ไฟล์ Powerpoint ลักษณะข้อสอบ NT

Download Report

Transcript ไฟล์ Powerpoint ลักษณะข้อสอบ NT

การประเมินคุณภาพการศึ กษา
ขัน
้ พืน
้ ฐาน
เพือ
่ การประกันคุณภาพผูเรี
้ ยน
(NT)
ึ ษำประถมศก
ึ ษำหนองคำย เขต 1
สำนั กงำนเขตพืน
้ ทีก
่ ำรศก
เหตุผลและความสาคัญ
เป้าหมายและตัวบงชี
้ ารปฏิรป
ู การศึ กษา
่ ก
ในทศวรรษทีส
่ อง
ของ
กนป.
(2552ให้คนไทยและการศึ กษาไทยมีคุณภาพและได้
2561)
มาตรฐานระดับสากล
โดยมีตวั บงชี
้ ละคาเป
่ วของกั
บ
่ แ
่ ้ าหมายทีเ่ กีย
้
ผลสั มฤทธิข
์ องผูเรี
้ ยนคือ
1) ผลสั มฤทธิท
์ างการเรียนในวิชาหลัก จาก
การทดสอบระดับชาติ(ผลทดสอบ O-NET) มี
คะแนนเฉลีย
่ มากกวาร
50
่ อยละ
้
เหตุผลและความสาคัญ
จุดเน้น สพฐ. ปี งบประมาณ 2558
ดานผู
้
้เรียน
1. นักเรียนชัน
้ ประถมศึ กษาปี ท ี่ 3 มี
ความสามารถดานภาษา(Literacy)
ดาน
้
้
คานวณ (Numeracy) และดานการใช
้
้เหตุผล
(Reasoning abilities) ทีเ่ หมาะสม
2. นักเรียนชัน
้ ป.6 ม.3 มีผลสั มฤทธิ ์
ทางการเรียนจากการทดสอบระดับชาติ (ONET) เพิม
่ ขึน
้ เฉลีย
่ ไมน
3
่ ้ อยกวาร
่ อยละ
้
เหตุผลและความสาคัญ
ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ์ ข อ ง
ปี งบประมาณ 2558
สพฐ.
1. พัฒ นาคุ ณ ภาพผู้ เรี ย นทุ ก ระดับ ทุ ก
ประเภท
เป้าประสงคที
์ ่ 1 กลยุทธที
์ ่
8 ส่งเสริมสนับสนุ นการทดสอบ O-NET
การประเมิน PISA และการทดสอบกลาง
ดวยข
้
้อสอบของ สพฐ.มาเป็ นส่วนหนึ่งใน
การจัดการเรียนการสอนเพือ
่ พัฒนาผูเรียนให
ประกาศ สพฐ.
แนวปฏิบต
ั ใิ นการยกระดับคุณภาพ
นักเรียนระดับการศึ กษาขัน
้ พืน
้ ฐาน
(7) ให้ เพิม่ การใช้ ข้อสอบแบบเขียนตอบทั้งแบบการเขียน
7.
ตอบสั้ น แบบยาว อย่ างน้ อย ร้ อยละ 30 ของการสอบแต่ ละครั้ง
(8) ให้ ใช้ ข้อสอบกลางทีพ่ ฒ
ั นาโดย สพฐ.ในการสอบปลายปี
ร้ อยละ 20 ของคะแนนทั้งหมดในชั้น ป.2 ป.4-5 ม.1-2 ใน 5 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ หลัก(ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สั งคม
ศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ภาษาต่ างประเทศ)
ในปี การศึ กษา
2557
• ประเมินความสามารถพืน
้ ฐานที่
จาเป็ นของนักเรียนชัน
้
ประถมศึ กษาปี ท ี่ 3 (NT)
• ประเมินความพรอมก
อนการสอบ
้
่
Pre O-NET
• ประเมินผลสั มฤทธิผ
์ เรี
ู้ ยนดวย
้
ขอสอบกลาง
้
ความสามารถทีป
่ ระเมินคุณภาพ
การศึ กษา
ประเมิ
นความสามารถพื
้ ฐาน
ในปี
การศึ
กษา 2557 น
ทีจ
่ าเป็ นของนักเรียน
ชัน
้ ประถมศึ กษาปี ท ี่ 3
ภาษา(Literacy)
คานวณ(Numeracy)
ดาน
้
ดาน
้
เครื่องมือที่
ใช้
จานวนข้ อ
แบบวัดความสามารถ
ด้ านภาษา(Literacy)
ด้ านคานวณ(Numeracy)
ด้ านเหตุผล(Reasoning abilities)
30
30
30
เวลา
60
90
60
ความสามารถดานภาษา
้
(Literacy)
ความสามารถในการอ่าน เพือ
่ รู้ เข้าใจ
วิเคราะห ์ สรุปสาระสาคัญ ประเมินสิ่ ง ที่
อ่านจากสื่ อประเภทต่างๆ รู้ จัก เลือ กอ่าน
ต า ม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค ์ น า ไ ป ใ ช้ ใ น
ชีวต
ิ ประจาวันและการอยู่ร่วมกันในสั งคม
ใช้การอานเพื
อ
่ การศึ กษาตลอดชีวต
ิ และ
่
สื่ อ ส า ร เ ป็ น ภ า ษ า เ ขี ย น ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง ต า ม
โครงสร้างแบบทดสอบวัดความสามารถด้านภาษา
ตัวบ่ งชี้
1. อธิบายความหมายของคา ประโยคจากเรื่องฟัง ดูและอ่ าน
2. บอกความหมายของเครื่องหมายสั ญลักษณ์
3. ตอบคาถามจากเรื่องฟัง ดูและอ่ าน
4. บอกเล่ าเรื่องราวทีไ่ ด้ จากการฟัง ดูและอ่ านอย่ างง่ าย
5. คาดคะเนเหตุการณ์ ทจี่ ะเกิดขึน้ จากการฟัง ดูและอ่ าน
6. สื่ อสารความรู้ ความเข้ าใจข้ อคิดเห็นจากการฟัง ดูและอ่าน
รวมทั้งหมด
จานวนข้ อสอบ
ปี 55 ปี 56 ปี 57
5
5
4
3
4
3
5
7
6*
4
6
5
6
6
6
7
2
6*
30
เกณฑ์ การประเมิน (ช่ วงคะแนน) ปรับปรุ ง 0-8 พอใช้ 9-12 ดี 13-17 ดีมาก 18-30
30
30
ความสามารถดานค
านวณ
้
(Numeracy)
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ใ ช้ ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด
ค านวณ ความคิ ด รวบยอด และทัก ษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตรในสถานการณ
์
์
ต่ า ง ๆ
ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ
ชีวต
ิ ประจาวัน
โครงสร้างแบบทดสอบวัดความสามารถด้านคานวณ
ตัวบ่ งชี้
1. ใช้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การคิดคานวณ เพือ่ การตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัตหิ รืหา
คาตอบจากสถานการณ์ ต่าง ในชีวติ ประจาวันเกีย่ วกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรื่อง
จานวนและการดาเนินการ ตามขอบข่ ายสิ่งเร้ า
จานวนข้ อสอบ
ปี 55 ปี 56 ปี 57
10 10*
13
2. ใช้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การคิดคานวณ เพือ่ การตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัตหิ รืหา
คาตอบจากสถานการณ์ ต่าง ในชีวติ ประจาวันเกีย่ วกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรื่องการวัด
ตามขอบข่ ายสิ่งเร้ า
7
8
8*
3. ใช้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การคิดคานวณ เพือ่ การตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัตหิ รืหา
คาตอบจากสถานการณ์ ต่าง ในชีวติ ประจาวันเกีย่ วกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรื่อง
เรขาคณิตตามขอบข่ ายสิ่งเร้ า
3
4
4
4. ใช้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การคิดคานวณ เพือ่ การตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัตหิ รืหา
คาตอบจากสถานการณ์ ต่าง ในชีวติ ประจาวันเกีย่ วกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรื่อง
พีชคณิต ตามขอบข่ ายสิ่งเร้ า
3
4
4
5. ใช้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การคิดคานวณ เพือ่ การตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัตหิ รืหา
คาตอบจากสถานการณ์ ต่าง ในชีวติ ประจาวันเกีย่ วกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรื่องการ
วิเคราะห์ ข้อมูลและความน่ าจะเป็ น ตามขอบข่ ายสิ่งเร้ า
4
4
4*
เกณฑ์การประเมิน (ช่วงคะแนน) ปรับปรุ ง 0-6 พอใช้ 7-11 ดี 12-15 ดีมาก 16-30
ความสามารถดานเหตุ
ผล
้
(Reasoning abilities)
ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ และ
ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ ไ ป วิ เ ค ร า ะ ห ์ สั ง เ ค ร า ะ ห ์
ป ร ะ เ มิ น ค่ า ข้ อ มู ล / ส ถ า น ก า ร ณ ์ /
สารสนเทศทีใ่ ห้มา เพือ
่ การตัดสิ นใจ โดย
มีเ หตุ ผ ลประกอบอย่างสมเหตุ ส มผล (บน
พืน
้ ฐานของข้อมูล หลักการ เหตุผล ทาง
วิทยาศาสตร ์ สั งคมศาสตร ์ และการดาเนิน
โครงสร้างแบบทดสอบวัดความสามารถด้านเหตุผล
ตัวบ่ งชี้
1.
มีความเข้าใจ ในข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศทางด้านวิทยาศาสตร์และสิง่ แวดล้อม ด้านสังคมและ
เศรษฐกิจ และด้านการดาเนินชีวติ
2.
จานวนข้ อสอบ
ปี 55 ปี 56 ปี 57
4
8
4*
7
8
8*
6
10
7
9
8
11*
30
30
30
วิเคราะห์ขอ้ มูลสถานการณ์ หรือสารสนเทศโดยใช้ความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์และสิง่ แวดล้อม ด้านสังคมและเศรษฐกิจ
และด้านการดาเนินชีวติ อย่างมีเหตุผล
3. นาข้ อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศมาวิเคราะห์ และประยุกต์ ใช้ ในการวางแผน
สามารถสร้างข้อสรุปใหม่ ออกแบบ วางแผน บนพื้นฐานของข้อมูลสถานการณ์ หรือสารสนเทศทีผ่ า่ นการวิเคราะห์
โดยใช้องค์ความรูด้ า้ น วิทยาศาสตร์และสิง่ แวดล้อม ด้านสังคมและเศรษฐกิจและด้านการดาเนินชีวติ อย่างมีเหตุผล
4. เลือกใช้ ข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศในการตัดสิ นใจและ/หรือแก้ ปัญหา
สามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างมีหลักการและเหตุผล หรือให้ขอ้ สนับสนุนหรือข้อโต้แย้งทีส่ มเหตุสมผลโดยคานึงถึง
คุณธรรมและจริยธรรม ค่านิยม ความเชือ่ ในกรณีทมี่ ีสถานการณ์ทตี่ อ้ งการตัดสินใจหรือมีปัญหา
รวมทั้งหมด
เกณฑ์ การประเมิน (ช่ วงคะแนน) ปรับปรุง 0-9 พอใช้ 10-13 ดี 14-18 ดีมาก 19-30
ข้อสรุปจากผลการประเมิน NT ปี
การศึ
2556
ความสามารถด้ านภาษา
: นักเรีกยษา
นส่ วนหนึ
่งยังไม่ สามารถ
1. สื่ อสารความคิดเห็นจากเรื่องทีอ่ ่านอย่ างมีเหตุผลและสร้ างสรรค์
2. นาข้ อคิดทีไ่ ด้ จากเรื่องทีอ่ ่านไปใช้ ในชีวติ ประจาวัน
3. คาดคะเนเหตุการณ์ จากเรื่องทีอ่ ่าน
ความสามารถด้ านคานวณ : นักเรียนยังคงมีปัญหาในการใช้ ทักษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ การคิดคานวณ เพือ่ การตัดสิ นใจเลือกแนวทางปฏิบัติหรือหา
คาตอบจากสถานการณ์ ต่าง ในชีวติ ประจาวันเกีย่ วกับในด้ าน
1. พีชคณิต
2. การวิเคราะห์ ข้อมูลและความน่ าจะเป็ น
3. จานวนและการดาเนินการ
4. เรขาคณิต
ข้อสรุปจากผลการประเมิน NT ปี
การศึ กษา 2556 (ตอ)
่
ความสามารถด้ านเหตุผล : นักเรียนส่ วนหนึ่งยังไม่ สามารถ
1. ตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างมีหลักการและเหตุผล หรือให้ขอ้ สนับสนุนหรือ
ข้อโต้แย้งทีส่ มเหตุสมผลโดยคานึงถึงคุณธรรมและจริยธรรม ค่านิยม ความเชือ่
ในกรณีทมี่ ีสถานการณ์ทตี่ อ้ งการตัดสินใจหรือมีปัญหา
2. สร้างข้อสรุปใหม่ ออกแบบ วางแผน บนพื้นฐานของข้อมูลสถานการณ์
หรือสารสนเทศทีผ่ า่ นการวิเคราะห์ โดยใช้องค์ความรูด้ า้ น วิทยาศาสตร์และ
สิง่ แวดล้อม ด้านสังคมและเศรษฐกิจและด้านการดาเนินชีวติ อย่างมีเหตุผล
ตารางสอบ
วันสอบ
26 ก.พ. 2558
08.30-09.30 น.
ความสามารถ
ด้านภาษา
10.00-11.30 น.
พัก
ความสามารถ
ด้านคานวณ
13.00-14.00
พัก
ความสามารถ
ด้านเหตุผล
แผน และวิธีการ
ิ
ประเม
น
เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาแบ่ ง ภาระรับ ผิ ดชอบ
ออกเป็ นศูนย์ประสานการสอบ
โดยรองผู้อ านวยการส านั ก งานเขตพื้ น ที่
การศึกษาแต่ละท่าน
ที่ รบั ผิดชอบการจัดการศึ กษาในแต่ ละพื้นที่
(Area Based)
เป็ นผู้ร ับ ผิ ด ชอบดู แ ล บริ ห ารจัด การศู น ย์
การจัดสนามสอบ
ทุกโรงเรียนเป็ นสนามสอบ
และมีการรวมเป็ นบางสนาม
สอบ ไดแก
โรงเรี
ย
นที
น
่
า
้ ่
นักเรียนมาเรียนรวม
แบบทดสอบและกระดาษคาตอบ

กลองบรรจุ
่
แบบทดสอบ
สนามสอบละ
๑ กลอง
่



ซองที่ ๑ แบบทดสอบ
ความสามารถดานภาษา
้
ซองที่ ๒ แบบทดสอบ
ความสามารถดานคิ
ด
้
คานวณ
ซองที่ ๓ แบบทดสอบ
ความสามารถดานเหตุ
ผล
้
ซองที่ ๔ กระดาษคาตอบ
(จานวน ๑ แผน
่ สาหรับ
แบบทดสอบ ๓ วิชา)
การรับ-ส่งแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ
วัน เดือน ปี
เวลา
กิจกรรม
ผู้ปฏิบต
ั ิ
๒๕ ก.พ. ๒๕๕๘ ๐๙.๐๐ น. ๑๒.๐๐ น.
รับแบบทดสอบจาก
สพป.
ประธานกลุมเครื
อขาย
หรือ
่
่
ผูแทนกลุ
มเครื
อขาย
้
่
่
๒๕ ก.พ. ๒๕๕๘
๑๓.๐๐ น. ๑๖.๓๐ น.
รับแบบทดสอบจาก
กลุมโรงเรี
ยน
่
หัวหน้าสนามสอบ หรือผูแทน
้
สนามสอบ
๒๖ ก.พ. ๒๕๕๘
หลังดาเนินการ
สอบเสร็จทันที
ส่งกระดาษคาตอบให้
กลุมโรงเรี
ยน
่
หัวหน้าสนามสอบ หรือผูแทน
้
สนามสอบ
๒๖ ก.พ. ๒๕๕๘
๑๔.๐๐ น. ๑๘.๐๐ น.
ส่งกระดาษคาตอบให้
สพป.
ศึ กษานิเทศก ์ สพป.นค.1
แนวปฏิบต
ั ใิ นการจัดสอบ
การประเมิน NT ปี การศึ กษา 255๗
ชัน
้ ประถมศึ กษาปี ท ี่ 3
การดาเนินการกอนการจั
ดสอบ
่
๑. หัวหน้าสนามสอบแจ้งนักเรียนชัน
้
ประถมศึ กษาปี ท ี่ ๓ เขาสอบตามก
าหนดวัน
้
เวลาและสนามสอบทีก
่ าหนดโดยพรอมเพรี
ยง
้
กัน
นักเรียนชัน
้ ประถมศึ กษาปี ท ี่ ๓
ให้
จัดเตรียม ปากกา
ดินสอชนิด 2B
กบเหลาดินสอ และ
ยางลบดินสอ
สาหรับฝนกระดาษคาตอบแบบ
อุปกรณ์และหลักฐานแสดงตนของผูเ้ ข้าสอบ
อุปกรณ์ใช้ในการสอบ
หลักฐานใช้แสดงตน
เพื่อเข้าห้องสอบ
การดาเนินการกอนการจั
ดสอบ
่
๒. สนามสอบจัดเตรียมห้องสอบตามบัญชี
รายชือ
่ ผูเข
ให้แลวเสร็
จกอนวั
นสอบอยางน
้
่
่
้ อย
้ าสอบ
้
๑ วัน
หากขอมู
้ ลของนักเรียนมีขอผิ
้ ดพลาดทาง
โรงเรียนสามารถแกไขเพิ
ม
่ เติมเพือ
่ ให้มีความ
้
ถูกตองสมบู
รณยิ
้ ได้
้
์ ง่ ขึน
การจัดห้องสอบ
๑) นักเรียน ๓๕ คน ไมเกิ
่ น ๔๐ คน จัดเป็ น ๑
ห้องสอบ
๒) นักเรียนเกิน ๔๐ คน จัดเป็ น ๒ ห้องสอบ
๓) การจัดห้องสอบให้จัดตามบัญชีรายชือ
่ ผูเข
้ ้าสอบที่
จัดส่งมาให้เขตพืน
้ ที(่ เรียงตามเลขทีจ
่ ากน้อยไปหา
มาก)
การดาเนินการกอนการจั
ดสอบ
่
๓.ปะติดบัญชีรายชือ
่ ผูเข
หน
้ าสอบไว
้
้ ้า
ห้องสอบ
๔.ปะติดขอมู
่ ผู้
้ ลนักเรียนตามบัญชีรายชือ
เข้าสอบบนโต๊ะทีน
่ ่งั สอบของนักเรียนทุก
คนให้เป็ นรูปตัว U
การจัดที่นั่งสอบและการแจก-เก็บรูปตัว U
หน้าห้อง
การดาเนินการกอนการจั
ดสอบ
่
๕. หัวหน้าสนามสอบทุกสนามไปรับ
แบบทดสอบและกระดาษคาตอบ
จากสานักงานกลุมเครื
อขาย
่
่
ในวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ ์ ๒๕๕๘
เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๖.๓oน.
การดาเนินการจัดสอบ
๑ . ก ร ร ม ก า ร ก า กั บ ห้ อ ง ส อ บ ไ ป รั บ
แบบทดสอบและกระดาษคาตอบในวิชาทีจ
่ ะ
สอบที ล ะวิ ช าจากหั ว หน้ าสนามสอบตาม
ตารางสอบทีก
่ าหนด
การดาเนินการจัดสอบ
๒ . ก่ อ น เ ว ล า เ ริ่ ม ก า ร ส อ บ ใ ห้ เ ปิ ด ซ อ ง บ ร ร จุ
แ บ บ ท ด ส อ บ วั ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ แ ต่ ล ะ ด้ า น แ ล ะ
ก ร ะ ด า ษ ค า ต อ บ ก่ อ น เ ปิ ด ใ ห้ ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม
เรียบรอยของซองบรรจุ
(หากพบความผิดปกติให้รีบ
้
่
แจ้ง และบันทึกเหตุการณต
่ วหน้าสนามสอบเพือ
์ อหั
แจ้งศูนยประสานการสอบ)
โดยเรียกตัวแทนนักเรียน
์
ทีเ่ ข้าสอบเป็ นพยานและลงลายมือชือ
่ เป็ นหลักฐาน
การดาเนินการจัดสอบ
๓. กรรมการกากับห้องสอบแจกกระดาษคาตอบและ
แบบทดสอบฉบับที่ ๑ ความสามารถดานภาษาโดย
้
ควา่ หน้าแบบทดสอบไวบนโต
่ ่งั สอบของนักเรียน
้
๊ ะทีน
จนครบ กรรมการกากับห้องสอบอธิบายการกรอก
รหัสรายการตางๆ
ทีด
่ านหน
่
้
้ ากระดาษคาตอบและ
ชีแ
้ จงวิธก
ี ารเขียนหรือระบายรหัสลงในช่องตรงกับ
ตัวเลขรหัสทีก
่ รอกไว้
กระดาษคาตอบดานหน
า
้
้
กระดาษคาตอบดานหลั
ง
้
การกรอกขอมู
้ ลและรหัสบนกระดาษคาตอบ
การกรอกข้อมูลรายละเอียดส่วนตัว
ให้นักเรียนกรอก
ชือ
่ นามสกุล
โ ร ง เ รี ย น อ า เ ภ อ แ ล ะ
จั ง ห วั ด
ใ ห้
เรียบร้อย
การกรอกรหัสโรงเรียน
1
0 5 7 1 2 0 0 0 1
ร หั ส โ ร ง เ รี ย น ( 10
หลัก)
- เ ป็ น ร หั ส โ ร ง เ รี ย น
ที่ ส านั ก ทดสอบ สพฐ.
กาหนดเฉพาะของ
การสอบ NT เทานั
่ ้น
การกรอกระดับชัน
้
ชัน
้ (2 หลัก)
ระบายไวแล
้ ว
้
คือ 13
การกรอกรหัสห้องสอบ
0
2
ห้องสอบ (2 หลัก)
คือเลข 01-99 โดย
ให้ยึด
เลขห้องตาม
ห้องเรียนปกติท ี่
นักเรียนอยู่
การกรอกเลขทีส
่ อบ
เลขที่ จานวน 2 หลัก
0
1
คือเลข 01-99 โดยให้
ยึดเลขทีต
่ ามบัญชี
เรียกชือ
่ ของนักเรียน
ในห้องเรียนทีน
่ ก
ั เรียน
เรียนอยูในปั
จจุบน
ั
่
การกรอกรหัสเลขทีบ
่ ต
ั รประชาชน
3 5 79 9 0 0 2 1 6 5 7 1
ร หั ส เ ล ข ที่ บั ต ร ป ร ะ ช า ช น
จ านวน 13
หลัก (ตาม
ส าเนาทะเบีย นบ้ านหรือ บัต ร
ประจาตัวประชาชน)
กรณี ท ี่ นั ก เรี ย นไม่ มี เ ลขบัต ร
ประจ าตัว ประชาชน ให้ ใช้
รหัสโรงเรียน 10 หลัก ตาม
ด้วย 001 สาหรับนักเรียนที่
ใช้ รหัสโรงเรียนเป็ นคนที่ 1
002 สาหรับนักเรียนทีใ่ ช้รหัส
โรงเรียนเป็ นคนที่ 2
การกรอกรหัสเพศ
1
เพศ (๑ หลัก)
- เพศชาย เลข 1
- เพศหญิง เลข 2
การกรอกรหัสเด็กพิเศษ
เด็กพิเศษ จานวน 2
หลัก
1
2
(เลือกไดเพี
้ ยง
1
ประเภท จาก 12 ประเภท)
เด็กปกติไมต
่ อง
้
ฝนรหัสใน 2
ช่องนี้
การดาเนินการจัดสอบ
๔. กรรมการกากับห้องสอบให้
นักเรียนลงลายมือชือ
่ ผูเข
้ าสอบใน
้
บัญชีผเข
ู้ าสอบ
) หากนักเรียนขาด
้
สอบวิชาใดให้ใช้ปากกาสี แดงเขียน
ลงในช่องลายมือชือ
่ วาขาดสอบและ
่
ระบุวช
ิ าทีข
่ าดสอบ
๕ . ก ร ร ม ก า ร ก า กั บ ห้ อ ง ส อ บ ใ ห้
นั ก เรีย นเปิ ดแบบทดสอบพร้ อมกัน
การดาเนินการจัดสอบ
๖. ในขณะทีน
่ ก
ั เรียนกาลังทาขอสอบ
้
ให้กรรมการกากับ
ห้องสอบตรวจ
ความเรียบรอย
และป้องกันการทุจริต
้
โดยยืนทีม
่ ุมใดมุมหนึ่งภายในห้อง ใน
กรณีทม
ี่ ผ
ี ้สงสั
ู
ยให้ยกมือขึน
้ เพือ
่ ที่
กรรมการกากับห้องสอบจะไดอธิ
้ บายข้อ
สงสั ยเป็ นรายบุคคลดวยเสี
ยงเบา ๆ
้
หรือถาข
่ ะตองแจ
้ ้อสงสั ยนั้นเป็ นสิ่ งทีจ
้
้ง
ให้นักเรียนทราบทัง้ ห้อง ให้เขียนบน
กระ (กรรมการกากับห้องสอบตอบข้อ
การดาเนินการจัดสอบ
๗. การเตือ นเวลาการสอบในแต่ละ
ฉบับ ให้ ด าเนิ น การ
เป็ น
ระยะ ๆ คือ ครึง่ เวลาทีก
่ าหนดให้
แ ล ะ เ มื่ อ เ ห ลื อ เ ว ล า อี ก 5 น า ที
ควรเตือนอีกครัง้ หนึ่ง
การดาเนินการจัดสอบ
๘. ในกรณีทม
ี่ ผ
ี ู้ทาเสร็ จก่อนเวลาในแต่
ละฉบับ (ไม่น้ อยกว่า 30 นาที) ให้ วาง
แบบทดสอบและกระดาษคาตอบไว้ทีโ่ ต๊ะ
ทีน
่ ่ ัง สอบ โดยปิ ดแบบทดสอบและสอด
กระดาษคาตอบไว้ โดยให้หัว กระดาษ
ยืน
่ ออกมาพอประมาณเพือ
่ ความสะดวก
ใ น ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม แ ล้ ว ใ ห้ ว า ง
แบบทดสอบพร้ อมกระดาษค าตอบไว้ ที่
โต๊ะนั่งสอบของแตละคน
กอนออกจาก
่
่
ห้องสอบเตือนไมให
่ ้ นาแบบทดสอบหรือ
การดาเนินการจัดสอบ
๙. ก ร ร ม ก า ร ก า กั บ ห้ อ ง ส อ บ เ ก็ บ
แบบทดสอบและกระดาษคาตอบจาก
โ ต๊ ะ ที่ นั่ ง ส อ บ ข อ ง นั ก เ รี ย น
ทุ ก คน หลั ง จากสอบเสร็ จแต่ ละ
ค ว า ม ส า ม า ร ถ แ ล้ ว จึ ง แ จ ก
แบบทดสอบความสามารถด้านตอไป
่
พรอมกระดาษค
าตอบแผนเดิ
ม
้
่
การดาเนินการจัดสอบ
๑๐. เมื่ อ สอบความสามารถด้ านเหตุ ผ ลซึ่ ง เป็ น
ด้ า น สุ ด ท้ า ย ใ ห้ น า ก ร ะ ด า ษ ค า ต อ บ ม า เ รี ย ง
ตามเลขทีน
่ ่งั สอบจากน้อยไปหามาก
(ไมต
บมุมหรือเสี ยบลวด)
่ องเย็
้
การดาเนินการจัดสอบ
๑๑. กรรมการกากับการสอบนา
กระดาษคาตอบทีไ่ ดจั
้ ดเรียงไว้
แลวตามเลขที
น
่ ่งั สอบ(ไมต
บ
้
่ องเย็
้
มุมหรือเสี ยบลวด) จัดบรรจุลงใน
ซองบรรจุกระดาษคาตอบพรอม
้
ทัง้ แนบบัญชีรายชือ
่ นักเรียนทีเ่ ขา้
สอบซึง่ นักเรียนไดลงลายมื
อชือ
่
้
เรียบรอยแล
ว
้
้
การดาเนินการจัดสอบ
กรณีขาดสอบไม่
ตองแทรก
้
กระดาษคาตอบ/
กระดาษเปลา่
การดาเนินการหลังการจัดสอบ
๑.กรรมการกากับการสอบนาซอง
บรรจุกระดาษคาตอบส่งหัวหน้า
สนามสอบและกรรมการกลาง
สนามสอบเพือ
่ ตรวจสอบจานวนให้
ถูกตอง
้
ทาการปิ ดผนึกพรอมทั
ง้ ลงลายมือ
้
ชือ
่ กากับหน้าซองบรรจุ
ซองบรรจุกระดาษคาตอบ ชัน
้ ประถมศึ กษาปี ท ี่ 3
การดาเนินการหลังการจัดสอบ
๒.หัวหน้าสนามสอบนาซองบรรจุ
กระดาษคาตอบส่งให้คณะกรรมการ
ระดับกลุมโรงเรี
ยนหลังดาเนินการ
่
สอบเสร็จทันที
ในวันที่
๒๖ กุมภาพันธ ์ ๒๕๕๘
การเก็บรักษาแบบทดสอบ
แบบทดสอบอนุ ญาตให้
โรงเรียนเก็บไวใช
เพือ
่
้ ้
ประโยชนในการพั
ฒ
นา
์
จานวนทีพ
่ อควร ในลักษณะ
เอกสารลับทางราชการ หาก
เหลือ ให้มอบเขตพืน
้ ที่
การศึ กษาเพือ
่ จัดเก็บ/
การสอบ Pre O-NET
สพฐ. มีนโยบายเพิม่ ผลสั มฤทธิ์ ทางการเรียน คะแนน ONET
ส่ งข้ อสอบ Pre O-NET พร้ อมคู่มือการดาเนินการสอบ
Pre O-NET ชั้น ป.6 และ ม.3 กับทุกเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
ส่ งให้ ทางระบบ EPCC ทางข้ อความส่ วนตัวของแต่ ละเขต
ภายในเดือนพฤศจิกายน 2557
เขตพืน้ ที่การศึกษาดาเนินการจัดทาต้ นฉบับให้ ทุก
โรงเรียนในเขตพืน้ ที่การศึกษาสอบก่ อนการสอบ O-NET
การสอบ Pre O-NET
โรงเรียนตรวจให้ คะแนน และนาผลการสอบมาวิเคราะห์
จุดเด่ น จุดทีต่ ้ องปรับปรุงหรือต้ องพัฒนา เพือ่ นาไป
วางแผนในการยกระดับ
โรงเรียนต้ องรายงานผลการทดสอบ Pre O – NET ให้
สพป.นค.1 ภายในวันที่ 24 ธ.ค. 2557
โรงเรียนใช้ เป็ นตัวอย่ างในการสร้ างเครื่องมือในโรงเรียน
ประกาศ ศธ ให้ใช้สดั ส่วนผลการสอบ O- NET ในการ
ตัดสินผลการเรียน
- ปี การศึกษา 2556 สัดส่ วน 80 : 20
- ปี การศึกษา 2557 สัดส่ วน 70 : 30
 - ปี การศึกษา 2558 สัดส่ วน 50 : 50
ข้อสอบกลาง
เขตพืน้ ที่การศึกษา กากับ ส่ งเสริม ให้ โรงเรียนใช้ ข้อสอบรู ปแบบ
เขียนคาตอบ ร้ อยละ 30
ใช้ ข้อสอบกลางในการสอบปลายปี ร้ อยละ 20 ของคะแนนสอบ
ทั้งหมด ในกลุ่มสาระการเรียนรู้
ชั้น
ป.2
ป.4-5
ม.1-2
วิชาที่สอบ
1 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย
3 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
5 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ ภาษาต่างประเทศ
ข้อสอบกลาง (ต่อ)
สพฐ. ส่ งกรอบโครงสร้ างของข้ อสอบให้ พร้ อมกับข้ อสอบใน
ตัวชี้วดั สาคัญให้ จานวน 100 ข้ อ /กลุ่มสาระการเรียนรู้ ทางระบบ
EPCC ภายในเดือนมกราคม 2558
เขตพืน้ ที่การศึกษา กาหนดตารางสอบพร้ อมกันทุกโรงเรียนทั้ง
เขตพืน้ ที่การศึกษา
เขตพืน้ ที่การศึกษา จัดฉบับข้ อสอบกลางตามกรอบโครงสร้ างของ
ข้ อสอบที่ สพฐ.กาหนด จานวน 1 ฉบับและจัดพิมพ์ ข้อสอบ
ส่ งข้ อสอบกลางเพือ่ ดาเนินการสอบปลายภาคเรียน
ข้อสอบกลาง (ต่อ)
ดาเนินการสอบปลายภาคเรียนด้ วยข้ อสอบกลางให้ มีความ
โปร่ งใส บริสุทธิ์ ยุตธิ รรม
เขตพืน้ ที่การศึกษาและโรงเรียนตรวจให้ คะแนน และนาไปรวม
กับคะแนนระหว่างเรียนไปตัดสิ นผลการเรียนปลายปี
เขตพืน้ ที่การศึกษารวบรวม ส่ งข้ อมูล รายงาน สพฐ. ในการ
ดาเนินการสอบข้ อสอบกลางทางระบบ EPCC พร้ อมตอบ
แบบสอบถาม สพฐ.
การตัดสินผลการเรียนโดยใช้คะแนนจากข้อสอบกลาง
 วิธีคดิ กรณีโรงเรียนกาหนดให้กลุม่ สาระการเรียนรู ้ ภาษาไทย
ชัน้ ป.2 มีคะแนนผลการทดสอบเต็ม 100 คะแนน โดยแยกเป็ น
 - คะแนนเก็บระหว่างปี 70 คะแนน
 - คะแนนสอบปลายปี 30 คะแนน
 - สพฐ.กาหนดในการสอบปลายปี ให้ใช้คะแนนร้อยละ 20 ของ
คะแนนสอบทัง้ หมด
คะแนนสอบปลายปี ของโรงเรียน 30 คะแนน จะแยกเป็ น
 - ใช้ผลการทดสอบของโรงเรียน 24 คะแนน
 - ใช้ผลการทดสอบจากแบบทดสอบกลาง 6 คะแนน
ทาอย่างไรผลการทดสอบ NT / O – NET
จะเพิม่ ขึ้น
1. แก้ ปัญหานักเรียนอ่ านไม่ ออกเขียนไม่ ได้
2. พัฒนาศักยภาพนักเรียนด้ านการอ่ าน เขียน และคิดวิเคราะห์
3. ฝึ กทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ และเรียนรู้ ได้ ด้วยตนเอง
4. ฝึ กทักษะการใช้ ภาษาต่ างประเทศ ด้ านการฟัง พูด
5. จัดการเรียนการสอนให้ ครอบคลุมตามมาตรฐานการเรียนรู้
6. วัดและประเมินผลให้ เป็ นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้
นับถอยหลังเหลืออีก 62 วัน จะสอบ O - NET
กับอีก 86 วัน จะสอบ NT
1. คัดกรองนักเรียน
2. สอนซ่ อมเสริม
3. จัดติวนักเรียน
4. เข้ าค่ ายทางวิชาการ
5. ฝึ กจัดทาแบบทดสอบ
6. จัดหาวิทยากรเสริม
เว็ปไซด์คลังข้อสอบ ของ สพป.นค. 1

www. ict – nkedu1.net
สวัสดีครับ