาญการพิเศษ สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2

Download Report

Transcript การประกันคุณภาพภายใน เพือ่ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. 2554-2558) ดวงปาน สวงรัมย์ ศึกษานิเทศก์ ชานาญการพิเศษ สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2

การประกันคุณภาพภายใน
เพือ่ การประเมินคุณภาพภายนอก
รอบสาม (พ.ศ. 2554-2558)
ดวงปาน สวงรัมย์
ศึกษานิเทศก์ ชานาญการพิเศษ
สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2
ความเชื่อมโยงระหว่ างการประกันคุณภาพกายใน
กับการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. 2554 – 2558)
พระราชบัญญัติการศึกษา (เป้ าหมาย ม.6 ม.24 ม.39 ม.48)
การประกันคุณภาพภายใน (กฎกระทรวงศึกษา ฯ)
การประเมินคุณภาพภายใน (กฎกระทรวงศึกษา ฯ)
การประเมินคุณภาพภายนอก
กฎกระทรวงว่ าด้ วย ระบบ หลักเกณฑ์
และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓
ให้ ไว้ ณ วันที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ๒ เมษายน ๒๕๕๓
หมวด ๑ บททัว่ ไป
๑ การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
๒ การอาชีวศึกษา
๓ การอุดมศึกษา
๓
หมวด ๒ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
หมวด
หมวด ๓ การประกันคุณภาพภายนอก
กฎกระทรวงศึกษาธิการว่ าด้ วยระบบ หลักเกณฑ์ และ
วิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๔๕๓
ข้อ ๑๔ ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในตามหลักเกณฑ์
และแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการ
ดาเนินการ ดังนี้
๑. กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๒. จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๓. จัดระบบบริ หารและสารสนเทศ
๔. ดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
๕. จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
๖. จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๗. จัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานประเมินคุณภาพภายใน
๘. จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
ข้ อ ๑๕ การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาตาม
ข้ อ ๑๔(๑) ต้ องสอดคล้ องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ
เอกลักษณ์ ของสถานศึกษา และมาตรฐานการศึกษา
ขั้นพืน้ ฐานตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด
และต้ องครอบคลุมสาระการเรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้
รวมทั้ง คานึงถึงศักยภาพของผู้เรียน
ชุมชนและท้ องถิน่ ด้ วย
ข้อ ๑๖ การจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ตามข้อ ๑๔(๒) ให้ดาเนินการ ดังนี้
๑ ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการจาเป็ นของสถานศึกษา
อย่างเป็ นระบบ
๒ กาหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ เป้ าหมายและความสาเร็ จของ
การพัฒนาไว้อย่างชัดเจนและเป็ นรู ปธรรม
๓ กาหนดวิธีดาเนินงานที่มีหลักวิชา ผลงานวิจยั หรื อข้อมูล
เชิงประจักษ์ที่อา้ งอิงได้ให้ครอบคลุมการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษาด้านการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ การวัดและประเมินผล
การพัฒนาคุณภาพและการบริ หารจัดการเพื่อนาไปสู่ มาตรฐานการศึกษา
ที่กาหนดไว้
๔ กาหนดแหล่งวิทยากรภายนอกที่ให้การสนับสนุนทางวิชาการ
๕ กาหนดบทบาทหน้าที่ให้บุคลากรของสถานศึกษา และผูเ้ รี ยน
รับผิดชอบและดาเนินงานตามที่กาหนดไว้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
๖ กาหนดบทบาทหน้าที่และแนวทางการมีส่วนร่ วมของบิดา
มารดา ผูป้ กครองและองค์กรชุมชน
๗ กาหนดการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
๘ จัดทาแผนปฏิบตั ิการประจาปี
ข้อ ๑๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดให้มี
การติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปี
และแจ้งผลให้สถานศึกษาทราบ รวมทั้งเปิ ดเผยต่อสาธารณชน
ข้อ ๔๐ ในกรณี ที่ผลการประเมินคุณภาพภายนอก แสดงว่า ผลการจัด
การศึกษาของสถานศึกษาได้ไม่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน ให้สานักงาน
แจ้งเป็ นหนังสื อพร้อมแสดงเหตุผลที่ไม่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐานแก่หน่วยงาน
ต้นสังกัดและสถานศึกษานั้น และให้สถานศึกษานั้นปรับปรุ งแก้ไข
โดยจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพและดาเนินการตามแผน เพื่อขอรับการ
ประเมินใหม่ภายในสองปี นับตั้งแต่วนั ที่ได้รับการแจ้งผลการประเมิน
ครั้งแรก
ให้สถานศึกษาเสนอแผนพัฒนาคุณภาพต่อสานักงานเพื่อพิจารณา
อนุมตั ิภายในสามสิ บวันนับตั้งแต่วนั ที่ได้รับแจ้งผลการประเมิน
ตามวรรคหนึ่ง
การประกันคุณภาพภายนอก (หมวด ๓)
ข้อ ๓๘ ในการประกันคุณภาพภายนอก ให้สานักงานทาการประเมิน
คุณภาพภายนอกสถานศึกษาแต่ละแห่งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ
ให้ครอบคลุมหลักเกณฑ์ในเรื่ องต่อไปนี้
(๑) มาตรฐานทีว่ ่ าด้ วยผลการจัดการศึกษาในแต่ ละระดับและประเภท
การศึกษา (ตบช. ๑ , ๒, ๓, ๔, ๕, ๙, ๑๐, ๑๑)
(๒) มาตรฐานทีว่ ่ าด้ วยการบริหารจัดการศึกษา (ตบช. ๗, ๑๒)
(๓) มาตรฐานทีว่ ่ าด้ วยการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ น
สาคัญ (๖)
(๔) มาตรฐานทีว่ ่ าด้ วยการประกันคุณภาพภายใน (๘)
การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘)
ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ค่ านา้ หนัก ๘๐ คะแนน)
๑. ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีด่ ี (๑๐)
๒. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่ านิยมทีพ่ งึ ประสงค์ (๑๐)
๓. ผู้เรียนมีความใฝ่ รู้ และเรียนรู้ อย่ างต่ อเนื่อง (๑๐)
๔. ผู้เรียนคิดเป็ น ทาเป็ น (๑๐)
๕. ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน (๒๐)
การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. 2554 – 2558)
ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ค่ านา้ หนัก ๘๐ คะแนน)
๖. ประสิ ทธิผลของการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ น
สาคัญ (๑๐)
๗. ประสิ ทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา
สถานศึกษา (๕)
๘. พัฒนาการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษา
และต้ นสั งกัด (๕)
การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. 2554 – 2558)
ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ตัวบ่ งชี้อตั ลักษณ์ (ค่ านา้ หนัก ๑๐ คะแนน)
๙. ผลการพัฒนาให้ บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และ
วัตถุประสงค์ ของการจัดตั้งสถานศึกษา (๕)
๑๐. ผลการพัฒนาตามจุดเน้ นและจุดเด่ นทีส่ ่ งผลสะท้ อน
เป็ นเอกลักษณ์ ของสถานศึกษา (๕)
การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. 2554 – 2558)
ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม
๑๑. ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพือ่ ส่ งเสริมบทบาทของ
สถานศึกษา
๑๒. ผลการส่ งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพือ่ ยกระดับมาตรฐาน
รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ ความเป็ นเลิศเพือ่ ให้ สอดคล้ องกับ
แนวทางการปฏิรูปการศึกษา
ตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน ?
: ตัวบ่ งชี้ทปี่ ระเมินภายใต้ ภารกิจของสถานศึกษา โดยกาหนด
ตัวบ่ งชี้และเกณฑ์ การประเมินบนพืน้ ฐานทีท่ ุกสถานศึกษาต้ องมี
และปฏิบัติได้ ซึ่งสามารถชี้ผลลัพธ์ และผลกระทบได้ ดี และมี
ความเชื่อมโยงกับการประกันคุณภาพภายในซึ่งเป็ นการพัฒนา
มาจากรอบแรกและรอบสอง ประกอบด้ วย ๘ ตัวบ่ งชี้
(ค่ านา้ หนักคะแนน ๘๐ คะแนน)
กลุ่มตัวบ่ งชี้อตั ลักษณ์ ?
หมายถึง ตัวบ่ งชี้ทปี่ ระเมินผลผลิตตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ
และวัตถุประสงค์ ของการจัดตั้งสถานศึกษา รวมทั้งความสาเร็จ
ตามจุดเน้ น และจุดเด่ นทีส่ ่ งผลสะท้ อน เป็ นเอกลักษณ์ ของแต่ ละ
สถานศึกษา โดยได้ รับความเห็นชอบของคณะกรรมการสถาน
ศึกษา และหน่ วยงานต้ นสั งกัด ประกอบด้ วย ๒ ตัวบ่ งชี้
(ค่ านา้ หนักคะแนน ๑๐ คะแนน)
ตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม ?
หมายถึง ตัวบ่ งชี้ทมี่ ่ ุงประเมินผลการดาเนินงานของสถานศึกษา โดยสถานศึกษา
เป็ นผู้กาหนดแนวทางการพัฒนาเพือ่ ร่ วมกัน ชี้แนะ ป้องกัน และแก้ไขปัญหาสั งคม
ตามนโยบายของรัฐ ซึ่งสามารถปรับเปลีย่ นตามกาลเวลา และปัญหาสั งคมทีเ่ ปลีย่ นไป
โดยมีเป้ าหมายทีแ่ สดงถึงความเป็ นผู้ช่วยเหลือสั งคมและแก้ ปัญหาสั งคมของ
สถานศึกษา เช่ น การปฏิรูปการศึกษา การส่ งเสริมและสื บสานโครงการตาม
พระราชดาริ และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การส่ งเสริมประชาธิปไตย
ในสถานศึกษาการป้องกันสิ่ งเสพติด การพร้ อมรับการเป็ นสมาชิก
สั งคมอาเซียน การอนุรักษ์ พลังงาน การอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อม การป้ องกันอุบัติภัย
การแก้ ปัญหาความขัดแย้ ง การสร้ างสั งคมสั นติสุข และความปรองดอง ฯลฯ
โดยสถานศึกษาเป็ นผู้กาหนดและหน่ วยงานต้ นสั งกัดให้ การรับรองการกาหนด
ตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริมของสถานศึกษา
(ค่ านา้ หนักคะแนน ๑๐ คะแนน)
การรับรองมาตรฐานคุณภาพ
2 แนวทาง
การรับรองมาตรฐานระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
การประเมินแบบโดดเด่ น
การรับรองมาตรฐานระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
๑. ให้ คะแนนรายตัวบ่ งชี้
๒. คานวณผลการประเมิน
๓. ตัดสิ นผลการประเมินคุณภาพภายนอก
ช่ วงคะแนน
ระดับคุณภาพ
๔.๕๑ – ๕.๐๐
ดีมาก
๓.๕๑ – ๔.๕๐
ดี
๒.๕๑ – ๓.๕๐
พอใช้
๑.๕๑ – ๒.๕๐
ควรปรับปรุ ง
๐.๐๐ – ๑.๕๐
ต้องปรับปรุ ง
การรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
๑. การรับรองมาตรฐานระดับตัวบ่ งชี้
๑) มีคะแนนเฉลีย่ รวมตัวบ่ งชี้พนื้ ฐานตั้งแต่ ๔.๐๐ คะแนนขึน้ ไป
๒) มีตัวบ่ งชี้ย่อยอย่ างน้ อย ๒๐ ตัวบ่ งชี้ ต้ องมีคะแนนแต่ ละตัวบ่ งชี้
ตั้งแต่ ๓.๗๕ คะแนนขึน้ ไป
๓) ไม่ มีตัวบ่ งชี้ใดมีคะแนนต่ากว่ า ๒.๕๑ คะแนน
๒. การรับรองมาตรฐานในภาพรวม
๑) สถานศึกษามีค่าเฉลีย่ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกในระดับสถานศึกษา
ตั้งแต่ ๔.๐๐ คะแนนขึน้ ไป
๒) สถานศึกษามีค่าเฉลีย่ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกในระดับดีขนึ้ ไป
(ตั้งแต่ ๓.๗๕ คะแนนขึน้ ไป) ไม่ ต่ากว่ า ๓ มาตรฐานใน ๔ มาตรฐาน
๓) สถานศึกษาไม่ มมี าตรฐานใดอยู่ในระดับปรับปรุ ง (น้ อยกว่ า ๒.๕๑ คะแนน)
การประเมินแบบโดดเด่ น : ขอรับการประเมินเพิม่ เติม
สถานศึกษาเป็ นผู้ขอรับการประเมิน (เป็ นสถานศึกษาทีม่ ีผล
การประเมินรอบสอง ในภาพรวม ระดับดีมาก)
แนวทางการประเมินของสถานศึกษาแบบโดดเด่ น
ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน คือ แนวทาง “๑ ช่ วย ๙”
(๑ สถานศึกษา ช่ วย ๙ สถานศึกษา)
จานวนของผู้ประเมินภายนอกทีเ่ ข้ าประเมิน
ในแต่ ละสถานศึกษา
ขนาดของสถานศึกษา
จานวนผู้ประเมินภายนอก
สถานศึกษาขนาดเล็ก (นักเรียนน้ อยกว่ า ๓๐๑)
๒ – ๔ คน
สถานศึกษาขนาดกลาง
(นักเรียนตั้งแต่ ๓๐๑ – ๑,๐๐๐ คน)
สถานศึกษาขนาดใหญ่
(นักเรียนตั้งแต่ ๑,๐๐๑ – ๒,๐๐๐ คน)
สถานศึกษาขนาดใหญ่ พเิ ศษ
(นักเรียนตั้งแต่ ๒,๐๐๑ คนขึน้ ไป)
๓ – ๕ คน
๔ – ๖ คน
๕ – ๗ คน
กระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ประกอบด้ วย
๑. การจัดคณะผู้ประเมินภายนอก
๒. การเก็บรวบรวมข้ อมูล
๓. ขั้นตอนการประเมิน
ระยะเวลาในการประเมิน
ระยะเวลาในการประเมิน ๓ วันทาการที่
สถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอน
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
การเก็บรวบรวมข้ อมูลเป็ นขั้นตอนสาคัญสาหรับ
การประเมินภายนอก ทาได้ หลายวิธีแต่ วธิ ีทเี่ หมาะสม
ที่ สมศ. นาเสนอมี 3 วิธีหลัก คือ
๑. การศึกษาจากเอกสาร
๒. การสั มภาษณ์
๓ การสั งเกต
การศึกษาจากเอกสาร
แหล่ งข้ อมูลเอกสาร ได้ แก่ รายงานการประเมินตนเอง รายงาน
ประจาปี ของสถานศึกษา รายงานการประเมินคุณภาพภายใน
รายงานการประชุม รายงานการวิจยั ทีเ่ กีย่ วกับสถานศึกษานั้น ๆ
เอกสารทีร่ ายงานเกีย่ วกับผลสั มฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียน เป็ นต้ น
ทั้งนีอ้ าจรวมถึง ป้ ายกระดาน แผนที่ เทปบันทึกเสี ยง วีดทิ ัศน์
ในการศึกษาเอกสารควรมีการตรวจสอบความน่ าเชื่อถือ
คณะผู้ประเมินภายนอกจะต้ องเก็บรวบรวมข้ อมูลจากแหล่ งเอกสาร
อย่ างระมัดระวังและควรอ่ านอย่ างมีวจิ ารณญาณและอย่ างมีจิต
วิพากษ์ และมีการเปรียบเทียบข้ อมูล
การสั มภาษณ์
เป็ นวิธีการทีผ่ ู้ประเมินภายนอกดาเนินการสอบถามจากบุคคล
ทีเ่ ป็ นกลุ่มเป้าหมาย และบันทึกผลการสั มภาษณ์ บุคคลทีเ่ ป็ นกลุ่ม
เป้าหมาย หมายถึง บุคลากรทางการศึกษา และบุคคลทีเ่ กีย่ วข้ อง
เช่ น ผู้บริหารสถานศึกษา ครู ผู้เรียน กรรมการสถานศึกษา
ผู้ปกครอง เป็ นต้ น
แหล่ งข้ อมูลทีม่ ีจานวนมาก ผู้ประเมินต้ องพิจารณาว่าจะเลือก
รู ปแบบใดเก็บข้ อมูลจากใครจึงจะได้ ข้อมูลทีน่ ่ าเชื่อถือมากทีส่ ุ ด
มีหลายรู ปแบบ เช่ น การสั มภาษณ์ แบบเผชิญหน้ า การสั มภาษณ์
ทางโทรศัพท์ การสั มภาษณ์ แบบหนึ่งต่ อหนึ่ง การสั มภาษณ์ แบบกลุ่ม
การสั มภาษณ์ เชิงลึก เป็ นต้ น
การสั งเกต
เป็ นวิธีเก็บข้ อมูลโดยตรงจากปฏิกริ ิยาทางทางของกลุ่มเป้าหมาย
หรือเหตุการณ์ หรือปรากฏการณ์ หรือสภาพแวดล้ อมทีเ่ กิดขึน้ และจด
บันทึกไว้ โดยไม่ มีการสั มภาษณ์ เช่ น แหล่ งข้ อมูลด้ านกายภาพของ
สถานศึกษา หรืออาจเป็ นการสั งเกตการจัดการเรียนการสอนใน
ห้ องเรียนและนอกห้ องเรียน เป็ นต้ น
แหล่ งข้ อมูลประเภทนีผ้ ้ ูประเมิน ฯ สามารถรวบรวมได้ ใน
ระยะเวลาอันสั้ นในช่ วงการตรวจเยีย่ มสถานศึกษา อาจก่ อนเข้ า
ตรวจเยีย่ ม อาจมีการจัดทาแบบสั งเกตไว้ ล่วงหน้ า จะทาให้ การเก็บ
ข้ อมูลโดยการสั งเกตได้ รวดเร็วและได้ ข้อมูลทีน่ ่ าเชื่อถือ
ขั้นตอนการประเมิน
มี ๓ ขั้นตอน
๑. ก่ อนการตรวจเยีย่ ม
๒ ระหว่ างการตรวจเยีย่ ม
๓. และหลังการตรวจเยีย่ ม
(ร่ าง) มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้ การประกันคุณภาพภายใน
ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ๑๒ มาตรฐาน
มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่ านิยมทีพ่ งึ ประสงค์
มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีสุขภาวะทีด่ ี และมีสุนทรียภาพ
มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้
และพัฒนาตนเองอย่ างต่ อเนื่อง
มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่ างเป็ นระบบ คิดสร้ างสรรค์
ตัดสิ นใจแก้ปัญหาได้ อย่ างมีสติสมเหตุสมผล
มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะทีจ่ าเป็ นตามหลักสู ตร
มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทกั ษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางาน
ร่ วมกับผู้อนื่ ได้ และมีเจตคติทดี่ ีต่ออาชีพสุ จริต
(ต่ อ)
มาตรฐานที่ ๗ สถานศึกษามีการจัดหลักสู ตร และกระบวนการเรียนรู้
ทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
มาตรฐานที่ ๘ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่ าง
หลากหลาย
มาตรฐานที่ ๙ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อม และการบริการทีส่ ่ งเสริม
ให้ ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติเต็มศักยภาพ
มาตรฐานที่ ๑๐ สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
มาตรฐานที่ ๑๑ ผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ปฏิบัติตามบทบาทหน้ าทีอ่ ย่ างมีประสิ ทธิภาพเกิดประสิ ทธิผล
มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการสร้ าง ส่ งเสริม สนับสนุน ให้ สถานศึกษา
เป็ นสั งคมแห่ งการเรียนรู้
มีอกี มากมายในรายละเอียด ต้ องร่ วมกันศึกษา
และปฏิบัตริ ่ วมกันต่ อไป
กลุ่มงานส่ งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
สพป.บุรีรัมย์ เขต ๒