6 - สพม.12

Download Report

Transcript 6 - สพม.12

นโยบายรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐบาลด้ านการศึกษา
1. ปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ ปรับโครงสร้ างและการบริหาร
จัดการ ระดมทรัพยากร พัฒนาครู พัฒนาระบบการคัดเลือก
เข้ าสู่ มหาวิทยาลัย พัฒนาหลักสู ตร พัฒนาทักษะการคิด
วิเคราะห์ ส่ งเสริมการศึกษาตลอดชีวติ การกระจายอานาจ
มุ่งเน้ นคุณธรรมนาความรู้
2. ส่ งเสริมให้ ภาคเอกชนมีส่วนร่ วมในการพัฒนาการศึกษา
3. พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา จัดตั้งกองทุนพัฒนา
คุณภาพชีวติ ครู ควบคู่การลงทุนด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ
นโยบายรัฐบาลด้ านการศึกษา (ต่ อ)
4. ส่ งเสริมการศึกษาฟรี 15 ปี ตั้งแต่ ระดับอนุบาลถึงมัธยมปลาย
ทุกกลุ่มเป้าหมาย ทั้งเด็กปกติ กลุ่มด้ อยโอกาส ผู้พกิ าร ผู้ยากไร้
5. ยกระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาไปสู่ ความเป็ นเลิศ
6. ปรับปรุ งระบบกองทุนให้ ก้ ยู มื เพือ่ การศึกษา
7. ส่ งเสริมการใช้ ประโยชน์ จากเทคโนโลยีสารสนเทศ
8. เร่ งรัดการลงทุนด้ านการศึกษาและเรียนรู้ ยึดเกณฑ์ ของ สมศ.
ในการยกระดับคุณภาพโรงเรียนทีต่ า่ กว่ าเกณฑ์ มาตรฐาน
นโยบายของ รมว.กระทรวงศึกษาธิการ(นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
ขับเคลือ่ นการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษทีส่ อง
โครงการเรียนฟรี 15 ปี อย่ างมีคุณภาพ เน้ นการมีส่วนร่ วม
จัดตั้ง “โรงเรียนดีประจาตาบล”
พัฒนาการศึกษา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
สร้ างแหล่ งเรียนรู้ ราคาถูก คือ กศน. ตาบล
จัดทาโครงการ “Teacher Channel”
สร้ างขวัญและกาลังใจให้ เพือ่ นครู โดยจัดตั้งองค์ กรมหาชน
สนับสนุนองค์ ความรู้ เกีย่ วกับวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษทีส่ อง
(พ.ศ.2552-2561)
วิสัยทัศน์
คนไทยได้ เรียนรู้ ตลอดชีวติ อย่ างมีคุณภาพ
เป้ าหมายในการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
1.พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและการเรียนรู้
ของคนไทย
2. โอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้
3. ส่ งเสริมการมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วนของสั งคม
ในการบริหารและจัดการศึกษา
กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
1.พัฒนา
1.พัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้
คนไทยยุคใหม่ 2.ผลิตและพัฒนากาลังคนทีม่ ีคุณภาพ มีสมรรถนะ
2.พัฒนา
คุณภาพครู
ยุคใหม่
1. พัฒนาระบบผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษา
2. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
3. การใช้ ครูและบุคลากรทางการศึกษา
3.พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่
กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
4.พัฒนาคุณภาพ 1.กระจายอานาจให้ สถานศึกษาและเขตพืน้ ที่
การบริหารจัดการ 2.พัฒนาระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
ใหม่
3. พัฒนาระบบบริหารจัดการเพือ่ เพิม่ โอกาส
ทางการศึกษา
4. ส่ งเสริมการมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วนในการจัด
การศึกษาและสนับสนุนการศึกษาและเรียนรู้
5. พัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรเพือ่ การศึกษา
การขับเคลือ่ นการปฏิรูปการศึกษา
ในทศวรรษที่สอง
เป้ าหมายยุทธศาสตร์ ในการขับเคลือ่ นปฏิรูปการศึกษา
ระหว่ างปี 2553 - 2561
1. สมรรถนะการศึกษาไทยสู งขึน้ : ได้ มาตรฐานสากล
2. คนไทยใฝ่ รู้ : เรียนรู้ด้วยตนเอง ตลอดชีวติ
3. คนไทยใฝ่ ดี : มีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย
มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยม
4. คนไทยมีปัญญา : คิดเป็ น ทาเป็ น แก้ ปัญหาเป็ น
สามารถในการสื่ อสาร คิดวิเคราะห์ ริเริ่มสร้ างสรรค์
เป้ าหมายยุทธศาสตร์
-
สมรรถนะการศึกษาไทยสู งขึน้
คนไทยใฝ่ รู้
คนไทยใฝ่ ดี
คนไทยมีปัญญา
สมรรถนะด้ านการศึกษา ตามระบบของ IMD
(Institutes for Management Development)
1. ค่าใช้ จ่ายการศึกษาภาครัฐต่ อ GDP
(Total public expenditure on education)
2. งบประมาณรายจ่ ายด้ านการศึกษาต่ อหัว
(Total public expenditure on education per capita)
3. อัตราส่ วนนักเรียนต่ อครู ระดับประถมศึกษา
(Pupil-teacher ratio : primary education)
4. อัตราส่ วนนักเรียนต่ อครู ระดับมัธยมศึกษา
(Pupil-teacher ratio education : secondary education)
สมรรถนะด้ านการศึกษา ตามระบบของ IMD
(Institutes for Management Development)
5. อัตราการเข้ าเรียนสุ ทธิระดับมัธยมศึกษา
(Secondary school enrollment)
6. ผลสั มฤทธิ์ของการอุดมศึกษา
(Higher education achievement)
7. อัตราส่ วนนักศึกษาต่ างประเทศในประเทศไทย
(Student mobility inbound)
8. อัตราส่ วนนักศึกษาไทยที่ไปเรียนต่ างประเทศ
(Student mobility outbound)
สมรรถนะด้ านการศึกษา ตามระบบของ IMD
(Institutes for Management Development)
9. ผลสั มฤทธิ์ทางการศึกษาด้ านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
(Educational assessment : Mathematics & Sciences)
10. ความสามารถด้ านภาษาอังกฤษ (English Proficiency)
11. การตอบสนองความสามารถในการแข่ งขันของระบบการศึกษา
(Educational system)
12. การตอบสนองความสามารถในการแข่ งขันของการศึกษาระดับ
มหาวิทยาลัย (Educational system)
สมรรถนะด้ านการศึกษา ตามระบบของ IMD
(Institutes for Management Development)
13. การจัดการด้ านการศึกษาที่ตอบสนองต่ อความต้ องการของ
ภาคธุรกิจ (Management education)
14. อัตราการไม่ รู้ หนังสื อ (Illiteracy)
15. ทักษะด้ านภาษาทีต่ อบสนองต่ อความต้ องการของภาคธุรกิจ
(Language skills)
16. วิศวกรทีม่ ีคุณวุฒติ ามความต้ องการของตลาดแรงงาน
(Qualified engineers)
17. การถ่ ายโอนความรู้ ระหว่ างมหาวิทยาลัยกับภาคธุรกิจ
(Knowledge transfer)
การเตรียมการ
ก่อนเปิ ดภาคเรียนปี การศึกษา 2553
สานักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
เรื่องที่ฝากพิจารณา
• โครงการเรียนฟรี 15 ปี
อย่างมีคณ
ุ ภาพ
• โครงการโรงเรียนดีประจา
ตาบล
• การดาเนินงานตามหล ักสูตร
ใหม่
• เรือ
่ งอืน
่ ๆ
โครงการเรียนฟรี 15 ปี
อย่ างมีคุณภาพ




หลักการ
รายการ
ปฏิทินการดาเนินการ
ประเด็นที่ฝากพิจารณา
โครงการเรียนฟรี 15 ปี
อย่ างมีคุณภาพ: หลักการ



ประหยัดงบประมาณ
โปร่ งใส
มีปัญหาในทางปฏิบัติ
น้ อยทีส่ ุ ด
โครงการเรียนฟรี 15 ปี
อย่ างมีคุณภาพ: รายการ
•
•
•
•
•
ค่าเล่าเรียน
ค่าหนังสือเรียน
ค่าอุปกรณ์การเรียน
ค่าเครื่องแบบนักเรียน
ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน
โครงการเรียนฟรี 15 ปี
อย่ างมีคุณภาพ: ปฏิทินการดาเนินงาน
กิจกรรม
เชิญประชุ มหารือ /แจ้ งแนวทางการจัดซื้อ
กาหนดแนวทางการจัดซื้อ
สารวจรายการหนังสือชดเชย ร้อยละ 30
จัดสรรงบประมาณให้โรงเรียน
ชี้แจงผูป้ กครอง/สื่อมวลชน
ซื้อหนังสือเรียน
รณรงค์เพื่อการสละสิทธิ์
เวลา
21 ธ.ค.
4-15 ม.ค.
4-31 ม.ค.
15 ม.ค.-15 ก.พ.
15 ม.ค.-15 ก.พ.
ก.พ./มี.ค.
20 ก.พ.-15 มี.ค.
โครงการเรียนฟรี 15 ปี
อย่ างมีคุณภาพ: ปฏิทินฯ (ต่ อ)
กิจกรรม
รายงานยอดผู้สละสิ ทธิ
ส่งของ/ตรวจรับ
จัดหนังสือให้ผเู ้ รียน
เวลา
15 มี.ค.
31 มี.ค./30 เม.ย.
17 พ.ค.
โครงการเรียนฟรี 15 ปี
อย่ างมีคุณภาพ: ประเด็นฝากพิจารณา



ให้ เป็ นไปตามหลักการ
ให้ สอดคล้ องกับหลักเกณฑ์
และแนวทางการดาเนินงาน
ให้ สอดคล้ องกับปฏิทิน
(ตรวจรับ 30 เม.ย., จัดหนังสือให้ผเู ้ รียน 16 พ.ค.)
โครงการโรงเรียนดีประจาตาบล
• วัตถุประสงค์
• ภาพความสาเร็จ
• ปฏิทินการดาเนินการ
• ประเด็นที่ฝากพิจารณา
โครงการโรงเรียนดีประจาตาบล:
วัตถุประสงค์
•พัฒนาโรงเรียนในท้ องถิน่ ชนบทให้ เป็ น
“โรงเรียนคุณภาพ”
•เพิม่ โอกาสการเข้ าถึงการศึกษาที่มี
คุณภาพสาหรับนักเรียนในท้ องถิน่
ชนบท
•ส่ งเสริมความร่ วมมือ และการมีส่วนร่ วม
โครงการโรงเรียนดีประจาตาบล:
ภาพความสาเร็จ
ผลสัมฤทธ์ ิ ทางการเรียน
ใน 5 กลุ่มสาระหลักไม่ตา่ กว่าค่าเฉลี่ย
ของประเทศ
• ร.ร.สร้างวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิต
ประชาธิปไตย และไม่มีปัญหายาเสพติด
•
โครงการโรงเรียนดีประจาตาบล:
ภาพความสาเร็จ (ต่ อ)
• ร.ร. ร่วมมือก ับชุมชนผูป
้ กครอง คกก.
ึ ษาฯ ร.ร. ใกล้เคียงและ
สถานศก
อปท.
อย่างเข้มแข็ง
• น.ร.มีคณ
ุ ล ักษณะทีพ
่ งึ ประสงค์
• น.ร.มีความรูแ
้ ละท ักษะภาษาทีส
่ อง
ตามความสนใจหรือความถน ัด
โครงการโรงเรียนดีประจาตาบล:
ปฏิทินการดาเนินงาน
กิจกรรม
ผูด้ าเนินการ
เวลา
จัดทา MOU ร่วมกับก.มหาดไทย
ซักซ้อมทาความเข้าใจ สพท.และ
โรงเรียน
จัดสรรปั จจัยพื้นฐานต่างๆ
ดาเนินการ
สพฐ.
สพฐ.
เม.ย. 53
พ.ค. 53
สพฐ.
สพท. &
โรงเรียน
เม.ย. - พ.ค. 53
เม.ย. – ธ.ค. 53
ติดตามการดาเนินการครั้งที่ 1
สพฐ.
มิ.ย. 53
ติดตามการดาเนินการครั้งที่ 2
สพฐ.
ต.ค. 53
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั ้นพื ้นฐำน
โครงการโรงเรียนดีประจาตาบล:
ประเด็นที่ฝากพิจารณา
่ เสริมความร่วมมือ
• สพท.ต้องสง
ระหว่าง ร.ร. และชุมชน ต้อง
เป็นไปอย่างแท้จริง และยง่ ั ยืน
(ควรทา MOU)
• ภาพความสาเร็จโดยเฉพาะ
ั
ผลสมฤทธิ
ฯ์ 5 วิชา
• การใชเ้ งิน SP2 ภายใน ธ.ค.53
การดาเนินการตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ความเป็ นมา
 ประเด็นที่ฝากพิจารณา

การดาเนินการตามหลักสูตร:
ความเป็ นมา
ปรับจาก content-based
เป็ น standard-based
 ลดความซ้าซ้ อน และความแน่ น
ของหลักสู ตร
 กาหนดสิ่ งที่จาเป็ นพืน
้ ฐานสาหรับ
ผู้เรียนทุกคน

การดาเนินการตามหลักสูตร:
ประเด็นที่ฝากพิจารณา

เนื่องจากเป็ นปี แรกที่เริ่มใช้ ทั่วประเทศ
พร้ อมกันจึงขอ สพท. สนับสนุนด้ าน
วิชาการ (ให้ คาปรึกษา นิเทศ ติดตาม)
แก่โรงเรียน เพือ่ ให้ การจัดการเรียนการ
สอน และการวัดประเมินผลสอดคล้อง
กับหลักสู ตร
สพฐ.กับการบริหารจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ในปัจจุบัน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
มีหน้ าที่
• เสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐาน และหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
แผนการศึกษาแห่งชาติ
• สนับสนุนทรัพยากร
• ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิสัยทัศน์
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เป็ นองค์ กร
ขับเคลือ่ นคุณภาพการศึกษาขั้นพืน้ ฐานของประเทศไทย
ให้ สูงเทียบเท่ าค่ าเฉลีย่ ของโลก ภายในปี 2563
พันธกิจ
พัฒนาและส่ งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้ ประชากรวัยเรียน
ทุ ก คน ได้ รั บ การศึ ก ษาอย่ า งมี คุ ณ ภาพ โดยการพั ฒ นาผู้ เ รี ย น
เป็ นส าคั ญ เพื่ อ การเรี ย นรู้ ตลอดชี วิ ต ให้ เ ป็ นบุ ค คลที่ มี ค วามรู้
คุ ณธรรม ความสามารถตามมาตรฐานการศึ กษาขั้นพื้นฐานและ
การพัฒนาสู่ คุณภาพระดับสากล
จุดเน้ น
1. ยกระดับคุณภาพผู้เรียนทุกคนให้ มีพฒ
ั นาการเหมาะสม
กับวัย
2. ยกระดับคุณภาพครู โดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน
3. เพิม่ โอกาสในการเข้ าถึงการศึกษาทีม่ ีคุณภาพมากขึน้
4. พัฒนากลไกการบริหารจัดการใหม่ ทมี่ ่ ุงเน้ นประสิ ทธิภาพ
การจัดการศึกษา
เป้ าประสงค์
1. เพือ่ พัฒนาผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ขั้นพืน้ ฐาน
- ใฝ่ เรียนรู้
- ทักษะชีวติ
- เทคโนโลยี
- มีจติ สาธารณะ
- อืน่ ๆ
เป้ าประสงค์ (ต่ อ)
2. เพือ่ พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา
3. เพือ่ ให้ ประชากรวัยเรียนทุกคน ได้ รับโอกาสในการศึกษา
ขั้นพืน้ ฐาน 15 ปี อย่ างมีคุณภาพและทัว่ ถึง
4. เพือ่ ส่ งเสริมให้ สพท.และสถานศึกษามีความเข้ มแข็ง
5. เพือ่ พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ
จังหวัดชายแดนภาคใต้
กลยุทธ์
1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ
ตามหลักสู ตรและส่ งเสริมการใช้ เทคโนโลยี
2. ปลูกฝังคุณธรรม สานึกไทย ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
3. ขยายโอกาสทางการศึกษา
4. พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ
5. พัฒนาประสิ ทธิภาพการบริหารโดยการกระจายอานาจ
6. พัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาท อานาจหน้ าที่สานักงานเขตพืน้ ที่
การศึกษาและคณะกรรมการเขตพืน้ ที่การศึกษา
สพท.มีอานาจหน้ าที่ ดังนี้
1. จัดทำนโยบำย แผนพัฒนำและมำตรฐำนกำรศึกษำให้
สอดคล้ องกับนโยบำย มำตรฐำนกำรศึกษำ แผนกำร
ศึกษำ แผนพัฒนำกำรศึกษำขัน้ พืน้ ฐำนและควำม
ต้ องกำรของท้ องถิ่น
2. วิเครำะห์ กำรจัดตัง้ งบประมำณของสถำนศึกษำและ
หน่ วยงำนในเขตพืน้ ที่กำรศึกษำ รวมทัง้ กำกับ
ตรวจสอบ ติดตำมกำรใช้ จ่ำยงบประมำณ
สพท.มีอานาจหน้ าที่ ดังนี้ (ต่ อ)
3. ประสำน ส่ งเสริม สนับสนุนและพัฒนำหลักสูตร
4. กำกับ ดูแล ติดตำมและประเมินผลสถำนศึกษำ
5. ศึกษำ วิเครำะห์ วิจัยและรวบรวมข้ อมูลสำรสนเทศ
6. ระดมทรั พยำกรเพื่อส่ งเสริม สนับสนุนกำรจัดกำรศึกษำ
7. จัดระบบกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ
8. ส่ งเสริมกำรจัดกำรศึกษำของสถำนศึกษำเอกชน
9. ปฏิบัตหิ น้ ำที่อ่ ืนๆ
บทบาทหน้ าทีข่ องคณะกรรมการเขตพืน้ ที่การศึกษา
1.
บทบาทหน้าที่ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติและ
พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ
1.1 กากับดูแล จัดตั้ง ยุบ รวมหรื อเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.2 ประสาน ส่ งเสริ ม และสนับสนุนสถานศึกษาของเอกชน
1.3 ประสาน และส่ งเสริ ม องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
ในการจัดการศึกษา
1.4 ส่ งเสริ มและสนับสนุน การจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว
องค์กรชุมชน และสถาบันสังคมอื่น
บทบาทหน้ าที่ของคณะกรรมการเขตพืน้ ที่การศึกษา
1.5 ประกำศรำยละเอียดเกี่ยวกับกำรส่งเด็กเข้ ำเรี ยน
ในสถำนศึกษำที่อยูใ่ นเกณฑ์กำรศึกษำภำคบังคับ
รวมทังแจ้
้ งเป็ นหนังสือให้ ผ้ ปู กครองทรำบก่อนเด็ก
เข้ ำเรี ยนไม่น้อยกว่ำหนึง่ ปี
1.6 จัดกำรศึกษำเป็ นพิเศษสำหรับเด็กที่มีควำมบกพร่ อง
ทำงร่ำงกำย จิตใจ สติปัญญำ อำรมณ์ สังคม
บทบาทหน้ าที่ของคณะกรรมการเขตพืน้ ที่การศึกษา
2. บทบาทหน้าที่ตามกฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจ
การบริ หารและจัดการศึกษา พ.ศ.2550 ข้อ 3 และประกาศ สพฐ.เรื่ องการ
กระจายอานาจการบริ หารและจัดการศึกษา
2.1 ให้ความเห็นชอบหรื อไม่เห็นชอบงานด้านวิชาการ
2.2 ให้ความเห็นชอบหรื อไม่เห็นชอบงานด้านงบประมาณ
2.3 ให้ความเห็นชอบหรื อไม่เห็นชอบงานด้านบริ หารงานบุคคล
2.4 ให้ความเห็นชอบหรื อไม่เห็นชอบงานด้านบริ หารงานทัว่ ไป
2.5 รับทราบรายงานการเพิ่ม/ปรับรายวิชาของสถานศึกษา ประเภทที่ 1
บทบาท อานาจหน้ าที่ของสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
สถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มีอานาจหน้ าที่ ดังนี้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
จัดทานโยบาย แผนพัฒนาการศึกษา
จัดทางบประมาณและรับผิดชอบการใช้ จ่ายของสถานศึกษา
พัฒนาหลักสู ตรสถานศึกษา
จัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
ออกระเบียบ ข้ อบังคับ ประกาศและแนวปฏิบัติ
กากับ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัตงิ านของครู และ
บุคลากรทางการศึกษา
สถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มีอานาจหน้ าที่ ดังนี้
7. ระดมทรัพยากรเพือ่ การศึกษา
8. จัดให้ มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เพือ่ รองรับการประเมินคุณภาพจากหน่ วยงานภายนอก
9. ส่ งเสริมความเข้ มแข็งให้ กบั ชุมชน
10. ปฏิบัตหิ น้ าที่อนื่ ตามที่ได้ รับมอบหมายและ
ตามที่กฎหมายกาหนด
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มีอานาจหน้ าที่ ตาม
พ.ร.บ.การศึกษาแห่ งชาติ และพ.ร.บ.ระเบียบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้
1. กากับและส่ งเสริม สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา
1.1 กากับกิจการของสถานศึกษา
1) ให้ ความเห็น มีส่วนร่ วมในการกาหนดเป้าหมาย
แผนงานและมาตรฐานการปฏิบัตงิ านของสถานศึกษา
2) ติดตามการดาเนินงานของสถานศึกษา
3) ให้ ความเห็น มีส่วนร่ วมในการปรับเป้ าหมาย แผนงาน
4) ให้ ความเห็นชอบรายงานประจาปี ของสถานศึกษา
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มีอานาจหน้ าที่ ดังนี้
1. กากับและส่ งเสริม สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา
1.2 ส่ งเสริมและสนับสนุนกิจการของสถานศึกษา
1) ด้ านวิชาการ
2) ด้ านงบประมาณ
3) ด้ านการบริหารงานบุคคล
4) ด้ านการบริหารงานทั่วไป
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มีอานาจหน้ าที่พจิ ารณาภารกิจ
ของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงว่าด้ วยการกระจายอานาจฯ
และประกาศ สพฐ.ว่าด้ วยการกระจายอานาจฯ ดังนี้
ด้ านวิชาการ ประกอบด้ วย
1.วางแผนงานด้ านวิชาการ
2. การพัฒนาหลักสู ตรสถานศึกษา
3. การพัฒนาระบบประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
4. พิจารณาให้ ความเห็นชอบการเพิม่ เติมรายวิชาพิเศษ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มีอานาจหน้ าที่พจิ ารณาภารกิจ
ของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงว่าด้ วยการกระจายอานาจฯ
และประกาศ สพฐ.ว่าด้ วยการกระจายอานาจฯ ดังนี้
ด้ านงบประมาณ ประกอบด้ วย
1.การจัดทาแผนงบประมาณและคาขอตั้งงบประมาณ
2. การจัดทาแผนปฏิบัติการใช้ จ่ายเงินตามทีไ่ ด้ รับจัดสรร
3. การขอโอนเปลีย่ นแปลงงบประมาณ
4. การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพือ่ การศึกษา
5. การจัดหาผลประโยชน์ จากทรัพย์ สินของสถานศึกษา
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มีอานาจหน้ าที่พจิ ารณาภารกิจ
ของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงว่าด้ วยการกระจายอานาจฯ
และประกาศ สพฐ.ว่าด้ วยการกระจายอานาจฯ ดังนี้
ด้ านการบริหารงานบุคคล ประกอบด้ วย
1. ให้ ความเห็นชอบแผนอัตรากาลัง
2. เสนอความเห็นการย้ ายครู และบุคลากรทางการศึกษาต่ อ อ.ก.ค.ศ.
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มีอานาจหน้ าที่พจิ ารณาภารกิจ
ของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงว่าด้ วยการกระจายอานาจฯ
และประกาศ สพฐ.ว่าด้ วยการกระจายอานาจฯ ดังนี้
ด้ านการบริหารทัว่ ไป ประกอบด้ วย
1. การวางแผนการบริหารงานการศึกษา
2. การรับนักเรียน
3. การเสนอความเห็นเกีย่ วกับการจัดตั้ง ยุบ รวมหรือเลิกสถานศึกษา
4. การระดมทรัพยากรเพือ่ การศึกษา
ความสาคัญของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ผู้ปกครอง
ผู้แทนครู
ผู้แทนองค์ กรชุ มชน
ผู้แทน อปท.
สะท้ อนปัญหาและความต้ องการด้ านคุณภาพ
การศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของ
นักเรียน
นาเสนอข้ อมูลด้ านการเรียนการสอน ความ
ต้ องการช่ วยเหลือและรายงานผลการจัดการศึกษา
สะท้ อนสภาพปัญหาและความต้ องการ
ในการพัฒนาผู้เรียน
สะท้ อนปัญหา และสนับสนุนงบประมาณ
ความสาคัญของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ผู้แทนศิษย์ เก่า
ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์
และองค์ กรศาสนา
ผู้ทรงคุณวุฒิ
ผู้บริหารสถานศึกษา
สะท้ อนภาพความรัก ศรัทธา ภูมิใจต่ อสถาบันและ
ช่ วยจรรโลงคุณค่าของสถาบันไปสู่ ศิษย์ รุ่ นหลัง
นาเสนอและเติมเต็มข้ อมูลด้ านคุณธรรมจริยธรรม
เพือ่ ให้ นักเรียนเป็ นคนดีของสั งคม
เป็ นผู้มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์
ทีจ่ ะช่ วยในการจัดการศึกษาให้ มีคุณภาพ
สะท้ อนภาพการบริหารจัดการ สร้ างแรงจูงใจ
กระตุ้นการทางานและนาข้ อเสนอจากทีป่ ระชุ ม
ไปสู่ การปฏิบัติ
แนวทางการปฏิบัติงานร่ วมกันของสถานศึกษา
กับคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
1. ผู้บริหารสถานศึกษา คือ ผู้เชื่อมโยง จึงต้ องเป็ นผู้ประสาน
การดาเนินงาน โดยคานึงถึงข้ อคิด ความเห็นและมติของ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
2. คณะกรรมการสถานศึกษา ควรเข้ าใจบทบาทหน้ าที่ คือกากับและ
ส่ งเสริม สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา
- ควรกากับติดตามการปฏิบัติงานตามทีส่ ถานศึกษาทาแผนการ
ดาเนินงานสอดคล้ องกับกฎหมาย ระเบียบหรือตามมติร่วมกัน
- ไม่ ควรแสดงบทบาทเป็ นผู้บังคับบัญชา
การประชุ มคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานที่มีประสิทธิภาพ
บทบาท
1.ร่ วมกาหนดระเบียบวาระการประชุ ม
ของประธานกรรมการ 2.ศึกษาระเบียบวาระการประชุ ม
3.ศึกษาข้ อมูลและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ องล่วงหน้ า
4.กาหนดเป้าหมาย วัตถุปะระสงค์ ของการประชุ ม
5.วางตัวเป็ นกลาง มีความยุติธรรม ยึดระเบียบ
6.เป็ นผู้นาการประชุ มทีด่ ี
การประชุ มคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานที่มีประสิทธิภาพ
บทบาท
7.กระตุ้นให้ ผู้เข้ าประชุ มร่ วมแสดงความคิดเห็น
ของประธานกรรมการ 8.ควบคุมการประชุ มให้ อยู่ในประเด็นและเคารพ
ความเห็นของผู้เข้ าประชุ ม
9. จับประเด็นการอภิปรายของสมาชิกแต่ ละคน
10.ตีความและสรุปประเด็นอภิปราย ข้ อเสนอแนะ
และข้ อคิดเห็น เพือ่ นาไปสู่ มติทปี่ ระชุ ม
การประชุ มคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานที่มีประสิทธิภาพ
บทบาท
1.ศึกษากฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้ อง
ของกรรมการ 2.ศึกษาระเบียบวาระการประชุ ม
3.มีส่วนร่ วมแสดงความคิดเห็นและข้ อเสนอแนะ
4.อภิปรายอย่ างมีเหตุผลและรับฟังผู้อนื่
5.สร้ างบรรยากาศทีด่ ีในการประชุ มอย่ างสร้ างสรรค์
6.เคารพมติของทีป่ ระชุ มและรับผิดชอบร่ วมกัน
7.ไม่ นาเรื่องในทีป่ ระชุ มไปวิพากษ์ วจิ ารณ์ ภายนอก
การบริหารสถานศึกษาตามหลักการบริหารจัดการบ้ านเมืองและสั งคมที่ดี
หลักคุณธรรม
หลักนิติธรรม
หลักความโปร่ งใส
AddบYour
Text
หลักความรั
ผิดชอบ
หลักธรรมาภิบาล
หลักการมีส่วนร่ วม
Add
Text้ มค่ า
หลัYour
กความคุ
ขอขอบคุณ