การนำนโยบายปฏิรูปการเรีย
Download
Report
Transcript การนำนโยบายปฏิรูปการเรีย
การนานโยบายปฏิรป
ู การเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษ
ึ ษาธิการสูก
่ ารปฏิบต
ตามประกาศกระทรวงศก
ั ิ
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์
รักษาการที่ปรึกษาด้ านมาตรฐานการศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
เป้าหมายตามนโยบาย
ขีดความสามารถในการแข่ งขัน
เตรียมความพร้ อมเข้ าสู่ AEC
• เสริมสร้ างสมรรถนะและทักษะการใช้
ภาษาอังกฤษให้ นักเรียนใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อ
การสื่อสารและเป็ นเครื่องมือในการแสวงหา
ความรู้เพื่อการพัฒนาตน
้ รอบมาตรฐานความสามารถทาง
1. ใชก
ภาษาอ ังกฤษทีเ่ ป็นสากล ได้แก่ The Common
European Framework of Reference for
Languages (CEFR) เป็นกรอบความคิดหล ักในการ
จ ัด การเรียนการสอนภาษาอ ังกฤษของประเทศไทย
A2
A1
B1
C1
B2
C2
ใช ้ CEFR เป็นเป้าหมายการพ ัฒนาน ักเรียน
พ ัฒนาหล ักสูตร การเรียนการสอน
และการทดสอบว ัดผล
• A1 Breakthrough or beginner
• A2 Waystage or elementary
• B1 Threshold or intermediate
• B2 Vantage or upper intermediate
กาหนดระด ับภาษาอ ังกฤษของน ักเรียน CEFR เป็น
เป้าหมายการพ ัฒนาน ักเรียนและพ ัฒนาหล ักสูตร
และการเรียนการสอน
A1
จบ ป. 6
A2
จบ ม. 3
B1
จบ ม. 6
B2 C1 C2
ใช ้ CEFR ในการพ ัฒนาครู
• ประเมินความสามารถของครู
• จัดกลุ่มตามระดับความสามรถทางภาษา
• พัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง
• ทดสอบ
2.ปรับจุดเน้ นการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้
เป็ นไปตามธรรมชาติของการเรียนรู้ภาษา โดยเน้ นการ
สื่ อสาร(Communicative Language Teaching:
CLT)
• เริ่มจากการฟั งตามด้ วยการพูด การอ่ าน และ
การเขียนตามลาดับ
3. ส่ งเสริมให้ มีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่มี
มาตรฐานตามกรอบมาตรฐานหลัก
• ใช้ รูปแบบวิธีการที่แตกต่ างกันได้ ตามความพร้ อมด้ านครู
สื่อ ผู้ปกครอง)
ความพร้ อมน้ อย
ความพร้ อมปานกลาง
ความพร้ อมมาก
ระดับความ
พร้อมของ
สถานศึ กษา
ลักษณะ/สภาพ/ความพรอม
้
น้อย/ไมมี
่
โรงเรีย นขนาดเล็ ก
ครู ไ ม่ครบชั้น
ไม่มีค รู จ บเอก
ภาษาอังกฤษ ครูไมมี
่ ความถนัดในการจัดการเรียนการ
สอนภาษาอัง กฤษ ผู้ ปกครองขาดความพร้ อมในการ
สนับสนุ น ขาดความพร้อมดานสื
่ อ วัสดุอุปกรณ ์
้
ปานกลาง
โรงเรี ย นขนาดกลางขึ้ น ไป ครู ค รบชั้น และมี ค วาม
พร้ อมในการจัด การเรี ย นการสอนภาษาอัง กฤษตาม
หลัก สู ต ร ผู้ ปกครองมี ค วามพร้ อมในการสนั บ สนุ น
พอสมควร มีสื่อและวัสดุอุปกรณเพี
์ ยงพอ
สูง
โรงเรี ย นขนาดใหญ่ ขึ้ น ไป ครู ค รบชั้ น และมี ค วาม
พร้ อมในการจัด การเรี ย นการสอนภาษาอัง กฤษตาม
หลักสูตรสูง ผู้ปกครองให้การสนับสนุ นดีมาก มีสื่อและ
วัสดุอุปกรณที
์ เ่ พียงพอและทันสมัย
4. ส่ งเสริมการยกระดับความสามารถ
ในการใช้ ภาษาอังกฤษ
• ขยายโครงการพิเศษด้ านการเรี ยนการสอน
ภาษาอังกฤษ (EP/MEP/EBE/EIS)
• การพัฒนาห้ องเรี ยนพิเศษภาษาอังกฤษ
(Enrichment Class)
• การจัดให้ มีการเรี ยนการสอนวิชาสนทนา
ภาษาอังกฤษ
5. ยกระดับความสามารถในการจัดการเรียนการสอน
ของครูให้ สอดคล้ องกับวิธีการเรียนรู้ทเี่ น้ นการสื่ อสาร
(CLT) และเป็ นไปตามกรอบความคิดหลัก CEFR
• ประเมินความรู้พนื ้ ฐานภาษาอังกฤษสาหรับครูสอน
ภาษาอังกฤษ
• จัดระบบการนิเทศ ติดตาม สนับสนุน ช่ วยเหลือ
• จัดให้ มีกลไกการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน
• จัดให้ มีระบบการฝึ กฝน และการสอบวัดระดับ
ความสามารถออนไลน์
6. ส่ งเสริมให้ มีการใช้ สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่
การศึกษาเป็ นเครื่องมือสาคัญในการช่ วยพัฒนา
ความสามารถทางภาษาของครูและผู้เรียน
• ส่ งเสริมการผลิต การสรรหา e-content, learning
applications รวมถึงแบบฝึ กและแบบทดสอบที่ได้
มาตรฐานและมีคุณภาพ
• ส่ งเสริมให้ มีการใช้ ช่องทางการเรี ยนรู้ ผ่านโลกดิจทิ ลั
• การเพิ่มชั่วโมงเรี ยน การเรี ยนอย่ างต่ อเนื่องครึ่ งวัน
• การจัดสภาพแวดล้ อม/บรรยากาศที่ส่งเสริม/กระตุ้น