การประกันคุณภาพ รศ.ดร.รุจริ ์ ภู่สาระ การประกันคุณภาพ หมายถึง การบริหารจัดการและการดาเนินกิจกรรมตามภารปกติขององค์ กร/ หน่ วยงาน เพือ่ พัฒนาผู้เรียนอย่ างต่ อเนื่อง การพัฒนาต้ องทาทุกด้ าน ปัจจัย กระบวนการ ผลผลิต ดาเนินการโดยผู้เกีย่ วข้ องเพือ่ พัฒนาคุณภาพของตนเอง ต้ องมีการประกันคุณภาพภายในควบคู่กบั การบริหารจัดการตามปกติ ต้ องดาเนินการอย่ างต่

Download Report

Transcript การประกันคุณภาพ รศ.ดร.รุจริ ์ ภู่สาระ การประกันคุณภาพ หมายถึง การบริหารจัดการและการดาเนินกิจกรรมตามภารปกติขององค์ กร/ หน่ วยงาน เพือ่ พัฒนาผู้เรียนอย่ างต่ อเนื่อง การพัฒนาต้ องทาทุกด้ าน ปัจจัย กระบวนการ ผลผลิต ดาเนินการโดยผู้เกีย่ วข้ องเพือ่ พัฒนาคุณภาพของตนเอง ต้ องมีการประกันคุณภาพภายในควบคู่กบั การบริหารจัดการตามปกติ ต้ องดาเนินการอย่ างต่

การประกันคุณภาพ
รศ.ดร.รุจริ ์ ภู่สาระ
การประกันคุณภาพ หมายถึง
การบริหารจัดการและการดาเนินกิจกรรมตามภารปกติขององค์ กร/
หน่ วยงาน เพือ่ พัฒนาผู้เรียนอย่ างต่ อเนื่อง
การพัฒนาต้ องทาทุกด้ าน
ปัจจัย
กระบวนการ
ผลผลิต
ดาเนินการโดยผู้เกีย่ วข้ องเพือ่ พัฒนาคุณภาพของตนเอง
ต้ องมีการประกันคุณภาพภายในควบคู่กบั การบริหารจัดการตามปกติ
ต้ องดาเนินการอย่ างต่ อเนื่องและตลอดเวลา
เพือ่ สร้ างความมั่นใจว่ ามีการจัดการศึกษาทีม่ ีคุณภาพและได้
มาตรฐาน
การประกันคุณภาพ มี 2 ประเภท
1. การประกันคุณภาพภายใน ดาเนินการโดยบุคลากร
ภายในองค์ กรนั้น มีเป้ าหมายเพือ่ พัฒนา และ
ปรับปรุงงาน
2. การประกันคุณภาพภายนอก ดาเนินการโดย
บุคลากรภายนอกหน่ วยงาน มีเป้ าหมายเพือ่ รับรอง
คุณภาพและการพัฒนา
หลักการของการประกันคุณภาพภายใน
ใช้ หลักบริหาร PDCA
P (Plan)
D (Do)
C (Check)
A (Act)
=
=
=
=
ร่ วมกันวางแผน
ร่ วมกันปฏิบัติ
ร่ วมกันตรวจสอบ
ร่ วมกันปรับปรุง
ร่ วมกับหลักการประกันคุณภาพ
 ควบคุมคุณภาพ
(สอดคล้ องกับ P, D)
 ตรวจสอบคุณภาพ (สอดคล้ องกับ C)
 ประกันคุณภาพ
(สอดคล้ องกับ A)
ระบบการควบคุมคุณภาพ
มีหลายระบบทีพ่ ฒ
ั นาขึน้ เพือ่ เป็ นยุทธศาสตร์ ในการพัฒนา
และปรับปรุงองค์ กร โดยมีเทคนิคการดาเนินงานทีแ่ ตกต่ างกัน
ได้ แก่
 ระบบการควบคุมคุณภาพ (Quality Control)
 เป็ นกระบวนการทีท่ ุกคนต้ องมีส่วนร่ วม
 มีการตั้งกลุ่มกันทางาน (ร่ วมคิด, ร่ วมทา, ร่ วม
แก้ ปัญหา)
 มีกจิ กรรมคิวซี (QC Circle)
ระบบการควบคุมคุณภาพ
 การบริหารคุณภาพทั้งองค์ กร (Total Quality
Management)
กาหนดกิจกรรมการทางานเป็ น 3 ขั้นตอน คือ
1. การควบคุมการออกแบบ
2. การควบคุมวัสดุทใี่ ช้
3. การควบคุมแผนการผลิต
The Malcolm Baldridge National Quality Award
(Baldridge Award)
เป็ นสถาบันเกีย่ วกับมาตรฐานและเทคโนโลยีในการควบคุม
คุณภาพของหน่ วยงาน/องค์ กรในระดับชาติของสหรัฐอเมริกา มี
วัตถุประสงค์ เพือ่
ส่ งเสริมให้ เห็นความสาคัญของการปรับปรุงคุณภาพของแต่
ละหน่ วยงาน
ให้ การรับรององค์ กรหรือหน่ วยงานทีม่ ีการปรับปรุงผลผลิต/
การบริการ/การดาเนินงานให้ เห็นผลเป็ นที่ประจักษ์
มาตรฐานระบบคุณภาพ ISO
กาหนดมาตรฐานหลายด้ าน ที่แพร่ หลาย คือ
ISO 9000
 มาตรฐานระบบการบริหารจัดการ
 ประกันคุณภาพชิ้นส่ วนและการให้ บริการของ
องค์ การ
มาตรฐานระบบคุณภาพ ISO
สรุป แนวคิดการควบคุมคุณภาพมาจากวงการอุตสาหกรรม
QC, TQM
= เป็ นการประกันภายในเพือ่ พัฒนา
และควบคุมคุณภาพ
Baldridge Award, ISO = เป็ นระบบส่ งเสริมให้ มกี ารประกัน
คุณภาพภายในเพือ่ พัฒนาคุณภาพ
แล้ วรับรองมาตรฐานโดยการ
ประเมินภายนอกเพือ่ ควบคุม
คุณภาพและประกันคุณภาพ
มาตรฐาน (Standard)
: ข้ อกาหนดเกีย่ วกับคุณลักษณะ คุณภาพที่
พึงประสงค์ ที่ยอมรับว่ า เป็ นความสาเร็จ/
ความดีเลิศของการปฏิบัติงาน
ประกอบด้ วย
ตัวชี้วดั /ตัวบ่ งชี้ (Indicator)
: ตัวประกอบ, ตัวแปร, ค่ าสั งเกตที่เชื่อมโยงกับตัวแปรทีใ่ ช้ เป็ นเกณฑ์ ใน
การประเมินผลทางการศึกษา
ควรมีคุณลักษณะสาคัญ 5 ประการ คือ
1. ให้ สารสนเทศเกีย่ วกับสภาพทีศ่ ึกษาอย่ างกว้ างๆ ทีถ่ ูกต้ อง/แม่ นยา
2. เป็ นตัวแปรรวมของสิ่ งที่จะศึกษา
3. มีค่าที่แสดงออกได้ เชิงปริมาณและการแปลความหมายโดยเปรียบเทียบ
กับเกณฑ์ /มาตรฐานทีก่ าหนด
4. ให้ สารสนเทศ ณ จุดเวลา/ช่ วงเวลาเฉพาะ เมื่อนาตัวบ่ งชี้จากช่ วงเวลา
หลายจุดมาเทียบกัน
5. เป็ นหน่ วยพืน้ ฐานสาหรับการพัฒนาทฤษฎี
ตัวบ่ งชี้ที่ดี
1. ต้ องสะท้ อนภาพรวมของกระบวนการดาเนินงาน
2. แสดงให้ เห็นความสั มพันธ์ ระหว่ างปัจจัยป้ อน
กระบวนการ และผลผลิต
3. สามารถตรวจสอบความเที่ยงตรง ความคงที่ ความ
เชื่อมั่น ความเป็ นไปได้ ประโยชน์ และความเหมาะสม
4. สามารถเก็บรวบรวมข้ อมูลได้ สะดวก
5. มีความเป็ นมาตรฐาน สามารถเปรียบเทียบกันได้
ประโยชน์ ของตัวบ่ งชี้
1. ใช้ ในการกาหนดเป้ าหมายและวัตถุประสงค์
การศึกษา
2. ใช้ ในการกากับและประเมินระบบการศึกษา
3. ใช้ ในการประกันคุณภาพการศึกษา
4. เป็ นการแสดงความรับผิดชอบต่ อหน้ าที่และ
กาหนดเป้ าที่ตรวจสอบได้
กระบวนการประกันคุณภาพ
ขั้นตอนที่ 1 : การเตรียมการ
 เตรียมบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้ องกับการดาเนินงาน
 เตรียมความพร้ อมของบุคลากร
 กาหนดผู้รับผิดชอบในการดาเนินงาน
 วางระบบการกากับการดาเนินงานให้ เป็ นไปตาม
แผน
กระบวนการประกันคุณภาพ
ขั้นตอนที่ 2 : การดาเนินงาน
 P (กาหนดมาตรฐานการประกันคุณภาพ)
 D (นามาตรฐานการประกันคุณภาพไปปฏิบัต)ิ
 C (การตรวจสอบประเมินผลการทางาน)
 A (การแก้ ไขปรั บปรุ งการปฏิบัตงิ าน)
 การจัดทารายงานผลการประเมินตนเอง (SSR)
(Self Study Report)
กระบวนการประกันคุณภาพ
ขั้นตอนที่ 3 : การรับรองคุณภาพ
ระดับที่ 1 : รับรองภายใน โดยองค์ กรภายใน
ระดับที่ 2 : รับรองภายนอก โดยสานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (สมศ.)
องค์ ประกอบในระบบการประกันคุณภาพภายใน มี 5 ระบบย่ อย
1. ระบบการวางแผนและการปฏิบัติ
 ด้ านบุคลากร
 การปฏิบัติงาน
 การประเมิน
2. ระบบข้ อมูลและประมวลผล
 กาหนดตัวบ่ งชี้
 เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการประเมิน
 จัดเก็บข้ อมูล
 ประมวลผลข้ อมูล
องค์ ประกอบในระบบการประกันคุณภาพภายใน มี 5 ระบบย่ อย
3. ระบบการตรวจสอบการประเมิน
 หาข้ อบกพร่ อง
 ปรับปรุงแก้ ไขก่ อนคณะกรรมการภายนอกตรวจเยีย่ ม
4. ระบบรายงานผลการประเมิน
 จัดทารายงานการศึกษาตนเอง (SSR)
 นารายงานเผยแพร่ ให้ ผ้ ูเกีย่ วข้ องทราบ
 ออกแบบให้ เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายทีต่ ้ องการทราบ
ผลของแต่ ละกลุ่ม
 เตรียมนาเสนอให้ คณะกรรมการภายนอกตรวจเยีย่ ม
กิจกรรมการดาเนินงานในระบบการประเมินผลภายใน
กิจกรรมที่ 1 : การเตรียมความพร้ อม
สารวจความพร้ อมของบุคลากร
แต่ งตั้งคณะกรรมการประเมินผลภายในของ
สถานศึกษา
เตรียมงบประมาณ และสิ่ งอานวยความสะดวก
จัดทาปฏิทินการปฏิบัติงาน
กากับติดตามการประเมินผลภายใน
กิจกรรมการดาเนินงานในระบบการประเมินผลภายใน
กิจกรรมที่ 2 : การศึกษาสภาพและผลการดาเนินงานของ
สถานศึกษา
ศึกษาสภาพการดาเนินงานของตนเองว่ าอยู่ ณ จุดใด
ศึกษาข้ อมูลด้ านการประเมินผลทีเ่ คยดาเนินการไป
แล้ ว
นาผลการศึกษามากาหนดกรอบการประเมิน
กิจกรรมการดาเนินงานในระบบการประเมินผลภายใน
กิจกรรมที่ 3 : การทาความเข้ าใจกับบุคลากรใน
สถานศึกษาเกีย่ วกับสภาพและผลการ
ดาเนินงานของสถานศึกษา
ทาความเข้ าใจด้ านนโยบายของสถานศึกษา
กาหนดเป้ าหมายให้ รู้ ร่วมกัน
กิจกรรมการดาเนินงานในระบบการประเมินผลภายใน
กิจกรรมที่ 4 : กาหนดวัตถุประสงค์ ของการประเมิน
มาตรฐานและตัวบ่ งชี้ที่ใช้ ในการประเมิน
ให้ สอดคล้ องกับแผนดาเนินงานของสถานศึกษา
ให้ สอดคล้ องกับมาตรฐานคุณภาพ
กิจกรรมการดาเนินงานในระบบการประเมินผลภายใน
กิจกรรมที่ 5 : กาหนดกรอบการประเมิน
การดาเนินการประเมินในแต่ ละตัวบ่ งชี้
กาหนดรายละเอียดเกีย่ วกับ
วิธีการเก็บข้ อมูล
แหล่ งผู้ให้ ข้อมูล
เครื่องมือประเมิน
วิธีการวิเคราะห์ ข้อมูล
เกณฑ์ การตัดสิ น
ช่ วงเวลาการเก็บข้ อมูล
กาหนดผู้รับผิดชอบ
กิจกรรมการดาเนินงานในระบบการประเมินผลภายใน
กิจกรรมที่ 6 : การกาหนดเกณฑ์ การตัดสิ น
ความเหมาะสมของระดับเกณฑ์ กบั สภาพหน่ วยงาน
กิจกรรมที่ 7 : การกาหนดวิธีการเก็บข้ อมูล
เครื่องมือ
แบบสอบถาม
 แบบสั มภาษณ์
 แบบสั งเกต

กิจกรรมการดาเนินงานในระบบการประเมินผลภายใน
กิจกรรมที่ 8 : การวิเคราะห์ ข้อมูล
วิธีการทางสถิติ
ความถี่
 ร้ อยละ
 ค่ าเฉลีย
่
 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ข้ อมูลเชิงคุณภาพ

วิเคราะห์ เนือ้ หา
กิจกรรมการดาเนินงานในระบบการประเมินผลภายใน
กิจกรรมที่ 9 : การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่ อนของ
สถานศึกษา
โดยการเปรียบเทียบกับการบรรลุเป้ าหมาย
ผลการปฏิบัติงานจริง
ผลต่ างจะสะท้ อนความต้ องการปรับปรุง
จัดลาดับความสาคัญ และความจาเป็ น
วางแผนแก้ ไขปัญหาความจาเป็ นเร่ งด่ วน
กิจกรรมการดาเนินงานในระบบการประเมินผลภายใน
กิจกรรมที่ 10 : แนวทางการพัฒนาการศึกษา
วิเคราะห์ สาเหตุของจุดอ่ อน
ระดมความคิดจากบุคคลทีเ่ กีย่ วข้ องหาวิธีการแก้ ไข
ปัญหา
กิจกรรมการดาเนินงานในระบบการประเมินผลภายใน
กิจกรรมที่ 11 : การทารายงานผลการประเมินตนเอง
นาผลการประเมินมารายงานใน SSR
ใช้ ในการพัฒนาปรับปรุงตนเอง
ใช้ แสดงต่ อสาธารณชน
ใช้ ในการตรวจสอบความก้ าวหน้ าของ
คณะกรรมการประเมิน
กิจกรรมการดาเนินงานในระบบการประเมินผลภายใน
กิจกรรมที่ 12 : การใช้ ประโยชน์ จากการประเมินตนเอง
เพือ่ ปรับปรุงการดาเนินงาน
แสดงให้ ผู้เกีย่ วข้ องทราบผลการดาเนินงาน