อภิธานศัพท์ การประกันคุณภาพการศึกษา

Download Report

Transcript อภิธานศัพท์ การประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยา ใจวิถี
ศึกษานิเทศก์ ศูนย์สง่ เสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ
[email protected]
081-595-3196
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
(Thai Qualification Framework)
มาตรฐานเพือ่ การประกันคุณภาพของผูเ้ รียน
ในแต่ละระดับคุณวุฒแิ ละสาขาวิชาเพือ่ ใช้เป็ น
หลักในการจัดทามาตรฐานด้านต่างๆ
J. Wittaya
กรอบมาตรฐานคุณวุฒอิ าชีวศึกษาแห่งชาติ
(Thai Qualification Framework for Vocational Education)
ครอบคลุม ๓ ด้าน ได้แก่
๑) คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและกิจนิ สยั ที่เหมาะสมในการทางาน
๒) ทักษะการสือ่ สาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาการเรียนรู ้ การ
ปฏิบตั งิ าน การทางานร่วมกับผูอ้ น่ื กระบวนการวิทยาศาสตร์ การประยุกต์ใช้ตวั เลข
การจัดการและการพัฒนางาน
๓) สมรรถนะตามมาตรฐานอาชีพสาขาวิชาในระดับคุณวุฒกิ ารศึกษาวิชาชีพ
การจัดการเรียนรูท้ ่เี น้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ
(Learner-centered Approach)
กระบวนการจัดการศึกษาที่เน้นให้ผูเ้ รียนแสวงหาความรู ้ และพัฒนา
ความรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง รวมทัง้ มีการฝึ กและปฏิบตั ใิ นสภาพจริงของการทางาน
เชื่อมโยง ประยุกต์สง่ิ ที่เรียนรูเ้ ข้ากับสังคม มีการจัดกิจกรรมและกระบวนการ
ให้ผูเ้ รียนได้คิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินและสร้างสรรค์สง่ิ ต่างๆ
ส่งเสริมให้ผูเ้ รียนพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ โดยสะท้อนจาก
การที่ผูเ้ รียนสามารถเลือกเรียนรายวิชา หรือเลือกทาโครงงานหรือชิ้นงาน
ตามความสนใจในขอบเขตเนื้ อหาของวิชานั้นๆ
การบูรณาการ
(Integration)
การผสมกลมกลืนของแผน กระบวนการ สารสนเทศ การจัดสรร
ทรัพยากร การปฏิบตั กิ าร ผลลัพธ์และการวิเคราะห์ เพื่อสนับสนุ น
เป้ าประสงค์ท่สี าคัญของสถานศึกษา การบูรณาการที่มีประสิทธิผล
ต้องสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันซึ่งการดาเนิ นการภายใน ระบบ
การจัดการ และผลการดาเนิ นการต้องมีความเชื่อมโยงกันเป็ นหนึ่ ง
เดียวอย่างสมบูรณ์
การประกันคุณภาพการศึกษา
(Educational Quality Assurance)
การสร้างมาตรฐานคุณภาพของการบริหารจัดการและดาเนิ น
กิจกรรมตามภารกิจของสถานศึกษา เพือ่ พัฒนาคุณภาพของผูเ้ รียน
อย่างต่อเนื่ อง สร้างความมัน่ ใจให้กบั ผูร้ บั บริการทางการศึกษา ทัง้
ผูร้ บั บริการโดยตรง ได้แก่ ผูเ้ รียน ผูป้ กครอง และผูร้ บั บริการโดย
อ้อม ได้แก่ สถานประกอบการ ประชาชน และสังคมโดยรวม
การประกันคุณภาพภายใน
(Internal Quality Assurance)
การประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดย
บุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหน่ วยงานต้น
สังกัดที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษานั้น
การประกันคุณภาพภายนอก
(External Quality Assurance)
การประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสานักงาน
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ
มหาชน) บุคคล หรือหน่ วยงานภายนอกที่สานักงานดังกล่าว
รับรอง เพื่อประกันคุณภาพและให้มีการพัฒนาคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
การประเมินคุณภาพภายใน
(Internal Quality Assessment)
การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม
และการตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด
สาหรับการประกันคุณภาพภายใน ซึ่งกระทาโดย
บุคลากรของสถานศึกษานั้น หรือโดยหน่ วยงานต้น
สังกัดที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษา
การประเมินคุณภาพภายนอก
(External Quality Assessment)
การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การ
ติดตามและการตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งกระทาโดยสานักงาน
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(องค์การมหาชน) หรือผูป้ ระเมินภายนอก
การวิจยั เพือ่ พัฒนาการเรียนการสอน
(Research for Learning and Teaching Development)
การรวบรวมและวิเคราะห์ขอ้ มูลในชัน้ เรียน เพื่อหา
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มผี ลต่อคุณภาพและ
สัมฤทธิผลการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน อาทิ วิธีการสอน วิธีการ
เรียนรูข้ องผูเ้ รียน อุปกรณ์ และสือ่ การสอน แหล่งเรียนรู ้
วิธีวดั และประเมินผล เป็ นต้น ผลการวิจยั จะช่วยให้ผูส้ อน
สามารถพัฒนาการเรียนการสอนได้อย่างเป็ นระบบ
การอาชีวศึกษา
(Vocational Education)
กระบวนจัดการศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนา
กาลังคนในด้านวิชาชีพระดับฝี มือ ระดับเทคนิ ค
และระดับเทคโนโลยี
ความรูแ้ ละทักษะที่จาเป็ นในการทางาน
(Knowledge and Skills Required for Work)
ความเข้าใจในสิง่ ที่เรียนรูแ้ ละสามารถนาความรูไ้ ป
ประยุกต์ใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้ ประกอบด้วย
ความสามารถด้านต่างๆ ได้แก่ การสือ่ สาร การคิด
ทักษะชีวติ และการใช้เทคโนโลยี
โครงงานหรือสิง่ ประดิษฐ์
(Project or Invention)
ชิ้นงาน / สิง่ ประดิษฐ์ท่ผี ูเ้ รียนได้ใช้องค์ความรูห้ รือ
ประสบการณ์ท่ไี ด้รบั มาพัฒนาขึ้น ซึ่งอาจเป็ นผลงานที่เป็ น
ส่วนหนึ่ งของการสาเร็จการศึกษาหรือผลงานที่ผูเ้ รียน
สร้างสรรค์ข้ ึนเอง
ตัวบ่งชี้ (Indicator)
ตัวประกอบ ตัวแปร หรือค่าที่สงั เกตได้ ซึ่งบ่งบอก
สถานภาพหรือสะท้อนลักษณะการดาเนิ นงานหรือผลการ
ดาเนิ นงานที่สามารถวัดและสังเกตได้ เพื่อบอกสภาพทัง้
เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในประเด็นที่ตอ้ งการ มีหลาย
คา เช่น ตัวชี้วดั ดัชนี
ตัวบ่งชี้พ้ นื ฐาน
ตัวบ่งชี้ท่ปี ระเมินภายใต้ภารกิจหลักของสถานศึกษา
บนพื้นฐานที่ทกุ สถานศึกษาต้องมีและปฏิบตั ไิ ด้ ซึ่ง
สามารถชี้ผลลัพธ์และผลกระทบได้ดีและมีความเชื่อมโยง
กับการประกันคุณภาพภายใน
ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม
ตัวบ่งชี้ท่ปี ระเมินผลการดาเนิ นงานของสถานศึกษา
โดยมีการกาหนดแนวทางพัฒนาเพือ่ ร่วมกันชี้แนะ
ป้ องกัน และแก้ไขปัญหาสังคมตามนโยบายของรัฐ ซึ่ง
สามารถปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาและสภาพปัญหาสังคมที่
เปลี่ยนไป โดยมีเป้ าหมายที่แสดงถึงความเป็ นผูช้ ้ ีนาสังคม
และแก้ปญั หาสังคมของสถานศึกษาในการพัฒนาผูเ้ รียน
ตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์
ตัวบ่งชี้ท่ปี ระเมินผลผลิตตามปรัชญา ปณิ ธาน
พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตัง้ สถานศึกษา
รวมถึงความสาเร็จตามจุดเน้นและจุดเด่นที่สง่ ผลสะท้อน
เป็ นเอกลักษณ์ของแต่ละสถานศึกษา โดยได้รบั ความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาและต้นสังกัด
หลักธรรมาภิบาล (Good Governance)
๑.
๒.
ความรับผิดชอบ บุคคล องค์การ ที่ทาหน้าที่บริหารงาน
ภาครัฐ ต้องมีภาระความรับผิดชอบต่อสาธารณะเกี่ยวกับ
การกระทา กิจกรรม หรือการตัดสินใจใดๆ ที่สง่ ผลกระทบ
ต่อสาธารณะ
ความโปร่งใส การตัดสินใจและการดาเนิ นการต่างๆ อยู่บน
กฎระเบียบชัดเจน สาธารณชนรับทราบและมีความมัน่ ใจใน
การดาเนิ นการของรัฐ
๓.
๔.
๕.
การปราบปรามทุจริตและประพฤติมชิ อบ บุคคล องค์การภาครัฐไม่
ใช้อานาจหน้าที่หรือการแสวงหาผลประโยชน์ในทางส่วนตัว
การสร้างการมีสว่ นร่วม การเปิ ดโอกาสให้กบั ประชาชนหรือผูม้ ีสว่ น
เกี่ยวข้องเข้ามามีบทบาทในการตัดสินใจ มีสว่ นร่วมในการควบคุมการ
ปฏิบตั ิงาน มีสว่ นร่วมในกระบวนการตรวจสอบ
การมีกฎหมายที่เข้มแข็ง การดาเนิ นการอยู่บนกรอบของกฎหมายโดย
ไม่เลือกปฏิบตั ิ เสมอภาคเท่าเทียวกัน มีการระบุลงโทษที่ชดั เจนและมี
ผลบังคับใช้ท่ชี ดั เจน
J.Wittaya
๖.
๗.
๘.
๙.
การตอบสนองที่ทนั การ การให้การตอบสนองที่ทนั การต่อผูม้ ีสว่ น
เกี่ยวข้องทุกฝ่ ายในเวลาที่ทนั การ
ความเห็นชอบร่วมกัน ความเป็ นกลางในการประสานความต้องการที่
แตกต่างให้อยู่บนพื้นฐานของประโยชน์สว่ นรวมและขององค์การ
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ความต้องการให้การใช้ทรัพยากรต่างๆ
ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และคุม้ ค่า
ความเสมอภาคและความเกี่ยวข้อง บุคคลสามารถมีสว่ นเกี่ยวข้องใน
กิจกรรมหลักที่จะช่วยสร้างความเติบโตให้กบั หน่ วยงาน
J.Wittaya
แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี
(Annual Action Plan)
แผนระยะสัน้ ที่มรี ะยะเวลาในการดาเนิ นงานภายในหนึ่ งปี
เป็ นแผนที่ถา่ ยทอดแผนกลยุทธ์ลงสูภ่ าคปฏิบตั ิ เพื่อให้เกิดการ
ดาเนิ นงานจริงตามกลยุทธ์ ประกอบด้วย โครงการหรือกิจกรรม
ต่างๆ ที่จะต้องดาเนิ นการในปี นั้นๆ เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายตามแผน
กลยุทธ์ ตัวบ่งชี้ความสาเร็จของโครงการหรือกิจกรรม เป้ าหมายของ
ตัวบ่งชี้เหล่านั้น รวมทัง้ มีการระบุผูร้ บั ผิดชอบหลักหรือหัวหน้า
โครงการ งบประมาณในการดาเนิ นการ รายละเอียดและทรัพยากร
ที่ตอ้ งใช้ในการดาเนิ นโครงการที่ชดั เจน
มาตรฐานการอาชีวศึกษา
(Vocational Education Standards)
ข้อกาหนดในการจัดการอาชีวศึกษาของสถานศึกษา
เพื่อเป็ นเกณฑ์ในการกากับ ดูแล ตรวจสอบ ประเมินผล
และประกันคุณภาพการจัดอาชีวศึกษา โดยใช้เป็ นกรอบ
แนวทางในการดาเนิ นงานของสถานศึกษา อันเป็ นกลไก
สาคัญในการประกันคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษาให้มี
ประสิทธิภาพและบรรลุผลตามที่ตอ้ งการ
ห่วงโซ่คณ
ุ ภาพ (Chain of Quality)
กรอบแนวคิดสาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ที่เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างมาตรฐานคุณภาพด้าน
ผลลัพธ์กบั มาตรฐานคุณภาพด้านกระบวนการที่สง่ ผลต่อ
การจัดการเรียนรูข้ องครูและกระบวนการบริหาร การจัด
สภาพแวดล้อม การประกันคุณภาพภายในและการมีสว่ น
ร่วมของครอบครัวและชุมชน ทัง้ นี้ หว่ งโซ่คณ
ุ ภาพยัง
รวมถึงความเชื่อมโยงคุณภาพทุกระดับการศึกษา
อัตลักษณ์ (Identity)
ผลผลิตของผูเ้ รียนตามปรัชญา ปณิ ธาน พันธกิจ
และวัตถุประสงค์ของการจัดตัง้ สถานศึกษา ที่ได้รบั ความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาและต้นสังกัด
เอกลักษณ์ (Uniqueness)
ความสาเร็จตามจุดเน้นและจุดเด่นที่สะท้อนให้เห็น
เป็ นลักษณะโดดเด่นเป็ นหนึ่ งของสถานศึกษา