การศึกษา

Download Report

Transcript การศึกษา

รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐
ม.๔๙ บุคคลย่ อมมีสิทธิเสมอกันในการรั บการศึกษา
ไม่ น้อยกว่ าสิบสองปี ที่รัฐจะต้ องจัดให้ อย่ างทั่วถึง
และมีคุณภาพ โดยไม่ เก็บค่ าใช้ จ่าย
ม.๕๐บุคคลย่ อมมีเสรี ภาพในทางวิชาการ การศึกษาอบรม
การเรี ยนการสอน การวิจัย และเผยแพร่ งานงานวิจัย
พ.ร.บ.การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒
ม.๔ “การศึกษา” กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญ
งอกงามของบุคคลและสังคม
ม.๖ การจัดการศึกษาต้ องเป็ นไปเพื่อพัฒนาคนไทย
ให้ เป็ นมนุษย์ ท่ สี มบูรณ์
ม.๘ การจัดการศึกษาให้ ยดึ หลัก ดังนี ้
(๑) เป็ นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน
(๒) ให้ สังคมมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา
(๓) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้
เป็ นไปอย่ างต่ อเนื่อง
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
(พ.ศ.๒๕๕๒ – ๒๕๖๑)
1) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและการเรี ยนรู้
ของคนไทย โอกาสทางการศึกษา และการเรี ยนรู้
2) เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและเรี ยนรู้ อย่ างทั่วถึง
และมีคุณภาพ
3) ส่ งเสริมการมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วนของสังคม
ในการบริหารและจัดการศึกษา
บทบาท อานาจ หน้ าทีข่ องคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
พ.ร.บ.การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และแก้ ไขเพิม่ เติม
พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๔๐ และพ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษา พ.ศ.๒๕๔๖ มาตรา ๓๘
๑. กากับและส่ งเสริม สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา
๑) พิจารณาให้ ความเห็นและมีส่วนร่ วมในการกาหนดเป้ าหมาย
แผนงาน และมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษา
๒) ติดตามการดาเนินงานตามเป้าหมาย แผนงานและมาตรฐาน
การปฏิบัติงานของสถานศึกษา
๓) พิจารณาให้ ความเห็นและมีส่วนร่ วมในการปรับเป้าหมาย แผนงาน
และมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษา
๔) ให้ ความเห็นชอบรายงานประจาปี และรายงานผลการดาเนินงาน
จัดการศึกษาของสถานศึกษา
ส่ งเสริมและสนับสนุนกิจการของสถานศึกษา
ด้ านวิชาการ
๑) การพัฒนาสาระหลักสู ตรสถานศึกษา
๒) การจัดบรรยากาศสภาพแวดล้ อมภายในสถานศึกษา
๓) การจัดกระบวนการเรียนรู้ ของสถานศึกษา
๔) การจัดระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และสมศ.
๕) การจัดให้ ผ้ ูเรียนได้ รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้ IT
ด้ านงบประมาณ
๑) พิจารณาและให้ การส่ งเสริม สนับสนุนเกีย่ วกับการบริหาร
ประมาณของสถานศึกษาให้ มคี วามคล่ องตัว
๒) ส่ งเสริม สนับสนุนการจัดหารายได้ การจัดหาผลประโยชน์
จากทรัพย์ สิน และการระดมทรัพยากรของสถานศึกษา
ด้ านการบริหารงานบุคคล
๑) พิจารณาและสนับสนุน ส่ งเสริมให้ บุคลากรได้ รับการพัฒนา
มีขวัญกาลังใจ ในการปฏิบัตหิ น้ าทีแ่ ละมีโอกาสก้ าวหน้ าในวิชาชีพ
๒) ร่ วมกับสถานศึกษาพิจารณาแนวทางในการให้ ได้ มาซึ่งครู ทมี่ ี
จานวนเพียงพอต่ อการเรียนการสอนในสถานศึกษา
การบริหารสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ตามหลักการบริหารจัดการบ้ านเมืองและสั งคมที่ดี
๑. หลักนิตธิ รรม ใช้ กฎหมายเป็ นเครื่องมือในการปฏิบตั ิงาน
กับผู้ทเี่ กีย่ วข้ องทุกฝ่ าย
๒. หลักคุณธรรม ยึดมัน่ ในความถูกต้ องดีงามในการปฏิบัติหน้ าที่
เป็ นตัวอย่ างแก่ สังคม มีความซื่อสั ตย์ จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบ
วินัย และประกอบอาชีพทีส่ ุ จริต
๓. หลักความโปร่ งใส การทางานทุกขั้นตอนต้ องยึดหลักโปร่ งใส
เพือ่ สร้ างความไว้ วางใจซึ่งกันและกัน มีการปรับปรุงกลไกการ
ทางานร่ วมกันให้ สามารถตรวจสอบได้
๔. หลักการมีส่วนร่ วม มีการเปิ ดโอกาสให้ ประชาชนและผู้ที่
เกีย่ วข้ องทุกฝ่ ายเข้ ามาและเสนอความคิดเห็นในการตัดสิ นใจ
แก้ ปัญหาสาคัญในการบริหารและจัดการศึกษา
๕. หลักความรับผิดชอบ มีความตระหนักในสิ ทธิหน้ าทีข่ องตนเอง
และผู้อนื่ สานึกและรับผิดชอบในการตัดสิ นใจทีส่ ่ งผลต่ อการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
๖. หลักความคุ้มค่ า มีการบริหารจัดการและใช้ ทรัพยากรอย่ าง
ประหยัดและเกิดประโยชน์ สูงสุ ดต่ อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของเยาวชนและประชาชนที่สถานศึกษารับผิดชอบ
ปัญหาพฤติกรรมวัยรุ่น (Adolescent Problems )
ไม่ เรี ยนหนังสือ
ติดเกมส์
ติดการพนัน
การเรี ยน
การปรั บตัว
ปั ญหาทางเพศ การตัง้ ครรภ์ ก่อนวัยอันควร
การใช้ และติดยาเสพติด ติดเหล้ า บุหรี่
พฤติกรรมผิดปกติ Conduct disorder ,การแข่ งขัน
รถจักรยานยนต์ , ก้ าวร้ าว ,รุ นแรง ทะเลาะวิวาท
สาเหตุของปัญหาพฤติกรรมวัยรุ่น
๑) ร่ างกาย การเปลีย่ นแปลงของสารเคมี สารสื่ อนาประสาท
โรคทางกาย โรคระบบประสาท สารพิษ
๒) จิตใจ บุคลิกภาพ ความคิด การมองโลก การปรับตัว
๓) สั งคม การเลีย้ งดู ปัญหาของพ่ อแม่ ตัวอย่ างของสั งคม
สื่ อต่ าง ๆ (โดยเฉพาะสื่ อลามกอนาจาร ต่ าง ๆ)
แนวทางการแก้ ไข/ช่ วยเหลือเมือ่ เด็กเริ่มมีปัญหา
๑. สร้ างความสั มพันธ์ ทดี่ ี
๒. รับฟังปัญหาเด็กเสมอ ไม่ ตาหนิ หรือสั่ งสอนเร็วเกินไป
๓. เข้ าใจปัญหา หาข้ อมูลเพือ่ ให้ ร้ ู สาเหตุ และแนวทางการแก้ ไข
ปัญหา
๔. มองเด็กในแง่ ดี มีความหวังในการแก้ ปัญหาเสมอ
๕. กระตุ้นให้ คดิ แก้ ปัญหาด้ วยตนเอง มีทางเลือกหลาย ๆ ทาง
วิเคราะห์ ทางเลือกร่ วมกัน
๖. ชี้แนะทางแก้ ไขปัญหาในกรณีทเี่ ด็กคิดไม่ ออกด้ วยตนเอง
๗. เป็ นแบบอย่ างทีด่ ี
๘. ใช้ กจิ กรรมช่ วย กีฬา ดนตรี ศิลปะ กิจกรรมกลุ่ม
๙. ให้ เพือ่ นช่ วยเพือ่ น อธิบายให้ เพือ่ นเข้ าใจกัน ยอมรับและ
อยากช่ วยเหลือกัน ไม่ ตัวใครตัวมัน
๑๐. ชมเชยเมื่อทาได้ ดี
๑๑. เมือ่ ทาผิด มีวธิ ีตกั เตือน ชักจูงให้ อยากเปลีย่ นแปลงแก้ ไข
ตนเองให้ ดขี นึ้
๑๒. จัดสิ่ งแวดล้ อมให้ เหมาะสม
๑๓. ให้ ครอบครัวมีส่วนร่ วมในการแก้ ไขปัญหา แก้ ไขปัญหา
ครอบครัว
การเปลีย่ นพฤติกรรมโดยใช้ ครอบครัวบาบัด
๑. สร้ างความสั มพันธ์ ทดี่ กี บั ครอบครัว
๒. แสวงหาข้ อมูลจากครอบครัว
๓. วิเคราะห์ ครอบครัว ปัญหาของครอบครัว จุดอ่ อน จุดแข็ง
หน้ าทีข่ องครอบครัว บทบาท การสื่ อสาร การเข้ าใจความรู้ สึก
๔. ชักจูงใจให้ เกิดการเปลีย่ นแปลง ในโครงสร้ าง และหน้ าทีข่ อง
สมาชิกครอบครัว
๕. ชี้แนะช่ องทางของการเปลีย่ นแปลง
๖. ฝึ กทักษะทีเ่ ป็ นปัญหา
๗. ใช้ หลักพฤติกรรมบาบัด ร่ วมด้ วยเพือ่ เปลีย่ นแปลงพฤติกรรม
การเปลีย่ นพฤติกรรมโดยใช้ เพือ่ น
๑. สร้ างบรรยากาศการอยู่ร่วมกันแบบกลุ่ม ไม่ โดดเดีย่ ว ไม่ เอาตัว
รอดคนเดียว เพือ่ นมีหน้ าทีช่ ่ วยเหลือกัน
๒. สร้ างความรู้ สึกเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน เป็ นห่ วงเป็ นใยกันเมื่อ
มีใครหายไปเพือ่ นควรสนใจ เป็ นห่ วงเป็ นใย ติดตามข่ าวสาร
๓. เมือ่ มีเพือ่ นทาผิด เพือ่ นทีด่ คี วรช่ วยเตือน และชักจูงให้
เปลีย่ นแปลง เลิกทาผิดกลับมาทาดี โดยไม่ โกรธกัน มองกันทางทีด่ ี
๔. ฝึ กทักษะการสื่ อสารที่ดี บอกความคิด ความต้ องการ ความรู้ สึก
เมือ่ ไม่ พอใจมีวธิ ีบอกให้ เพือ่ นเข้ าใจ และสนองความต้ องการกัน
ได้ ตรงจุด