การบริหารงบประมาณ (Budget Execution)

Download Report

Transcript การบริหารงบประมาณ (Budget Execution)

กระบวนการจัดการงบประมาณ
แบบม่ ุงเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
นางเยาวลักษณ์ มานะตระกูล
สานักงบประมาณ สานักนายกรัฐมนตรี
WWW.bb.go.th
1/44
ประเด็นการนาเสนอ
1.ข้ อกาหนดตามกฎหมาย
2.พัฒนาการระบบงบประมาณ
3.การจัดทางบประมาณ
4.การบริหารงบประมาณ
5.การควบคุม
สานักงบประมาณ สานักนายกรัฐมนตรี : ตุลาคม 2544
กฎหมาย ระเบียบ และหลักเกณฑ์
 รัฐธรรมนูญ
 พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502
 ระเบียบว่ าด้ วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548
 ระเบียบการก่ อหนีผ
้ ูกพันข้ ามปี งบประมาณ พ.ศ. 2548
 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยการพัสดุด้วย
วิธีการทางอีเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549
ข้ อกาหนดตามกฎหมายที่สาคัญ
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550
1. เรื่องงบประมาณโดยตรง หมวด 8 มี 5 มาตรา
ม. 166 งบประมาณรายจ่ ายของแผ่ นดินให้ ทาเป็ น
พระราชบัญญัติ
ม. 167 เอกสารประกอบการเสนอร่ าง พรบ.(มี 7ฉบับ)
ม. 168 การพิจารณาและอนุมตั งิ บประมาณ
สส. 105 วัน นับแต่ ร่างถึงสภาผู้แทน
สว. 20 วัน นับแต่ ร่างถึงวุฒิสภา
สานักงบประมาณ สานักนายกรัฐมนตรี : มิถุนายน 2551
ข้ อกาหนดตามกฎหมายทีส่ าคัญ
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550(ต่ อ)
ม. 169 การใช้ จ่ายเงินแผ่ นดินจะกระทาได้ ก็
เฉพาะทีไ่ ด้ อนุญาตไว้ ในกฎหมายว่ าด้ วย
งปม.รายจ่ าย กม.เกีย่ วกับการโอนงปม.
หรือ กม. ว่ าด้ วยเงินคลคลัง เว้ นแต่ กรณี
จาเป็ นเร่ งด่ วนรัฐบาลจะจ่ ายไปก่ อนก็ได้
ม. 170 ทารายงานการรับและการใช้ จ่ายเงินที่ไม่
ต้ องนาส่ งเป็ นรายได้ แผ่ นดิน
สานักงบประมาณ สานักนายกรัฐมนตรี : มิถุนายน 2551
ข้ อกาหนดตามกฎหมายที่สาคัญ
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550
2. เรื่องงบประมาณจังหวัด หมวด 5 มี มาตรา
ม. 78 (2) มี 2 ประเด็น
- จัดระบบบริหารราชการส่ วนกลาง
ส่ วนภูมภิ าคและท้ องถิ่น
- สนับสนุนให้ จังหวัดมีแผนและงปม.
เพือ่ พัฒนาจังหวัด เพือ่ ประโยชน์ ของ
ประชาชนในพืน้ ที่
สานักงบประมาณ สานักนายกรัฐมนตรี : มิถุนายน 2551
ข้อกฎหมายเกีย
่ วกับการงบประมาณ
 กาหนดให้รฐ
ั สนับสนุนให้
จังหวัดมีแผนและงบประมาณ
เพื่อพัฒนาจังหวัด [มาตรา 78
(2)]
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการ
แผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 2550
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน
 ยุทธศาสตร์ /นโยบายเกี่ยวกับการสนับสนุน
ระบบการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ
 ให้จังหวัดหรือกลุม
่ จังหวัดยืน
่ คาขอ
ตั้งงบประมาณได้ กรณีนใ
ี้ ห้ถอ
ื ว่า
จังหวัดหรือกลุม
่ จังหวัดเป็นส่วน
ราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธก
ี าร
งบประมาณ (มาตรา 52 วรรค 3)
พรฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธก
ี ารบริหาร
กิจการบ้านเมืองทีด
่ ี พ.ศ. 2546
 ให้จังหวัดจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด
ให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ
และความต้องการของประชาชนใน
ท้องถิน
่ ในจังหวัด (มาตรา 53/1)
 ให้ส่วนราชการจัดทาแผนปฏิบต
ั ิ
ราชการ 4 ปี และแผนปฏิบต
ั ริ าชการ
ประจาปี ซึ่งต้องสอดคล้องกับ
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน และ
ให้เสนอแผนปฏิบต
ั ริ าชการประจาปี
ให้รัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ
พรฎ. ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่ม
จังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดทา
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ..ศ. 2547
 ให้จังหวัดจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด
แผนปฏิบต
ั ริ าชการประจาปี และคา
ของบประมาณ ตามนโยบาย
หลักเกณฑ์ และวิธก
ี ารที่ กนจ.
กาหนด และให้เสนอให้
คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ
(ข้อ 8) ให้ส่วนราชการจัดทา
1. แผนปฏิบต
ั ริ าชการ 4 ปี ให้เสร็จ
ภายใน 60 วัน นับแต่แผนการบริหาร
ฯ ประกาศในราชกิจจาฯ
2. แผนปฏิบต
ั ริ าชการประจาปี เสนอ
รัฐมนตรีให้ความเห็นชอบก่อนเสนอ
คาของบประมาณรายจ่ายประจาปี
 กาหนดให้ครม.ต้องจัดทา
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน
เพื่อแสดงมาตรการและ
รายละเอียดของแนวทางในการ
ปฏิบต
ั ริ าชการในแต่ละปีของ
การบริหารราวิธีการงบประมาณ
พ.ศ. 2502 ชการแผ่นดิน…
[มาตรา 76]
พ.ร.บ.2502 และ ที่แก้ไขเพิม
่ เติม
 จังหวัดมีฐานะเป็นส่วนราชการ
ตามมาตรา 4 แห่ง พ.ร.บ.ฯ
วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และ
สามารถยืน
่ คาขอตัง้ งบประมาณ
ต่อสานักงบประมาณได้
เช่นเดียวกับหน่วยงานอืน
่ ตาม
หลักเกณฑ์ทผ
ี่ อ
ู้ านวยการสานัก
งบประมาณกาหนด
37/44
2.พัฒนาการของระบบงบประมาณไทย
แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
Strategic Performance
Based Budgeting
ปี 2540
พ.ศ. 2546 - ปั จจุบนั
แบบแสดงแผนงาน
Program Budgeting
พ.ศ. 2525 - 2545
แบบแสดงรายการ
Line Items
พ.ศ. 2502 - 2524
6/44
การจัดทางบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
วัตถุประสงค์
เชิงนโยบาย
ของรัฐบาล
ความต้ องการ
ของผู้ใช้
ผลลัพธ์
10/48
ผลลัพธ์ที่คาดหวัง
ผลกระทบ ผลลัพธ์
ทีม่ ตี ่ อชุ มชนและ
สิ่ งแวดล้ อม
การวัดประสิทธิผล
(การบรรลุวตั ถุประสงค์ )
ผลผลิต
การวัดประสิทธิภาพ (ต้ นทุน)
ทรัพยากรทีใ่ ช้ ไป
สิ่งของและบริการที่
จัดทาเพือ่ ประชาชน/ผู้ใช้
ทรัพยากรที่ใช้ ไปใน
การจัดทาผลผลิต
7/44
รัฐบาล
สานักงบประมาณ
นโยบายรัฐบาล
แนวนโยบายพื้นฐาน
แห่งรัฐ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์ฯ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
แผนการ
บริหาร
ราชการ
แผ่นดิน
4 ปี
แผนปฏิบตั ริ าชการ
กระทรวง 4 ปี
แผนปฏิบตั ริ าชการ
หน่วยงาน 4 ปี
ยุทธศาสตร์การจัดสรร
งบประมาณประจาปี
แผนปฏิบตั ริ าชการ
กระทรวงประจาปี
แผนปฏิบตั ริ าชการ
หน่วยงานประจาปี
เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์
เป้าหมายการให้
บริการกระทรวง
เป้าหมายการให้
บริการหน่วยงาน
แนวทางการจัดสรร (จุดเน้น)
ยุทธศาสตร์กระทรวง
(แนวทาง/วิธีการ)
กลยุทธ์หน่วยงาน
(แนวทาง/วิธีการ)
ภาพรวม
ผลผลิต/โครงการ
การจัดการงบประมาณที่สอดคล้องกับ
พ.ร.ฎ. ว่าด้วยฯ กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
สานักงบประมาณ
งบประมาณ
MTEF (1+3
ปี ) 8/44
งบประมาณแผ่ นดิน
งบประมาณรายรับ
- รายได้
- เงินกู้
- เงินคงคลัง
งบประมาณรายจ่ าย
- งบกลาง
- งบสาหรับส่ วนราชการและ
2/44
รัฐวิสาหกิจ
ความหมาย
““ งบประมาณรายจ่ าย ”” หมายความว่ า จานวน
เงิ น อย่ า งสู ง ที่ อ นุ ญ าตให้ จ่ า ยหรื อ ก่ อ หนี้ ผู ก พั น ได้
ตามวัตถุประสงค์ และภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ ใน
พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 และที่
แก้ ไขเพิม่ เติม
ความหมาย
“ ปี งบประมาณ” หมายความว่ า ระยะเวลาตั้งแต่ วันที่
1 ตุ ลาคม ของปี หนึ่ ง ถึงวันที่ 30 กันยายน ของปี ถัดไป
และให้ ใช้ ปี พ.ศ.ที่ถัดไปนั้น เป็ นชื่อสาหรั บปี งบประมาณ
นั้น
ความหมาย
“เงินประจางวด” หมายความว่ า ส่ วนหนึ่งของ
งบประมาณรายจ่ ายที่แบ่ งสรรให้ จ่าย หรื อให้ ก่ อหนี้
ผูกพันในระยะเวลาหนึ่ง
“แผนการปฏิ บั ติ ง าน”หมายความว่ า แผนการ
ปฏิบัติงานของส่ วนราชการและรั ฐวิสาหกิจในรอบ
ปี งบประมาณ
ความหมาย
“แผนการใช้ จ่า ยงบประมาณ ” หมายความว่ า แผน
แสดงรายละเอียดการใช้ จ่ายงบประมาณรายจ่ ายสาหรั บ
ส่ วนราชการและรัฐวิสาหกิจ เพือ่ ดาเนินงานตามแผนการ
ปฏิบัตงิ านในรอบปี งบประมาณ
กระบวนการจัดทางบประมาณ
วงจรงบประมาณ(Budget Cycle)
การจัดเตรียมงบประมาณ
(งบประมาณรายรับ-รายจ่ าย)
การบริหารงบประมาณ
(รวมการรายงานและติดตามผล)
การอนุมตั ิ
งบประมาณ
3/44
37/44
การจัดทางบประมาณ
1. สอดคล้ องกับนโยบายของรัฐบาล
•นโยบายระดับชาติ
•นโยบายระดับกระทรวง
2. สอดคล้ องกับความต้ องการของประชาชน
•แก้ ปัญหา
•พัฒนา
3. คุ้มค่ า (ประหยัด/ประสิ ทธิภาพ)
4/44
การจัดสรรงบประมาณตามระบบงบประมาณ
แบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
งบประมาณ
กิจกรรม
ผลผลิต
ผลลัพธ์
การจัดสรรงบประมาณ จะจัดสรรงบประมาณลงในกิจกรรมหลัก
ภายใต้ ผลผลิตเพือ่ นาส่ งผลผลิตและเชื่อมโยงต่ อความสาเร็จ
ระดับสู งผลลัพธ์
9/44
งบประมาณ ปี 2555 จาแนกตามยุทธศาสตร์การจัดสรร
หน่ วย:ล้ านบาท
ยุทธศาสตร์ การจัดสรรงบประมาณ
งบประมาณ
รวมทั้งสิ้ น
1.การสร้างรากฐานการพัฒนาที่สมดุลสู่ สังคม
2,380,000.0
2.ความมัน่ คงแห่งรัฐ
3.การสร้างความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพและยัง่ ยน
4.การศึกษา คุณธรรม จริ ยธรรม คุณภาพชีวติ และความเท่าเทียมกันใน
สังคม
189,109.9
5.การอนุรักษ์ ฟ้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
(ปี 2556 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม)
45,148.9
6.การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจยั และนวัตกรรม
18,037.4
475,062.6
173,121.8
597,468.4
งบประมาณ ปี 2555 จาแนกตามยุทธศาสตร์การจัดสรร(ต่อ)
หน่ วย:ล้ านบาท
ยุทธศาสตร์ การจัดสรรงบประมาณ
งบประมาณ
7.การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
7,839.4
8.การบริ หารกิจการบ้านเมองที่ดี
313,293.9
9.รายการค่าดาเนินการภาครัฐ
560,917.4
ยุทธศาสตร์ขอ้ 5

5. ยุทธศาสตร์ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
5.1 การอนุรักษ์ และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
5.2 การจัดการสิ่ งแวดล้อม
5.3 การจัดการและอนุรักษ์ ทรัพยากรนา้
5.4 การจัดการภัยพิบัติ
5.5 การแก้ไขปัญหาการเปลีย่ นแปลงสภาวะภูมิอากาศ
สานักงานนโยบายและแผนฯ
ปี งบประมาณรายจ่ าย พ.ศ. 2555 วงเงิน 415.8737 ลบ.
แผนงานอนุรักษ์ และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 114.9306 ลบ.
ผลผลิตที่ 1 เครื่องมือ กลไกในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลาย
ทางชีวภาพ 114.9306 ลบ.
แผนงานจัดการสิ่ งแวดล้ อม 300.9431 ลบ.
ผลผลิตที่ 2 เครื่องมือและกลไกการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม และการจัดการคุณภาพ
สิ่ งแวดล้ อมในการรองรับการเปลีย่ นแปลงสภาวะภูมอิ ากาศ 174.3593 ลบ.
โครงการถ่ ายโอนการสนับสนุนแผนปฏิบัติการเพือ่ การจัดการคุณภาพสิ่ งแวดล้ อมในระดับ
จังหวัด 126.5838 ลบ.

10/44
นโยบายเร่ งด่ วน 16 ข้ อ
นโยบายเร่ งด่ วนทีท่ าในปี แรกของรับบาล (16 ข้ อ) วงเงิน 367,583.6461 ล้านบาท
1. การสร้างความปรองดองสมานฉันท์
2. การแก้ไขและป้ องกันปั ญหายาเสพติด
3. การป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต
4. การส่ งเสริมให้ มีการบริหารจัดการนา้ วงเงิน 52,925.2701 ล้านบาท
ปี 2555 สผ. มีโครงการถ่ายโอนการสนับสนุนแผนปฏิบตั ิการเพ่อการจัดการคุณภาพ
สิ่ งแวดล้อม (บาบัดน้ าเสี ย 2 โครงการ) เป็ นเงิน 126.5838 ล้านบาท
5. การแก้ไขปั ญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
6. การฟ้ นฟูความสัมพันธ์นานาประเทศ
7. การดูแลประชาชนจากปั ญหาเงินเฟ้ อและน้ ามัน
8. การยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน
นโยบายเร่ งด่ วน 16 ข้ อ (ต่ อ)
9. การปรับภาษีเงินได้นิติบุคคล
10. การส่ งเสริ มให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน
11. การยกระดับราคาสิ นค้าเกษตร
12. การเร่ งเพิม่ รายได้จากการท่องเที่ยว
13. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
14.การพัฒนาระบบประกันสุ ขภาพ
15. การจัดหาเคร่ องคอมพิวเตอร์ พกพา
16. การเร่ งรัดผลักดันการปฏิรูปการเมอง
นโยบายสาคัญอืน่ ๆ ปี 2556
1. โครงสร้ างราคาพลังงาน
2. การนาสั นติสุขสู่ ชายแดนใต้
3. โครงสร้ างการจัดทาบัตรเครดิตเกษตรกรและบัตรเครดิตพลังงาน
4. หลักประกันสุ ขภาพ (ประชาชน แรงงาน ข้ าราชการ)
5. ครัวไทยสู่ โลก
6. อาหารฮาลาล
7. การเพิม่ ผลผลิต SME
8.พลังงานทดแทน
9. ระบบการคมนาคมขนส่ ง (Logistic)
งบประมาณรายจ่ายประจาปี
งบประมาณรายจ่ าย
งบส่ วนราชการ
รัฐวิสาหกิจ
บุคลากร
ดาเนินงาน
งบกลาง
ลงทุน
อุดหนุน
รายจ่ ายอืน่
12/44
การจาแนกประเภทงบรายจ่าย
งบดาเนินงาน
หมายถึง รายจ่ายทีก
่ าหนดให้จา่ ยเพือ
่ การบริหารงานประจา ได้แก่ รายจ่าย
ที่จ่ายในลักษณะค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค รวมถึง
รายจ่ายทีก
่ าหนดให้จา่ ยจากงบรายจ่ายอืน
่ ใดในลักษณะรายจ่ายดังกล่าว
งบลงทุน
หมายถึง รายจ่ายทีก
่ าหนดให้จา่ ยเพือ
่ การลงทุน ได้แก่ รายจ่ายทีจ
่ า่ ยใน
ลักษณะค่าครุภณ
ั ฑ์ ค่าทีด
่ น
ิ และสิง่ ก่อสร้าง รวมถึงรายจ่ายทีก
่ าหนดให้จา่ ยจาก
งบรายจ่ายอืน
่ ใดในลักษณะรายจ่ายดังกล่าว
งบเงินอุดหนุน
หมายถึง รายจ่ายทีก
่ าหนดให้จา่ ยเป็นค่าบารุงหรือเพือ
่ ช่วยเหลือ สนับสนุนการ
ดาเนินงานของหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญหรือหน่วยงานของรัฐ หน่วยงาน
ในกากับของรัฐ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน
่
สภาตาบล องค์การระหว่างประเทศ นิติบค
ุ คล เอกชนหรือกิจการอันเป็น
สาธารณประโยชน์ รวมถึง เงินอุดหนุนงบพระมหากษัตริย์ เงินอุดหนุนการ
ศาสนา และรายจ่ายทีส
่ านักงบประมาณกาหนดให้ใช้จา่ ยในงบรายจ่ายนี้
งบรายจ่ายอื่น
หมายถึง รายจ่ายทีไ
่ ม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหนึง่ หรือ
รายจ่ายทีส
่ านักงบประมาณกาหนดให้ใช้จา่ ยในงบรายจ่าย
29
การจาแนกประเภทงบรายจ่าย (ต่อ)
ค่าตอบแทน
ค่าใช้สอย
งบดาเนินงาน
ค่าวัสดุ
ค่าสาธารณูปโภค
เงินทีจ
่ า่ ยตอนแทนให้แก่ผท
ู้ ป
ี่ ฏิบต
ั งิ านให้ทาง
ราชการตามทีก
่ ระทรวงการคลังกาหนด
รายจ่ายเพือ
่ ให้ได้มาซึง่ บริการ (ยกเว้นบริการสาธารณูปโภค
สื่อสารและโทรคมนาคม) รายจ่ายทีเ่ กีย
่ วกับการับรองและพิธก
ี าร
และรายจ่ายทีเ่ กีย
่ วเนือ
่ งกับการปฏิบต
ั ริ าชการทีไ
่ ม่เข้าลักษณะ
รายจ่ายอืน
่ ๆ
รายจ่ายเพือ
่ (1) จัดหาสิง่ ของซึง่ โดยสภาพเมือ
่ ใช้แล้วย่อมสิน
้ เปลือง
หมดไป แปรสภาพ หรือไม่คงสภาพเดิม หรือสิง่ ของทีม
่ ล
ี ก
ั ษณะ
คงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุด ไม่เกิน 5,000 บาท
รวมถึงค่าใช้จา่ ยทีต
่ อ
้ งชาระพร้อมกัน (2) จัดหาโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ทม
ี่ รี าคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน 20,000 บาท
(3) ประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงครุภณ
ั ฑ์ทม
ี่ ว
ี งเงินไม่
เกิน 5,000 บาท ที่ดินและหรือสิง่ ก่อสร้าง ที่มว
ี งเงินไม่เกิน 50,000
บาท (4) ประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงครุภณ
ั ฑ์
คอมพิวเตอร์ ที่มว
ี งเงินไม่เกิน 5,000 บาท (5) ซ่อมแซมบารุงรักษา
ทรัพย์สน
ิ เพือ
่ ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ
รายจ่ายค่าบริการสาธารณูปโภคสือ
่ สารและ
โทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จา่ ยทีต
่ อ
้ งชาระพร้อมกัน
เช่น ค่าบริการ ค่าภาษี เป็นต้น
30
การจาแนกประเภทงบรายจ่าย (ต่อ)
ค่าครุภณ
ั ฑ์
งบลงทุน
ค่าที่ดน
ิ สิง่ ก่อสร้าง
รายจ่ายเพือ
่ (1) จัดหาสิง่ ของทีม
่ ล
ี ก
ั ษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วย
หรือต่อชุดเกินกว่า 5,000 บาท รวมถึงค่าใช้จา่ ยทีต
่ อ
้ งชาระพร้อมกัน
เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตัง้ เป็นต้น
(2) จัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทม
ี่ รี าคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า
20,000 บาท (3) ประกอบ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงครุภณ
ั ฑ์ รวมทัง้
ครุภณ
ั ฑ์คอมพิวเตอร์ทม
ี่ ว
ี งเงินเกินกว่า 5,000 บาท
(4) ซ่อมแซมบารุงรักษาโครงสร้างของครุภณ
ั ฑ์ขนาดใหญ่ เช่น
เครือ
่ งบิน เครือ
่ งจักรกลยานพาหนะ เป็นต้น ซึ่งไม่รวมถึงค่าซ่อมบารุง
ปกติหรือค่าซ่อมกลาง (5) จ้างทีป
่ รึกษาเพือ
่ การจัดหาหรือปรับปรุงครุภณ
ั ฑ์
รายจ่ายเพือ
่ ให้ได้มาซึง่ ทีด
่ น
ิ และหรือสิง่ ก่อสร้าง รวมถึงสิง่ ต่างๆ ซึง่ ติด
ตรึงกับทีด
่ น
ิ และสิง่ ก่อสร้าง เช่น อาคาร บ้านพัก สนามเด็กเล่น สนาม
กีฬา สนามบิน สระว่ายน้า สะพาน ถนน รัว
้ บ่อน้า อ่างเก็บน้า
เขื่อน เป็นต้น รวมถึงรายจ่ายดังต่อไปนี้ (1) ค่าติดตัง้ ระบบไฟฟ้า หรือ
ระบบประปา รวมถึงอุปกรณ์ตา่ งๆ ซึ่งเป็นการติดตัง้ ครัง้ แรกในอาคาร
หรือสถานทีร่ าชการ ทั้งทีเ่ ป็นการดาเนินการพร้อมการก่อสร้างอาคาร
ภายหลังการก่อสร้างอาคาร
(2) รายจ่ายเพือ
่ ประกอบ ดัดแปลง
ต่อเติม หรือปรับปรุงทีด
่ น
ิ และหรือสิง่ ก่อสร้าง ที่มว
ี งเงินเกินกว่า
50,000 บาท เช่น ค่าจัดสวน ค่าถมดิน เป็นต้น (3) รายจ่ายเพือ
่ จ้าง
ออกแบบ จ้างควบคุมงานทีจ
่ า่ ยให้แก่เอกชน หรือนิตบ
ิ ค
ุ คล (4)
รายจ่ายเพือ
่ จ้างทีป
่ รึกษาเพือ
่ การจัดหา หรือปรับปรุง ที่ดน
ิ และหรือ
สิ่งก่อสร้าง (5) รายจ่ายทีเ่ กีย
่ วเนือ
่ งกับทีด
่ น
ิ และหรือสิง่ ก่อสร้าง เช่น
ค่าเวนคืนทีด
่ น
ิ ค่าชดเชยกรรมสิทธิท
์ ด
ี่ น
ิ ค่าชดเชยผลอาสิน เป็นต้น
31
การจาแนกประเภทงบรายจ่าย (ต่อ)
อุดหนุนทัว
่ ไป
เงินที่กาหนดให้จา่ ยตามวัตถุประสงค์ของรายการ เช่น ค่าบารุง
สมาชิกองค์การอุตน
ุ ย
ิ มวิทยาโลก ค่าบารุงสมาชิกสหภาพ
วิทยุกระจายเสียงแห่งเอเซียเงินอุดหนุนเพือ
่ แก้ไขปัญหายาเสพติด
เงินอุดหนุนเพือ
่ บูรณะท้องถิน
่ เป็นต้น
งบเงินอุดหนุน
อุดหนุนเฉพาะกิจ
งบรายจ่ายอื่น
เงินทีก
่ าหนดให้จา่ ยตามวัตถุประสงค์ของรายการและตาม
รายละเอียดทีส
่ านักงบประมาณกาหนด เช่น รายการค่าครุภณ
ั ฑ์
หรือค่าสิง่ ก่อสร้าง เป็นต้น
ได้แก่ (1) เงินราชการลับ (2) เงินค่าปรับทีจ
่ า่ ยคืนให้แก่ผข
ู้ ายหรือผู้
รับจ้าง (3) ค่าจ้างทีป
่ รึกษาเพือ
่ ศึกษา วิจย
ั ประเมินผล หรือพัฒนา
ระบบต่างๆ ซึ่งมิใช่เพือ
่ การจัดหา หรือปรับปรุงครุภณ
ั ฑ์ ที่ดน
ิ และ
หรือสิง่ ก่อสร้าง (4) ค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ
ชั่วคราว (5) ค่าใช้จา่ ยสาหรับหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ
(ส่วนราชการ) (6) ค่าใช้จา่ ยสาหรับกองทุน หรือเงินทุนหมุนเวียน
(7) รายจ่ายเพือ
่ ชาระหนีเ้ งินกู้
32
กาหนดประมาณการความต้ องการเบือ้ งต้ น
(Expense Estimation)
รายจ่ ายประจาขั้นต่าทีจ่ าเป็ น
รายจ่ ายตามข้ อผูกพันทีต่ ้ องจัดสรร
รายจ่ ายตามภารกิจพืน้ ฐาน
รายจ่ ายตามภารกิจยุทธศาสตร์
รักษาระดับการปฏิบตั ิงาน
เพิม่ /ขยายระดับการปฏิบตั ิงาน
ภารกิจตามนโยบายต่ อเนื่อง
ภารกิจตามนโยบายใหม่
สานักงบประมาณ
13/44
กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ าย
รายจ่ ายประจาขั้นต่าทีจ่ าเป็ น
• ค่ าใช้ จ่ายบุคลากร
• ค่ าเช่ าทรัพย์ สิน
• ค่ าสาธารณูปโภค
สานักงบประมาณ
14/44
กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ าย
รายจ่ ายตามข้ อผูกพันทีต่ ้ องจัดสรร
• ภาระหนี้ (รายจ่ ายชาระคืนต้ นเงินกู้ และดอกเบีย้ เงินกู้
• ภาระผูกพันตามงบประมาณ (สั ญญา + มาตรา 23)
• ค่ าตอบแทนพนักงานราชการ
• นักเรียนทุน (ไม่ รวมทุนใหม่ )
• เงินอุดหนุนองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิน่
สานักงบประมาณ
15/44
กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ าย
รายจ่ ายตามภารกิจพืน้ ฐาน
• รายจ่ ายเพือ่ รักษางานเดิม
• รายจ่ ายเพิม่ เป้ าหมาย
สานักงบประมาณ
16/44
กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ าย
รายจ่ ายตามภารกิจยุทธศาสตร์
• รายจ่ ายตามนโยบายสาคัญของรัฐบาล
• รายจ่ ายตามนโยบายอืน่
สานักงบประมาณ
17/44
3R กับการจัดการงบประมาณ
การพิจารณางบประมาณตามแนวทาง 3 R โดยนาหลักการงบประมาณฐานศูนย์
(Zero-Based Budgeting) และการจัดลาดับความสาคัญ (Priority) มาประยุกต์ ใช้
Review = การทบทวนค่ าใช้ จ่ายเดิม จากข้ อมูลรายการโอนงบประมาณ
Redeploy = การทบทวนรายการค่ าใช้ จ่ายที่ไม่ จาเป็ น ในการดาเนินภารกิจ
พืน้ ฐาน
. กรณีทกี่ จิ กรรม/โครงการใดไม่ สอดคล้ องกับนโยบายเร่ งด่ วน ให้
ถือว่ ากิจกรรม/โครงการนั้นเป็ นภารกิจพืน้ ฐาน ควรพิจารณา
จัดสรรเฉพาะงบเพือ่ ทดแทนและบารุ งรักษาเท่ าทีจ่ าเป็ น

5/44
การจัดทางบประมาณ ปี 2555
Replace = การจัดสรรงบประมาณเพิม่ เติม ให้ แก่ งาน/โครงการ/
กิจกรรม ตามนโยบายและยุทธศาสตร์ รัฐบาล/กระทรวง
ภายใต้ กรอบวงเงินทีป่ รับลดได้
. การจัดสรรงบประมาณเพิม่ เติมให้ แก่กจิ กรรมเดิมตามนโยบายและ
ยุทธศาสตร์ รัฐบาล/กระทรวง
. การจัดสรรงบประมาณเพิม่ เติมให้ แก่กจิ กรรมใหม่ ตามนโยบายและ
ยุทธศาสตร์ รัฐบาล/กระทรวง
. การจัดสรรงบประมาณให้ แก่โครงการ ตามนโยบายรัฐบาลและ
ยุทธศาสตร์ รัฐบาล/กระทรวง
5/4fh4
การทบทวนงบประมาณส่ วนราชการและหน่วยงาน
การทบทวนงบประมาณ
ส่ วนราชการ/หน่วยงาน
การทบทวนปรับลด
งบประมาณจากรายการ
โอนเปลี่ยนแปลง
(Review)
การทบทวนปรับลด
งบประมาณจาก
ผลการดาเนินงาน
กิจกรรม/โครงการ
(Redeploy)
การจัดสรรงบประมาณ
เพิ่มเติม
(Replace)
การทบทวนปรับลดงบประมาณจากการ
โอนเปลีย่ นแปลง (Review)
การพิจารณาทบทวนปรับลดงบประมาณ โดยพิจารณาจากการประเมินผลความสาเร็จ
และเกณฑ์ จ่ายจริง หรือข้ อมูลจากแบบรายงานการโอน เพือ่ ใช้ เป็ นข้ อมูลในการพิจารณา
คาของบประมาณ
 ต้ องไม่ มีผลกระทบต่ อเป้ าหมายการดาเนินงานตามนโยบายพืน
้ ฐานแห่ งรัฐที่จาเป็ น
ของหน่ วยงาน
 ปรับลดจากรายการทีโ่ อนเปลีย่ นแปลงงบประมาณในปี ทีผ
่ ่ านมา ใน
บุคลากร งบดาเนินงาน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ ายอืน่ ทีม่ เี หลือจ่ ายและได้ โอน
เปลีย่ นแปลง
 ตรวจสอบเงินกันปี ทีผ
่ ่านมา(ที่ยงั ไม่ ก่อหนีผ้ ูกพัน) ละให้ คดิ เป็ นฐาน เพือ่ จัดทา
งบประมาณปี ต่ อไป
5/4fh4
การทบทวนปรับลดงบประมาณจากผล
การดาเนินงาน (Redeploy)
การพิจารณาทบทวนปรับลดรายการค่ าใช้ จ่ายจากผลการดาเนินงานทีไ่ ด้ ดาเนินการมา
เป็ นระยะเวลาหนึ่ง เช่ น
 รายการงบลงทุนใหม่
 การฝึ กอบรมหลักสู ตรต่ างๆ ทีไ่ ม่ ใช่ พน
ั ธกิจหลัก
 การจ้ างทีป
่ รึกษาที่ยงั ไม่ จาเป็ นและเร่ งด่ วน
 การเดินทางไปต่ างประเทศทีไ่ ม่ จาเป็ น ยกเว้ น กรณีไปปฏิบัติภารกิจตาม
พันธกิจ สนธิสัญญาหรือข้ อผูกพันทาง กฎหมาย
 โครงการศึกษาวิจัยทีข
่ าดรายละเอียดโครงการ ขาดความพร้ อม ขาดข้ อมูลที่
แสดงถึงศักยภาพในการนาไปใช้ ประโยชน์ เพือ่ การพัฒนาประเทศ
5/4fh4
การจัดสรรงบประมาณเพิม่ เติม(Replace)
การพิจารณานาวงเงินงบประมาณจากการปรับลดงบประมาณภายใต้ วงเงินเดิมและเงินกันของ
แต่ ละหน่ วนงาน (Review + Redeploy +เงินกัน) มาจัดสรรงบประมาณ
เพิม่ เติม ให้ แก่งาน/โครงการ/กิจกรรม ตามนโยบายและยุทธศาสตร์ ของรัฐบาล /กระทรวง ทีม่ ี
รายละเอียดและความพร้ อมในการดาเนินงาน โดยพิจารณาจัดสรรงบประมาณเพิม่ เติมตาม
หลักเกณฑ์ ดังนี้
 งาน/โครงการ/กิจกรรมเดิมทีเ่ ป็ นนโยบายเร่ งด่ วนของรัฐบาล/กระทรวงให้ จัดสรร
เพิม่ เติมให้
 ในกรณีทยี่ งั มีวงเงินคงเหลือ ให้ พจิ ารณาจัดสรรให้ งาน/โครงการ/กิจกรรมใหม่ ที่
เป็ นนโยบายเร่ งด่ วนของรัฐบาล/กระทรวง
 งาน/โครงการ/กิจกรรมเดิมและใหม่ ทเี่ ป็ นนโยบายเร่ งด่ วนของรัฐบาล/กระทรวงทีจ
่ะ
ดาเนินการและได้ รับการจัดสรรงบประมาณไม่ เพียงพอ ให้ พจิ ารณาจัดสรร
5/4fh4
งบประมาณเพิม่ เติม
ปฏิทนิ งบประมาณรายจ่ ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2556
ลา
ดับ
วัน/เดือน/ปี
1
15 ม.ค. 55
ขั้นตอนและกิจกรรม
- ครม. พิจารณาให้ความเห็นชอบปฏิทินงบประมาณประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2556
2
6 – 14 ก.พ. 55
21 ก.พ. 55
- กระทรวงการคลัง สานักงบประมาณ สานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และธนาคารแห่งประเทศไทย
ประชุมร่ วมกันเพื่อกาหนดประมาณการรายได้ วงเงินงบประมาณ
รายจ่ายและโครงสร้างงบประมาณรายจ่าย ประจาปี งบประมาณ พ.ศ.
2556
- ครม. ให้ความเห็นชอบนโยบายงบประมาณ วงเงิน โครงสร้าง
งบประมาณรายจ่ายประจาปี ฯ ยุทธศาสตร์การจัดสรรฯ ที่สอดคล้อง
กับแผนบริ หารราชการแผ่นดิน
ปฏิทนิ งบประมาณรายจ่ ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2556
ลา
ดับ
วัน/เดือน/ปี
3
23 ก.พ. 55
ขั้นตอนและกิจกรรม
- นายกรัฐมนตรี มอบนโยบายการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2556 และกาหนดนโยบายสาคัญที่ให้มีการประชุม
เชิงปฏิบตั ิการ
22 -24 ก.พ. 55
4
27 ก.พ. – 2 มี.ค. 55
- รองนายกรัฐมนตรี ที่รับผิดชอบหรื อรัฐมนตรี เจ้าสังกัดมอบนโยบาย
ให้กระทรวง ส่ วนราชการ รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอื่นจัดทา
เป้ าหมายและยุทธศาสตร์กระทรวงที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การ
จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2556 ตามที่
ครม. ให้ความเห็นชอบ
-สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการและหน่วยงานเจ้าภาพ
หลักจัดประชุมเชิงปฏิบตั ิการเกี่ยวกับแผน/มาตรการดาเนินงานตาม
นโยบายรัฐบาลที่นายกรัฐมนตรี กาหนด
ปฏิทนิ งบประมาณรายจ่ ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2556
ลา
ดับ
วัน/เดือน/ปี
ขั้นตอนและกิจกรรม
5
22 ก.พ. – 16 มี.ค. 55
(24 วัน)
- ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอื่นจัดทารายละเอียดวงเงิน
19 มี.ค. – 17 เม.ย. 55
(30 วัน)
17 – 18 เม.ย. 55
-สานักงบประมาณพิจารณาเพื่อนาเสนอคณะรัฐมนตรี
6
7
และคาของบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2556 เสนอ
รองนายกรัฐมนตรี หรื อรัฐมนตรี เจ้าสังกัดพิจารณาและส่ งสานัก
งบประมาณ
-สานักงบประมาณเสนอรายละเอียดงบประมาณต่อนายกรัฐมนตรี
เพื่อนาเสนอคณะรัฐมนตรี
ปฏิทนิ งบประมาณรายจ่ ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2556
ลา
ดับ
วัน/เดือน/ปี
8
24 เม.ย. 55
9
25 – 27 เม.ย. 55
10
30 เม.ย. – 11 พ.ค. 55
ขั้นตอนและกิจกรรม
- คณะรัฐมนตรี พิจารณาให้ความเห็นชอบรายละเอียดงบประมาณ
พร้อมหลักเกณฑ์การกรับปรุ งงบประมาณฯ
-รองนายกรัฐมนตรี หรื อรัฐมนตรี เจ้าสังกัดมอบนโยบายให้กระทรวง
ส่ วนราชการ รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอื่นปรับปรุ งรายละเอียด
งบประมาณและส่ ง สงป.
-สงป. พิจารณาและปรับปรุ งรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจาปี
ฯ เพื่อนาเสนอคณะรัฐมนตรี
ปฏิทนิ งบประมาณรายจ่ ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2556
ลา
ดับ
วัน/เดือน/ปี
ขั้นตอนและกิจกรรม
11
15 พ.ค. 55
-คณะรัฐมนตรี พิจารณาให้ความเห็นชอบการปรับปรุ งงบประมาณฯ
12
16 – 25 พ.ค. 55
- สงป. จัดพิมพ์ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี ฯ
และเอกสารงบประมาณ
13
29 พ.ค. 55
- คณะรัฐมนตรี พิจารณาให้ความเห็นชอบร่ าง พรบ. งบประมาณ
รายจ่ายประจาปี ฯ 2556 และนาเสนอสภาผูแ้ ทนราษฎร
14
13 – 14 มิ.ย. 55
-สภาผูแ้ ทนราษฎรพิจารณาร่ าง พรบ. งบประมาณฯ ปี 2556
ในวาระที่ 1
ปฏิทนิ งบประมาณรายจ่ ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2556
ลา
ดับ
วัน/เดือน/ปี
15
22 – 23 ส.ค. 55
ขั้นตอนและกิจกรรม
- สภาผูแ้ ทนราษฎรพิจารณาร่ าง พรบ. งบประมาณฯ ปี 2556
ในวาระที่ 2 - 3
16
10 ก.ย. 55
-วุฒิสภาพิจารณาร่ าง พรบ. งบประมาณฯ ปี 2556
17
14 ก.ย. 55
-สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี นาร่ างพระราชบัญญัติงบประมาณ
รายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2556 ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อ
ประกาศบังคับใช้เป็ นกฎหมายต่อไป
การอนุมัตงิ บประมาณ (Budget Adoption)
การอนุมตั งิ บประมาณ คือ การทีฝ่ ่ ายนิตบิ ัญญัติ หรือ
รัฐสภาพิจารณางบประมาณทีฝ่ ่ ายบริหารหรือรัฐบาล
จัดเตรียมและนาเสนอในรู ปร่ างพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ ายประจาปี
18/44
37/44
การบริหารงบประมาณ (Budget Execution)
การบริ ห ารงบประมาณ คือ การใช้ จ่ายงบประมาณให้ เป็ นไป
ตามที่ ฝ่ ายนิ ติ บั ญ ญั ติ ห รื อ รั ฐ สภาอนุ มั ติ โดยส่ วนราชการ/
รั ฐ วิ ส าหกิ จ จะจั ด ท าแผนปฏิ บั ติ ง านและแผนการใช้ จ่ า ยเงิ น
งบประมาณเสนอสานักงบประมาณ เพือ่ ขอความเห็นชอบ และขอ
อนุมัตจิ ดั สรรเงิน(ประจางวด)จากสานักงบประมาณ รวมทั้งวางฎีกา
ขอเบิกจ่ ายเงินจากกรมบัญชีกลาง เพือ่ นาเงินมาใช้ จ่ายต่ อไป
19/44
การบริหารงบประมาณ (Budget Execution)
1
2
3
พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502
และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ
พ.ศ.2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการ
พัสด ุ พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
20/44
การบริหารงบประมาณ (Budget Execution)
ส่ วนราชการจั ด ท าแผนการปฏิ บั ติ ง านและแผนการใช้ จ่ า ยเงิ น
งบประมาณ ตามแบบฟอร์ มที่สานักงบประมาณกาหนด คือ สงป.
301 สงป.302 สงป. 302/1 สงป. 302/2 สงป. 302/3 ส่ งสานัก
งบประมาณให้ ความเห็นชอบก่ อนวันเริ่มต้ นปี งบประมาณไม่ น้อย
กว่ า 15 วัน
21/44
การบริหารงบประมาณ (Budget Execution)
การวางฎีกากับกรมบัญชีกลาง
เมื่อส่ วนราชการได้รับเงินประจางวดจากสานักงบประมาณแล้ว
จะไปวางฎีกาขอเบิกจ่ายเงินจากกรมบัญชีกลาง (ส่ วนกลาง) หรื อ
คลังจังหวัด (ส่ วนภูมิภาค)
กรมบัญชีกลางจะพิจารณาหลักฐาน/รายละเอียดและอนุมตั ิฎีกา
ตามระเบียบที่กาหนดไว้เพื่อให้ส่วนราชการเบิกเงินไปใช้จ่าย
ต่อไป ปัจจุบนั ดาเนินการผ่าน ระบบ GFMIS
22/44
การบริหารงบประมาณ (Budget Execution)
23/44
กรอบการบริหารงบประมาณ
(แนวทางปฏิบัติ)
ระเบียบว่ าด้ วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548
และ ที่แก้ไขเพิม่ เติม
การบริหารงบประมาณ (Budget Execution)
1. งบบุคลากร
ภายใต้ แผนงานเดียวกัน
ถัวจ่ ายกันได้ ภายในงบนี้ ยกเว้ น เงินเดือน/ค่ าจ้ างประจา
อัตราตั้งใหม่ ให้ จ่ายได้ ตามที่กาหนดในใบยืนยันยอด
หรือ ตามที่ได้ รับความตกลงกับสานักงบประมาณ
สาหรับ ค่ าจ้ างชั่วคราว
ไม่ ต้องยืนยันยอดกับสานักงบประมาณ
24/44
การบริหารงบประมาณ (Budget Execution)
2. งบดาเนินงาน ถัวจ่ ายกันได้ ภายในงบนี้
ยกเว้ น รายจ่ ายประเภท
ค่ าสาธารณูปโภค จะนาไปใช้
จ่ ายในประเภทอืน่ ได้ ก็ต่อเมือ่
ไม่ มหี นีค้ ่ าสาธารณูปโภคค้ างชาระ
3. งบลงทุน
ให้ ใช้ จ่ายตามรายการ และวงเงิน
ที่ได้ รับจัดสรร
25/44
การบริหารงบประมาณ (Budget Execution)
4. งบเงินอุดหนุน
4.1 เงินอุดหนุนทัว่ ไป
ให้ ใช้ จ่ายตามรายการและ
จานวนเงินที่กาหนด
4.2 เงินอุดหนุน
เฉพาะกิจ
ให้ ใช้ จ่ายตามรายการและจานวน
เงินที่กาหนด และหากเบิกจ่ ายใน
ลักษณะงบรายจ่ ายใด(งบบุคลากร/
งบดาเนินงาน/งบลงทุน) ก็ถือปฏิบัติ
26/44
เหมือนงบรายจ่ ายนั้น
การบริหารงบประมาณ (Budget Execution)
่
5. งบรายจ่ ายอืน
ให้ ใช้ จ่ายตามรายการและจานวนเงินที่กาหนด
และหากเบิกจ่ ายในลักษณะงบรายจ่ ายใด(งบบุคลากร/
งบดาเนินงาน/งบลงทุน) ถือปฏิบัตเิ หมือนงบรายจ่ ายนั้น
(ข้ อ 22)
27/44
การบริหารงบประมาณ (Budget Execution)
28/44
การบริหารงบประมาณ (Budget Execution)
การโอน/เปลีย่ นแปลงงบประมาณ
กรณีทสี่ ่ วนราชการมีเหตุผลความจาเป็ นไม่ สามารถดาเนินงาน/
ใช้ จ่ายเงินงบประมาณตามรายการทีไ่ ด้ รับอนุมัตจิ ากรัฐสภาได้
ส่ วนราชการสามารถขอโอน/เปลีย่ นแปลงงบประมาณกับ
สานักงบประมาณได้ ทั้งนี้ เป็ นไปตาม พรบ. วิธีการงบประมาณ
พ.ศ. 2502 และทีแ่ ก้ ไขเพิม่ เติม และระเบียบบริหารงบประมาณ
ปี 2548 และทีแ่ ก้ ไขเพิม่ เติม
29/44
หลักการสาคัญของ
ระเบียบฯ
ประการแรก กาหนดวิธีการจัดสรร
งบประมาณ/โอนเปลี่ยนแปลงฯ โดยเน้ นที่
ความคล่องตัว/เน้ นการกระจายอานาจ
และเน้ นที่จะลดขัน้ ตอนต่างๆที่ไม่จาเปน
ประการที่สอง กาหนดให้มีการมอบอานาจและความ
รับผิดชอบให้กบั หัวหน้ า
ส่วนราชการฯ เจ้าของ
เงิ นงบประมาณโดยตรงเปนสาคัญ
 ให้ใช้จ่ายตามรายการที่ระบุในเอกสารประกอบ พ.ร.บ.
หลักเกณฑ์และ
แนววิธีการปฏิบตั ิ
หรือตามแผนการ ใช้จ่ายงบประมาณของส่วน
ราชการฯ หรือที่ได้อนุมตั ิ โอนเปลี่ยนแปลง
 ให้ใช้จ่ายเพื่อบรรลุวต
ั ถุประสงค์และเป้ าหมายผลผลิ ต
ของโครงการ
การบริหารงบฯ สาหรับส่วนราชการ
 ส่วนราชการฯ รับผิ ดชอบรายละเอียด/ รูปแบบ/ การจัดซื้อจัดจ้างให้เปนไปตามรายการที่ได้รบ
ั จัดสรรงบฯ กรณี เกิ ด
การผิดพลาดในข้อความและไม่ผิดวัตถุประสงค์ของการ
ใช้จ่าย ให้หวั หน้ าส่วนราชการฯ แก้ไขรายการได้
 เพื่อแก้ไขปั ญหาในการดาเนิ นงาน
 เพิ่ อเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพการให้บริ การ
 เพื่อเพิ่ มคุณภาพการให้บริ การ
 กรอบหลักการใน
การโอนเปลี่ยนแปลง
งบประมาณฯ
โดยต้องคานึ งถึง




ประโยชน์ ของประชาชน
ความประหยัด
ความคุ้มค่า
ความโปร่งใส
ทัง้ นี้ ต้องไม่ทาให้ วัตถุประสงค์เป้ าหมาย/ ผลผลิ ต โครงการตามแผนฯ
เปลี่ยนแปลงลดลงในสาระสาคัญ และต้องไม่มีค่าสาธารณูปโภคค้าง
ชาระเมื่อสิ้ นปี งบประมาณ (ข้อ 23)
การโอนและหรือเปลีย่ นแปลงรายการงบประมาณ
ต้ องดาเนินการเพือ่
แก้ ไขปัญหาในการดาเนินงาน หรือ
เพิม่ ประสิ ทธิภาพ หรือคุณภาพการให้ บริการ หรือ
การพัฒนาบุคลากรหรือเทคโนโลยี
โดยต้ องคานึงถึง
ความประหยัด ความคุ้มค่ า
และต้ องแสดงเหตุผล ความจาเป็ นหรือความเหมาะสมได้
และต้ อง(ไม่ )
ไม่ ทาให้ เป้าหมายผลผลิตตามแผนการปฏิบัติงานและ
แผนการใช้ จ่ายงบประมาณ ลดลง ในสาระสาคัญ
ไม่ มีหนีค้ ่ าสาธารณูปโภคค้ างชาระเมื่อสิ้นปี งบประมาณ
(ข้ อ 23)
30/44
ทัง้ นี้ หัวหน้ าส่วนราชการสามารถโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ ได้ตาม
กรอบดังกล่าวใน 3 ลักษณะ คือ
ลักษณะที่ 1 การโอนเปลี่ยนแปลงระหว่างงบรายจ่าย และระหว่างผลผลิต/โครงการ ภายใต้แผน
งบประมาณเดียวกัน หัวหน้ าส่วนราชการฯ สามารถโอนเปลี่ยนแปลงได้ด้วยตนเอง ได้
ทุกงบรายจ่าย ยกเว้นงบบุคลากร (ข้อ 24)
ยกเว้น :
(1) ต้องไม่เปนการกาหนดอัตราข้าราชการใหม่
(2) จัดหาครุภณ
ั ฑ์ยานพาหนะ
(3) ค่าที่ดิน
(4) ต้องไม่เปนค่าเดิ นทางไป ตปท. ที่ไม่ได้กาหนดไว้ ในแผนฯ
(5) ค่าครุภณ
ั ฑ์ ราคาต่อหน่ วยเกิ นกว่า 1 ล้านบาท หรือค่าสิ่ งก่อสร้าง ราคาต่อหน่ วยเกิ น
กว่า 10 ล้านบาท
(6) ต้องไม่เปนรายการก่อหนี้ ผกู พันข้ามปี งบประมาณ
การโอนและหรือเปลีย่ นแปลงงบประมาณ
ภายใต้ แผนงานเดียวกัน
(ข้ อ 24)
อานาจหัวหน้ าส่ วนราชการดาเนินการได้
ทุกงบรายจ่ าย ยกเว้ นงบบุคลากร
31/44
งบเงินอุดหนุน
งบรายจ่ ายอืน่
งบดาเนินงาน
โดยมีข้อยกเว้ น 5 เรื่อง
32/44
ข้ อห้ ามที่ไม่ สามารถดาเนินการได้ ตาม ข้ อ 24
1. กาหนดอัตราบุคลากรตั้งใหม่
2. จัดหาครุภัณฑ์ ยานพาหนะ
3. ค่ าทีด่ ิน
4. ค่ าใช้ จ่ายในการเดินทางไปราชการต่ างประเทศทีไ่ ม่ ได้ กาหนดไว้
ในแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้ จ่ายงบประมาณ
5. การจัดหาครุภัณฑ์ หรือสิ่ งก่อสร้ างทีม่ ีวงเงินต่ อหน่ วยเกินกว่ า 1
ล้านบาท และ 10 ล้านบาท
33/44
ทัง้ นี้ หัวหน้ าส่วนราชการสามารถโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ ได้
ตามกรอบดังกล่าวใน 3 ลักษณะ คือ
ลักษณะที่ 2
ยกเว้น :
การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ ทีเ่ หลือจ่าย ภายใต้แผนงบประมาณเดียวกัน ต้องเปนงบฯ
เหลือจ่ายจากการบรรลุเป้ าหมาย หรือหลังการจัดซื้อจัดจ้างแล้ว หัวหน้ าส่วนราชการฯ สามารถ
โอนเงิ นเหลือจ่ายดังกล่าวไปใช้จ่ายในรายการภายใต้ แผนงบประมาณเดียวกันได้ด้วย
ตนเอง (ข้อ 25)
(1) ต้องไม่เปนรายการค่าที่ดิน
(2) ต้องไม่เปนรายการก่อหนี้ ผกู พันข้ามปี งบประมาณ
(3) การใช้จ่ายหรือสมทบค่าใช้จ่ายในการเดิ นทางไปราชการต่างประเทศที่ไม่ได้กาหนดไว้ใน
แผนการปฏิ บตั ิ งานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ
(4) การจัดหาครุภณ
ั ฑ์หรือสิ่ งก่อสร้างที่มีวงเงิ นต่อหน่ วยเกิ นกว่า 1ล้านบาท และ 10 ล้านบาท
(5) จัดหาครุภณ
ั ฑ์ยานพาหนะใหม่ (ยกเว้นทดแทน)
(6) ต้องไม่มีหนี้ สาธารณูปโภค/ ค่าใช้จ่ายที่ผกู พันตามกฎหมายค้างชาระ
(4
ทัง้ นี้ ให้หวั หน้ าส่วนราชการฯ รายงานการโอนเปลี่ยนแปลง ต่อ สงป. ไม่เกิน 15 วัน ตามแบบ
สงป. กาหนด (ข้อ 28 ระเบียบบริหารฯ 48)
หัวหน้ าส่ วนราชการฯ มีอานาจโอนและหรือเปลีย่ นแปลงเงินเหลือจ่ าย
ภายใต้แผนงานเดียวกัน (ข้อ 25)
ซึ่งดาเนินการบรรลุผลตามทีไ่ ด้ กาหนดไว้ แล้ ว
ไป
รายการทีก่ าหนดไว้ เดิมหรือรายการใหม่ ได้ โดยมีข้อยกเว้ น 5 เรื่อง
แต่ ถ้า
มีหนีค้ ่ าสาธารณูปโภคค้ างชาระ ให้ โอนไปชาระหนีค้ ่ าสาธารณูปโภคก่ อน
34/44
ข้ อยกเว้ นที่ส่วนราชการไม่ สามารถดาเนินการได้ เองตาม
ข้ อ 25





กาหนดอัตราบุคลากรตั้งใหม่
ค่ าทีด่ ิน หรือรายการก่อหนีผ้ ูกพัน
การใช้ จ่ายหรือสมทบค่ าใช้ จ่ายในการเดินทางไปราชการต่ างประเทศที่
ไม่ ได้ กาหนดไว้ ในแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้ จ่ายงบประมาณ
การจัดหาครุภัณฑ์ หรือสิ่ งก่อสร้ างทีม่ ีวงเงินต่ อหน่ วยสู งกว่ า 1ล้านบาท
และ 10 ล้านบาท
จัดหาครุภัณฑ์ ยานพาหนะใหม่ (ยกเว้ นทดแทน)
35/44
ทัง้ นี้ หัวหน้ าส่วนราชการสามารถโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ ได้
ตามกรอบดังกล่าวใน 3 ลักษณะ คือ
ลักษณะที่ 3
การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ ไปเพิ่ มวงเงิ นค่าครุภณ
ั ฑ์และสิ่ งก่อสร้าง ภายใต้แผน
งบประมาณเดียวกัน
เนื่ องจากได้ดาเนิ นการจัดหาแล้วเกิ นวงเงิ นที่ได้รบั ทัง้ นี้ วงเงิ น
ส่วนเกิ นดังกล่าวต้องไม่เกิ น 10% ของวงเงิ นงบประมาณ หัวหน้ าส่วนราชการฯ สามารถโอนเงิ น
จากงบรายจ่ายใดๆ หรือนาเงิ นนอกงบประมาณมาสมทบเพิ่ มเติ มได้ (ข้อ 26)
ทัง้ นี้ ให้หวั หน้ าส่วนราชการฯ รายงานการโอนเปลี่ยนแปลง ต่อ สงป. ไม่เกิน 15 วัน ตามแบบ
สงป. กาหนด (ข้อ 28 ระเบียบบริหารฯ 48)
การเพิม่ วงเงินในการจัดหา
ครุภณ
ั ฑ์ / สิ่ งก่อสร้ าง
( ข้ อ 26 )
ส่ วนราชการฯ ได้ รับการจัดสรรงบประมาณสาหรับรายการครุภัณฑ์ / สิ่ งก่อสร้ าง
(ทีม่ ิใช่ รายการผูกพันข้ ามปี งบประมาณ)
หากไม่ สามารถจัดหาได้ ตามวงเงินที่ได้ รับจัดสรร
หัวหน้ าส่ วนราชการฯ สามารถโอนและหรือเปลีย่ นแปลงงบรายจ่ ายต่ างๆ
ภายใต้ แผนงานเดียวกัน ไปเพิม่ วงเงินในรายการครุภัณฑ์ / สิ่ งก่อสร้ างได้
ไม่ เกินร้ อยละ 10 ของวงเงินทีไ่ ด้ รับจัดสรร
และ
สามารถนาเงินนอกงบประมาณหรือเงินอืน่ ใด
มาใช้ ตามหลักเกณฑ์ ข้างต้ นได้
36/44
ขอบเขตบังคับใช้ของระเบียบฯ
ระเบียบนี้ ใช้บงั คับ สาหรับ
(1) ส่วนราชการ ตามนัยมาตรา 4 พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณฯ
(2) รัฐวิสาหกิจ
ขอบเขตของระเบียบนี้ ไม่ครอบคลุมการบริหารงบฯ ของ
(1) รัฐวิสาหกิจที่ไม่ได้รบั จัดสรรงบประมาณรายจ่าย
(2) หน่ วยงานบริหารราชการส่วนท้องถิ่น (อบจ. อบต. เทศบาล และอื่นๆ)
(3) หน่ วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ กรณี ที่มีกฎ ระเบียบของตนเอง
สาระสาคัญโดยสรุป
ของระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551
- เพื่อประโยชน์ ในการบริหารงบประมาณรายจ่ายของจังหวัด ผูว้ ่าราชการจังหวัด
อาจมอบอานาจเกี่ยวกับการใช้จ่ายงบประมาณให้แก่หวั หน้ าหน่ วยงาน
ภายในจังหวัด*ที่ต้องปฏิบตั ิ งานตามแผนการปฏิบตั ิ งานและแผนการใช้จ่าย
งบประมาณกได้
- ให้ผวู้ ่าราชการจังหวัดที่ได้รบั การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายของจังหวัด มีหน้ าที่
ควบคุมกากับดูแลการใช้จ่ายงบประมาณของหัวหน้ าหน่ วยงานภายในจังหวัด
ให้เปนไปโดยสอดคล้องกับแผนการปฏิบตั ิ งานและแผนการใช้จ่าย
งบประมาณตามแผนพัฒนาจังหวัด เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธ์ ิ ในการให้บริการ
สาธารณะภายในจังหวัด
* หัวหน้ าหน่ วยงานภายในจังหวัด หมายถึง หัวหน้ าหน่ วยงานของส่วนราชการซึ่งเปน
ราชการบริหารส่วนภูมิภาค (ระดับจังหวัดหรืออาเภอ) ที่อยู่ในความควบคุมบังคับบัญชา
ของผูว้ ่าราชการจังหวัด
37/44
การควบคุมงบประมาณ (Budget Control)
การควบคุมงบประมาณโดยส่ วนราชการ
ในการปฏิบัติงานและใช้ จ่ายเงินงบประมาณ ส่ วนราชการ
เจ้ าของงบประมาณต้ องปฏิบัติให้ เป็ นไปที่ได้ รับ อนุมัติจาก
รัฐสภา และตามกฎหมาย กฎระเบียบ และมติคณะรัฐมนตรี
ที่เกี่ยวข้ อง รวมทั้งมีการรายงานผลการปฏิบัติง านและการ
ใช้ จ่ายเงินให้ สานักงบประมาณและหน่ วยงานทีเ่ กี่ยวข้ อง
38/44
การควบคุมงบประมาณ (Budget Control)
การควบคุมงบประมาณโดยสานักงบประมาณ
สานักงบประมาณ โดยสานักประเมินผล และสานักจัดทา
งบประมาณด้ านต่ างๆ จะมีการติดตามและประเมินผล
การปฏิบัตงิ านและการใช้ จ่ายเงินงบประมาณ
ของส่ วนราชการและรัฐวิสาหกิจ
39/44
การควบคุมงบประมาณของสานักงบประมาณ
การติดตามผล
สงป. 301 และ สงป. 302
การประเมินผล
โครงการสาคัญ
การควบคุมงบประมาณ (Budget Control)
การควบคุมงบประมาณโดยสานักงบประมาณ
มีเครื่ องมือและวิธีการต่างๆ ดังนี้
1. การรายงาน แผน/ผล การปฏิบตั ิงานและการใช้จ่าย
งบประมาณ แบบรายงาน สงป.301, สงป. 302.
สงป.302/1, สงป.302/2 และ สงป. 302/3
2. การรายงานการติดตามผลเฉพาะเรื่องหรือกรณี
แบบเร่ งด่ วน
40/44
การควบคุมงบประมาณ (Budget Control)
การควบคุมงบประมาณโดยสานักงบประมาณ
3. การประเมินผล ผลผลิต ผลลัพธ์ ในเชิงลึก (In-depth)
- วิเคราะห์ผลผลิตและงาน/โครงการก่อนจัดสรร
งบประมาณ
- ประเมินผลระหว่างการดาเนินงาน
- ประเมินผลผลลัพธ์ จากผลการดาเนินงาน
41/44
การควบคุมงบประมาณ (Budget Control)
การควบคุมงบประมาณโดยสานักงบประมาณ
4. วิธีการรายงานผล On Line ผ่านระบบ BIS
5. วิธีการวิเคราะห์ผลสาเร็ จจากการใช้จ่ายงบประมาณ
โดยเครื่ องมือ PART
42/44
ข้อเสนอแนวทางการบูรณาการงบประมาณในมิตพ
ิ น
ื้ ที่
แผนพัฒนาจังหวัดและกลุม
่ จังหวัด
และแผนปฏิบต
ั ิราชการจังหวัดและกลุม
่ จังหวัด
จั ง หวั ด เป็นหน่วยงานหลัก ประสานการ
ดาเนินการและบูรณาการ งบประมาณ
แผนพั ฒ นา/แผนปฏิ บั ติ
ราชการ
จั ง หวั ด/กลุ่ ม จั ง หวั ด
ส่ ว นราชการ
ส่ ว นภู มิ ภ าค
แผนปฏิ บั ติ ร าชการ
4 ปี
และ 1 ปี
ของ ส่ ว นราชการ
กลุ่ ม จั ง หวั ด
จั ง หวั ด
จั ง หวั ด มอบหมายเจ้าหน้าทีข
่ องส่วนราชการที่
ประจาอยูใ่ นพื้นทีจ
่ ังหวัด ทาหน้าทีป
่ ระสานงานกับ
ส่วนราชการในส่วนกลาง เพื่อให้การจัดทา
แผนปฏิบัติราชการฯ ของส่วนราชการสอดคล้องกับ
แผนพัฒนา /แผนปฏิบัติราชการของจังหวัด/กลุ่ม
จังหวัด
ส่ ว นราชการ
ส่ ว นกลาง
อื่ นๆ
ภาคเอกชน
อปท.
แผนปฏิ บั ติ ง านระยาว
/สั้ น
ของ อปท.
ป. โดยกลุม
่ การจัดการงบประมาณ
จังหวัดฯ (CBO)
งสานักจัดทาฯ ที่เกีย
่ วข้อง
1
CBO
สานักจัดทาด้าน…
คกก.พิจารณา งปม. ปี 53
ชุดที่ 1
สงป.
ครม. เห็นชอบแผนพัฒนา/แผนปฏิบต
ั ิ
ราชการ จังหวัดและกลุม
่ จังหวัด
CBO
สานักจัดทาด้าน…
คกก.พิจารณา งปม. ปี 53
ชุดที่ 2
CBO
สานักจัดทาด้าน…
คกก.พิจารณา งปม. ปี 53
ชุดที่ 3…
2
CBO ร่วมในทุกคณะกรรมการ
พิจารณางบประมาณทุกชุด
ของ สงป.
85
ตอบข้ อซักถาม
48/48