ความพอเพียง หมายถึง - ความพอประมาณ - ความมีเหตุผล - การสร้ างภูมิค้ มุ กันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการ มีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทังภายนอกและภายใน ้ พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กันฯ.

Download Report

Transcript ความพอเพียง หมายถึง - ความพอประมาณ - ความมีเหตุผล - การสร้ างภูมิค้ มุ กันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการ มีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทังภายนอกและภายใน ้ พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กันฯ.

ความพอเพียง หมายถึง
- ความพอประมาณ
- ความมีเหตุผล
- การสร้ างภูมิค้ มุ กันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการ
มีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทังภายนอกและภายใน
้
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุม้ กันฯ
สมดุล / พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง
ในด้านวัตถุ / สังคม / สิ่ งแวดล้อม / วัฒนธรรม
นาสู่
ทางสายกลาง >> พอเพียง
เงือ่ นไขความรู้
- รอบรู้
- รอบคอบ
- ระมัดระวัง
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุม้ กันฯ
เงือ่ นไขคุณธรรม
-
ซื่อสัตย์สุจริ ต
อดทน
เพียร
มีสติ
ปัญญา
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุม้ กันฯ
คุณธรรมนำควำมรู้
การบริหารสถานศึกษา
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การจัดหลักสู ตรการเรียนการสอน
การบริหารสถานศึกษา
- จัดสภาพแวดล้ อมที่เอื ้อต่อการเรี ยนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง
- สร้ างวัฒนธรรมองค์กร
- ใช้ ทรัพยากรอย่างพอเพียง
- ปลูกฝั งให้ เป็ นวิถีชีวิต
- ชุมชนสัมพันธ์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนะแนว
- ให้บริ การแนะแนว
- ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน
กิจกรรมนักเรียน
-
ลูกเสื อ เนตรนารี ยุวกาชาด
ผูบ้ าเพ็ญประโยชน์
โครงงาน
ชมรม ชุมนุม ฯลฯ
การจัดหลักสู ตรการเรียนการสอน
- กาหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้ ชั้นปี
(รายวิชาพื้นฐาน)
- จัดทาหน่วย / แผนการเรี ยนรู้
- จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้
- จัดทาสื่ อ / แหล่งเรี ยนรู ้
- จัดทาเครื่ องมือวัด / ประเมินผล
- เกณฑ์การผ่านระดับชั้น
กิจกรรมเพือ่ สั งคม / จิตสาธารณะ เน้นการมีส่วนร่ วม การเห็นคุณค่าของการอยูร่ ่ วมกัน
กาหนดเป็ นนโยบาย
- วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ภารกิจ แผนปฏิบตั ิการ
- งานวิชาการ งบประมาณ บุคคล บริหารทัว่ ไป
ชุมชนสัมพันธ์
- นาหลักการทรงงาน มาปรับใช้ ในการบริหารสถานศึกษา
- เน้ นการบริหารทรัพยากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง การมีสว่ นร่วม รู้รักสามัคคี ไม่ประมาท
หลักสู ตรการเรียนการสอน
สอนวิชา “เศรษฐกิจพอเพียง”
จัดทารายวิชาเพิ่มเติม / หลักสูตรท้ องถิ่น
ที่สอดคล้ องกับสภาพ และความต้ องการ
โดยใช้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แหล่ งเรียนรู้
สร้างบรรยากาศที่ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การเรียนการสอน
จัดทาหน่วย / แผนการเรี ยนรู้
หรื อสื่ อการเรี ยนรู้ที่บูรณาการ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ลักษณะของกิจกรรม
- ต่อยอดหรื อพัฒนากิจกรรมที่สอดคล้องกับภูมิสังคม / บริ บท
- ดาเนินการหลักโดยผูเ้ รี ยน ด้วยความสมัครใจ โดยมีครู ช่วยสนับสนุน
- ผูเ้ รี ยนใช้หลักคิด / หลักปฏิบตั ิที่สอดคล้องกับหลักวิชาการ
อย่างสมเหตุสมผล
- มีการวางแผนอย่างรอบคอบ คานึงถึงความเสี่ ยงต่าง ๆ
- ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้และคุณธรรม
-
มีวนิ ยั ในการใช้จ่าย
ประหยัด / อดออม
พึ่งตนเอง ในการผลิต หรื อสร้างรายได้
เห็นค่าการอยูร่ ่ วมกันในสังคม
ช่วยเหลือสังคม / ชุมชน
รักษาสมดุลของธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
ร่ วมอนุรักษ์ภมู ิปัญญาท้องถิ่น
สื บสานวัฒนธรรม / ประเพณี ไทย
ส่ งเสริ มการปฏิบตั ิตามคาสอนทางศาสนา
ร่ วมสร้างความสามัคคี ฯลฯ
-
มีวนิ ยั ในการใช้จ่าย
ประหยัด / อดออม
พึ่งตนเอง ในการผลิต หรื อสร้างรายได้
เห็นค่าการอยูร่ ่ วมกันในสังคม
ช่วยเหลือสังคม / ชุมชน
รักษาสมดุลของธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
ร่ วมอนุรักษ์ภมู ิปัญญาท้องถิ่น
สื บสานวัฒนธรรม / ประเพณี ไทย
ส่ งเสริ มการปฏิบตั ิตามคาสอนทางศาสนา
ร่ วมสร้างความสามัคคี ฯลฯ
อยู่อย่ ำงพอเพียง
อยู่อย่ ำงพอเพียง
นาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ไปใช้ ในการบริหารสถานศึกษา
สถานศึกษา
มีความรู้ ความเข้ าใจ
และปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่าง
นักเรี ยน
ผูบ้ ริ หาร ครู
บุคลากรทางการศึกษา
มีความรู้ ทักษะ ปฏิบตั ิตน และดาเนินชีวิต
ตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง “อยูอ่ ย่างพอเพียง”
ดาเนินชีวิต และมีการพัฒนา
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ผูป้ กครอง ชุมชน
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุม้ กันฯ
1. การพัฒนาหลักสูตร
2. การจัดการเรี ยนการสอน
3. การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา
4. การจัดระบบบริ หารจัดการของสถานศึกษา
5. การให้ผปู ้ กครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่ วม ในการจัดการศึกษา
6. การติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
ที่เหลือพิมพ์ไว้ ให้ คะ่ เผื่อ ผอ. จะเพิ่มเติม ข้ อความ
แนวทางในการพัฒนาผู้เรี ยนตามคุณลักษณ์อนั พึงประสงค์ “อยู่อย่างพอเพียง”
1. การพัฒนาหลักสูตร มีแนวทางดาเนินการดังนี ้
สถานศึกษาควรมีการพัมนาหรื อบูรณาการเนื ้อหาสาระของเศรษฐกิจพอเพียงเข้ าไปในหลักสูตรสถานศึกษา ตามขันตอนดั
้
ง
1.1 สถานศึกษานาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรี ยน ตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาพิจารณา
ปรับปรุงหรื อเพิม่ เติม วิสยั ทัศน์ เป้าหมายและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรี ยน ในหลักสูตรสถานศึกษา
1.2 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ปรับปรุง หรื อเพิม่ เติมมาตรฐานการเรี ยนรู้ในแต่ละช่วงชัน้ ให้ สอดคล
กับวิสยั ทัศน์ เป้าหมาย และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรี ยน ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของหลักสูตรสถานศึกษา ที่ปร
หรื อเพิม่ เติม
1.3 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ปรับปรุง เพิม่ เติม หรื อจัดทาสาระการเรี ยนรู้ หน่วยการจัดการเรี ยนร
และแผนการจัดการเรี ยนรู้ ตามลาดับ เพื่อพัฒนาผู้เรี ยนให้ เป็ นไปตามมาตรฐานการเรี ยนรู้แต่ละช่วงชันตามข้
้
อ 1.2
2. การจัดการเรี ยนการสอน
สถานศึกษาควรจัดการเรี ยนการสอนตามเนื ้อหาสาระที่กาหนดไว้ ให้ ในหลักสูตรอย่างสอดคล้ องกับวิถีชีวิตของผู้เรี ยน เน้ น
กระบวนการการคิดวิเคราะห์ เน้ นการปฏิบตั ิจริง เพื่อนาไปสู่การปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม ในชีวิตประจาวัน โดยมีแนวทางดาเนินการดังนี ้
2.1 จัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ที่เน้ นการฝึ กทักษะ กระบวนการคิด วิเคราะห์ การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ การแก้ ปัญหา ฯลฯ ที่เริ่ม
จากชีวิตประจาวัน และเชื่อมโยงสู่ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ และสังคมโลก
2.2 จัดกระบวนการเรี ยนรู้โดยเน้ นการทดลอง การปฏิบตั ิจริง ทังในสถานศึ
้
กษาและแหล่งเรี ยนรู้ภายนอกสถานศึกษา ทังในรู
้ ปของ
การจัดทาโครงการ โครงงาน และอื่น ๆ ทังการศึ
้
กษารายบุคคล และเป็ นกลุ่ม
2.3 วัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ให้ ครอบคลุมทัง้ 3 ด้ านได้ แก่
1. ความรู้ (Knowledge)
2. ทักษะกระบวนการ (Process)
3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attribute)
ทางานเป็ นกลุม่
จัดกิจกรรมหลากหลาย ปลูกฝั งคุณธรรม เรี ยนรู้จากธรรมชาติ จัดสภาพแวดล้ อมจูงใจ
สร้ างจุดเด่น ซ่อมจุดด้ อย
ฝึ กการพึง่ ตนเอง ตามวัย
ใส่ใจนักเรี ยนเป็ นรายบุคค
เรี ยนรู้จากสถานการณ์จริ ง
สร้ างวินยั
เน้ นกระบวนการเรี ยนรู้
นักเรี ยนมีสว่ นร่วม
จินตนาการ
3. การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้ อมภายในสถานศึกษา
สถานศึกษาควรจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้ อมภายในสถานศึกษาให้ เป็ นแหล่งเรี ยนรู้ กระบวนการเรี ยนรู้ ปลูกฝั ง หล่อหลอม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และเอื ้อต่อกระบวนการจัดการเรี ยนการสอน ตามหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีแนวทางดาเนินการดังนี ้
3.1 จัดอาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้ อมในโรงเรี ยนที่เน้ นความร่มรื่ น ประโยชน์ใช้ สอยเป็ นแหล่งเรี ยนรู้ และอนุรักษ์ สืบสานทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้ อม ศิลปวัฒนธรรม สถาปั ตยกรรมของท้ องถิ่น และภูมิปัญญาไทย
3.2 กาหนดระเบียน ธรรมเนียมปฏิบตั ิในสถานศึกษา ที่ส่งเสริมความมีระเบียบวินยั เคารพธรรมเนียมปฏิบตั ิ กฎกติกาของสังคมส่วนรวม เช
การมีวินยั การเข้ าคิว การรับประทานอาหาร การแต่งกาย การใช้ ทรัพยากรร่วมกัน ฯลฯ
3.3 ส่งเสริมและพัฒนาบรรยากาศด้ านคุณธรรม เช่น การทาบุญ การบริจาค การปฏิบตั ิกิจทางศาสนา การฝึ กอบรมจิต การเข้ าร่วมกิจกรรม
ทางศาสนา การยกย่องส่งเสริมผู้กระทาความดี การส่งเสริม การแบ่งปั น การช่วยเหลือกันและกัน ฯลฯ
3.4 ส่งเสริมการแสวงหาความรู้ และเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น การจัดนิทรรศการ การจัดการประกวดในรูปแบ
ต่าง ๆ การหาความรู้ผ่านสื่อเทคโนโลยีและอื่น ๆ
3.5 ส่งเสริมการปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างของผู้บริหาร ครู และบุคลากรในสถานศึกษา
3.6 จัดโครงการและกิจกรรมส่งเสริมการปฏิบตั ิตนและการดาเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4. การจัดระบบบริหารจัดการของสถานศึกษา
สถานศึกษา ควรมีการจัดระบบการบริหารจัดการภายในสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เอื ้อต่อ
การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี ้
4.1 ทบทวน ปรับปรุง พัฒนาโครงสร้ างและกระบวนการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล มีความพอประมาณ มีเหตุผล
และมีภมู ิค้ มุ กันที่พร้ อมรับการเปลี่ยนแปลง
4.2 กาหนดนโยบาย แผนงาน โครงการ และกิจกรรม และการปรับปรุงเพิม่ เติมหรื อจัดทาแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบตั ิงานของ
สถานศึกษา ให้ ครอบคลุมการพัฒนาการศึกษาตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษา มีการดาเนินการตาม
แผนอย่างเป็ นระบบ และมีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
4.3 พัฒนาบุคลากร ทังผู
้ ้ บริหาร ครู และกรรมการสถานศึกษา ให้ มีความรู้ ความเข้ าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มีความพร้ อมในการดาเนินการตามระบบการบริหารจัดการที่เปลี่ยนแปลงและการจัดการศึกษาตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
รวมทังด
้ าเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4.5 จัดระบบการนิเทศการศึกษาภายในสถานศึกษา เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการและกระบวนการเรี ยนการสอน
ให้ เอื ้อต่อการจัดการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5. การให้ ผ้ ปู กครองและชุมชนเข้ ามามีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
สถานศึกษา ควรให้ ผ้ ปู กครองและชุมชนเข้ ามามีส่วนร่วมในการดาเนินการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในขันตอนส
้
าคัญ
ทุกขันตอน
้
ตามแนวทางดังนี ้
5.1 ร่วมกาหนดแนวนโยบาย และการวางแผน
5.2 ร่วมให้ ข้อคิดเห็น ข้ อเสนอแนะในกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
5.3 ร่วมจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและการจัดสภาพและบรรยากาศภายในสถานศึกษา
5.4 ส่งเสริมการเรี ยยนรู้และการปฏิบตั ิตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา ที่บ้านและสถานที่อื่น ๆ
5.5 ร่วมติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
6. การติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
สถานศึกษาควรจัดให้ มีการติดตามและประเมินผลการดาเนินการจัดการศึกษาตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดยมีแนวทางดาเนินการดังนี ้
6.1 ติดตามและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรี ยน โดยพิจารณาจาก
1. ผลการทดสอบความรู้ ความเข้ าใจพื ้นฐานด้ านเศรษฐกิจพอเพียง
2. ผลงานและการปฏิบตั ิกิจกรรมของผู้เรี ยน
3. การปฏิบตั ิตนในชีวิตประจาวันของผู้เรี ยน
4. ผลการประเมินโดยผู้ประเมินภายนอก หรื อผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียจากทุกภาคส่วน
6.2 ติดตามและประเมินความเหมาะสมของการดาเนินการในกระบวนการ ขันตอน
้
และกิจกรรมการดาเนินการในด้ านการพัฒ
หลักสูตร การจัดการเรี ยนการสอน การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้ อม การจัดระบบบริหารจัดการ การให้ ผ้ ปู กครองและชุมชนเข้ ามา
มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรี ยน
6.3 จัดให้ ระบบการรายงานผลการดาเนินการเป็ นระยะ ๆ ทังการรายงานภายในสถานศึ
้
กษา การรายงานต่อสาธารณชน และการรายงาน
หน่วยงานต้ นสังกัดตามลาดับ