เพาเวอร์พ้อยการจัดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2553 (สทศ)
Download
Report
Transcript เพาเวอร์พ้อยการจัดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2553 (สทศ)
การประชุมชี้แจง
การดาเนินการจัดสอบ O-NET
ช่วงชั้นที่ 2 (ป.6) และช่วงชั้นที่ 3 (ม.3)
ระดับศูนย์สอบ ปี การศึกษา 2553
โดย สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
บทบาทหน้าที่ของศูนย์สอบ
www.niets.or.th
บทบาทของศูนย์สอบ
เพื่อกากับการจัดสอบ O-NET ให้โปร่งใส ได้มาตรฐาน
ประธานศูนย์สอบ คือ
ผูอ
้ านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ผูอ
้ านวยการสานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัด
(ปั ตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา และสตูล)
ท้องถิ่นจังหวัดที่ได้รบั มอบหมายจากผูว้ ่าราชการจังหวัด
ผูอ
้ านวยการสานักการศึกษากรุงเทพมหานคร
ผูอ
้ านวยการสานักการศึกษาเมืองพัทยา
www.niets.or.th
บทบาทของศูนย์สอบ
ประธานศูนย์สอบ สามารถแต่งตัง้ คณะทางานได้ตามความ
เหมาะสม เช่น
คณะทางานประงานการจัดสอบ ช่วงชั้นที่ 2 และ 3
คณะทางานรับ-ส่ง เก็บรักษาแบบทดสอบ กระดาษคาตอบ
คณะทางานจัดทาข้อมูลโรงเรียน นักเรียน และศูนย์สอบ
คณะทางานด้านการเงิน
คณะทางานอื่น ๆ โดยจานวนคณะทางานพิจารณาตามความ
เหมาะสมกับจานวนนักเรียนผูเ้ ข้าสอบ
www.niets.or.th
การดาเนินงานของศูนย์สอบ
1. การนาส่งข้อมูลนักเรียน โรงเรียน ผ่านเว็บไซต์ สทศ.
สารวจข้อมูลโรงเรียนที่เปิ ดสอน ป.6, ม.3 และกากับให้โรงเรียน
ส่งข้อมูลภายในเวลาที่กาหนด
กาหนดสนามสอบ ข้อมูลสนามสอบและห้องสอบ
แก้ไขรายชื่อนักเรียนและข้อมูลโรงเรียนให้ถก
ู ต้องตามคาร้องขอ
ของโรงเรียนภายในเวลาที่กาหนด
ตรวจสอบประกาศ เลขที่นั ่งสอบ ห้องสอบ และสนามสอบ
ออกเลขที่นั ่งสอบให้ผเู ้ ข้าสอบกรณีพิเศษ (ในวันสอบ)
www.niets.or.th
การดาเนินงานของศูนย์สอบ
2. การประสานงานการจัดสอบ
แต่งตั้งคณะทางานระดับศูนย์สอบ สนามสอบ ตัวแทนศูนย์สอบ
กาหนดปฏิทินการทางาน ประชุมชี้แจงผูเ้ กี่ยวข้องกับการจัดสอบ
และกากับให้มีการประชุมระดับสนามสอบ
กาหนดวันรับแบบทดสอบและจัดเก็บรักษาโดยลับในสถานที่ที่
เหมาะสม เพื่อเตรียมกระจายให้สนามสอบ
กากับ ติดตาม และตรวจสอบ ให้การจัดสอบ ณ สนามสอบมีความ
โปร่งใส ยุตธิ รรม เป็ นไปตามคู่มือการจัดสอบ
www.niets.or.th
การดาเนินงานของศูนย์สอบ
2. การประสานงานการจัดสอบ (ต่อ)
กากับสนามสอบให้ส่งกล่องกระดาษคาตอบ พร้อมเอกสารการ
ดาเนินการจัดสอบ ระดับสนามสอบ ให้ศูนย์สอบตามวันที่นดั หมาย
ส่งมอบกล่องกระดาษคาตอบ และเอกสารอื่น ๆ จากศูนย์สอบถึง
สทศ. ให้เจ้าหน้าที่ สทศ. ตามวันที่นดั หมาย
ส่งรายงานผลการดาเนินการจัดสอบ ระดับศูนย์สอบ ให้ สทศ.
ภายใน 30 วัน หลังเสร็จสิ้นการสอบ
www.niets.or.th
การดาเนินงานของศูนย์สอบ
3. การควบคุมการใช้จา่ ย
ศูนย์สอบแจ้งบัญชีเงินอุดหนุนของศูนย์สอบให้ สทศ. ทราบ
รับเงินจัดสรรงบประมาณแบบเหมาจ่ายรายหัวของผูเ้ ข้าสอบต่อ
คนต่อชุดวิชา และจัดส่งใบเสร็จรับเงินให้ สทศ. ทันทีที่ได้รบั เงิน
งวดที่ 1 จานวน 15% ของงบ ภายใน 7 ตุลาคม 2553
งวดที่ 2 จานวนที่เหลือ ภายใน 7 ธันวาคม 2553
www.niets.or.th
การดาเนินงานของศูนย์สอบ
3. การควบคุมการใช้จา่ ย (ต่อ)
การอนุมตั กิ ารจ่ายเงินในการดาเนินการจัดสอบ ให้ยดึ ตาม
ข้อบังคับคณะกรรมการบริหารสถาบันทดสอบฯ ว่าด้วยค่าใช้จา่ ย
ในการดาเนินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ พ.ศ. 2550
เก็บรวบรวมหลักฐานด้านการเงินไว้เพื่อรอการตรวจสอบจาก
สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน
ส่งรายงานสรุปค่าใช้จา
่ ยการจัดสอบระดับชาติข้นั พื้นฐาน (ONET) ให้ สทศ. ภายใน 30 วันหลังเสร็จสิ้นการสอบ
www.niets.or.th
การจัดสนามสอบและห้องสอบ
การจัดสนามสอบ ให้อยูใ่ นดุลยพินิจของประธานศูนย์สอบ โดย
ในปี การศึกษา 2553 สทศ. กาหนดให้ศูนย์สอบเลือก 1 สนาม
สอบต่อ 1 ตาบล โดยรวมโรงเรียนที่อยูใ่ กล้กนั เข้าสอบในสนาม
สอบเดียวกัน ยกเว้น ในโรงเรียนห่างไกลหรือมีเหตุผลจาเป็ น
การจัดห้องสอบ ศูนย์สอบต้องกาหนดสนามสอบ ระบุจานวน
ห้องสอบและข้อมูลห้องสอบ ผ่านทางเว็บไซต์ สทศ. ที่
www.niets.or.th ภายในช่วงเวลาที่กาหนด จานวนห้องสอบคิดจาก
จานวนนักเรียนห้องสอบละ 30 คน หลังจากนั้น สทศ. จะจัด
รายชื่อนักเรียนเข้าห้องสอบ และประกาศเลขที่นั ่งสอบต่อไป
www.niets.or.th
การออกเลขที่นั ่งสอบผูเ้ ข้าสอบกรณีพิเศษ
หลังจาก สทศ. ประกาศเลขที่นั ่งสอบแล้ว หากภายหลังโรงเรียน
ได้ทาการเพิ่มชื่อนักเรียนเข้าระบบอีก สทศ. จะออกเลขทีน่ ั ่งสอบ
เพิ่มเติมให้ แต่นกั เรียนที่เพิ่มเหล่านี้จะไม่มีรายชื่อใน สทศ.2 (ใน
วันสอบผูเ้ ข้าสอบจะต้องเขียนชื่อและลงลายมือชื่อใน สทศ.3)
หากวันสอบมีนก
ั เรียน walk in เข้ามา สนามสอบต้องแจ้งศูนย์สอบ
โดยศูนย์สอบต้องพิจารณาจานวนแบบทดสอบและ
กระดาษคาตอบสารอง และศูนย์สอบต้องออกเลขที่นั ่งสอบให้
นักเรียนแล้วแจ้งสนามสอบ และศูนย์สอบต้องเพิ่มรายชื่อนักเรียน
เข้าระบบ O-NET อีกด้วย (รายละเอียดขั้นตอนในคู่มือ หน้า 10)
www.niets.or.th
ค่าใช้จา่ ยในการดาเนินการทดสอบ
ปี การศึกษา 2553 สทศ. จัดสรรงบประมาณในการดาเนินการสอบแบบเหมา
จ่ายเป็ นรายหัว (ช่วงชั้นละ 2 วิชา 8 สาระการเรียนรู)้ และสภาพภูมิศาสตร์
ที่ต้งั ศูนย์สอบ
กลุม่
1
กทม.
2
3
เขตพื้นที่ตา่ งจังหวัด พื้นที่ราบ เขตการศึกษาขนาดใหญ่
หรือกลาง
เขตพื้นที่ตา่ งจังหวัด พื้นที่ราบ เขตการศึกษาขนาดเล็ก
4
เขตพื้นที่ตา่ งจังหวัด พื้นที่ยงุ่ ยาก เขตการศึกษาขนาด
ใหญ่หรือกลาง
เขตพื้นที่ตา่ งจังหวัด พื้นที่ยงุ่ ยาก เขตการศึกษาขนาดเล็ก
เงินจัดสรร (บาท/วิชา)
เดิม 24 ใหม่ 29
เดิม 28 ใหม่ 34
เดิม 30 ใหม่ 36
เดิม 30 ใหม่ 36
เดิม 33 ใหม่ 39
www.niets.or.th
ค่าใช้จา่ ยในการดาเนินการทดสอบ
ข้อกาหนดเพิ่มเติม
ศูนย์สอบที่จานวนช่วงชั้นใดช่วงชั้นหนึ่งน้อยกว่า 1,000 คน หรือ
ทั้งสองช่วงชั้น น้อยกว่า 1,000 คน ให้ถือว่าเป็ น 1 ศูนย์สอบ แต่
บริหารการจัดสอบทั้ง 2 ช่วงชั้น
ศูนย์สอบที่ได้รบ
ั เงินจัดสรรเพื่อการบริหารการจัดสอบ น้อยกว่า
15,000 บาท สทศ. จะโอนเงินให้จานวน 15,000 บาท
www.niets.or.th
การใช้จา่ ยงบประมาณของศูนย์สอบ
ให้ประธานศูนย์สอบหรือผูท้ ี่ได้รบั มอบหมายเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
มีอานาจในการสั ่งจ่ายหรืออนุมตั กิ ารเบิกจ่าย แต่ตอ้ งไม่เกินวงเงิน
ค่าใช้จา่ ยเหมาจ่ายที่ได้รบั จัดสรร
การสั ่งจ่ายเงินหรืออนุ มต
ั เิ บิกจ่ายเงิน จะต้องอยูภ่ ายใต้อตั ราบัญชี
แนบท้าย 5 ของข้อบังคับคณะกรรมการบริหารสถาบันฯ ว่าด้วย
ค่าใช้จา่ ยในการดาเนินการทดสอบฯ พ.ศ. 2550
การสั ่งจ่ายหรืออนุ มต
ั เิ บิกจ่ายเงินจะต้องคานึงถึงความจาเป็ น
เหมาะสม และประหยัด ภายในวงเงินงบประมาณเหมาจ่ายที่ได้รบั
โดยยึดถือประโยชน์ของการดาเนินงานเป็ นสาคัญ
www.niets.or.th
การใช้จา่ ยงบประมาณของศูนย์สอบ (ต่อ)
การสั ่งจ่ายหรืออนุมตั เิ บิกจ่ายเงินทุกครั้ง จะต้องมีหลักฐานการ
จ่ายเงินหรือใบสาคัญจ่ายเงินที่ถูกต้องครบถ้วน โดยผูป้ ฏิบตั งิ าน
ต้องลงนามรับรองเป็ นหลักฐาน
ศูนย์สอบมีหน้าที่จด
ั ทาบัญชีและจัดเก็บเอกสารประกอบรายงาน
การรับ การจ่ายเงินในการจัดสอบ O-NET แต่ละครั้ง
ศูนย์สอบต้องส่งรายงานสรุปค่าใช้จา
่ ยให้ สทศ. ตามแบบที่ สทศ.
กาหนด ภายใน 30 วันหลังจากเสร็จสิ้นการทดสอบแต่ละครัง้
หากไม่สามารถดาเนินการภายในเวลากาหนดได้ให้ศูนย์สอบทา
หนังสือแจ้งผูอ้ านวยการ สทศ. เพื่อขออนุมตั ขิ ยายเวลา
www.niets.or.th
ข้อควรระวังของศูนย์สอบ
ข้อควรระวังของศูนย์สอบ
กากับและตรวจสอบการส่งข้อมูลของโรงเรียนในความดูแลให้
แล้วเสร็จตามกาหนด
รับและต้องนับจานวนกล่องข้อสอบ กระดาษคาตอบจาก สทศ. ให้
ครบถ้วนตามบัญชีส่ง เก็บรักษาให้ปลอดภัย และส่งให้สนามสอบ
ตามบัญชีส่ง และกาชับให้สนามสอบเก็บรักษาให้ปลอดภัย
การออกเลขที่นั ่งสอบให้ผเู ้ ข้าสอบกรณีพิเศษ ต้องดาเนิ นการตาม
แนวปฏิบตั ทิ ี่ สทศ. กาหนด
www.niets.or.th
ข้อสอบ O-NET ฉบับสั้น
ของ ป.6 และ ม.3
www.niets.or.th
ข้อสอบ O-NET ฉบับสั้น
ข้อสอบ O-NET ฉบับสั้นคืออะไร
คือแบบทดสอบ O-NET ป.6 และ ม.3 ที่มีครบทุกวิชา ทุก
มาตรฐาน (ครอบคลุมทั้ง 8 กลุม่ สาระ 76 มาตรฐานการเรียนรู ้
ตามหลักสูตรมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544) อยูใ่ น
ฉบับเดียวกัน เป็ นข้อสอบที่ใช้เวลาสอบน้อย
www.niets.or.th
ข้อสอบ O-NET ฉบับสั้น
ทาไมจึงเป็ นข้อสอบ O-NET ฉบับสั้น
เพราะโรงเรียน ต้นสังกัด ไม่นาผลไปใช้ให้คมุ ้ ค่ากับเวลาสอบ
งบประมาณ แรงงานที่เสียไป
ข้อสอบ O-NET ฉบับสั้นดีอย่างไร
วัดผลได้เหมือนข้อสอบฉบับยาว
www.niets.or.th
ข้อสอบ O-NET ฉบับสั้น
ข้อสอบ O-NET ฉบับสั้นวัดผลได้เหมือนฉบับยาวจริงหรือ?
จริง เพราะจากการนาข้อสอบและคะแนนที่สอบเมื่อปี พ.ศ.
2552 มาจัดแยกเป็ นฉบับสั้น 2 ฉบับๆ ละ 76 ข้อ ตามมาตรฐาน
การเรียนรู ้ และนาคะแนนของนักเรียน ป.6 ม.3 และ ม.6 จาก
ข้อสอบดังกล่าว มาวิเคราะห์ สรุปได้ ผลดังนี้
www.niets.or.th
ข้อสอบ O-NET ฉบับสั้น
ผลวิเคราะห์ขอ้ สอบ O-NET ฉบับสั้นและฉบับยาว
ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนสอบข้อสอบฉบับสั้น ฉบับ 1 และ 2
มีค่า .8-.9
ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างข้อสอบฉบับสั้นกับข้อสอบฉบับยาว
(ทั้งหมด) มีค่า .8-.9
ค่าความเที่ยงของข้อสอบฉบับสั้น มีค่า .5-.8
ค่าความคลาดเคลื่อนจากการวัด มีค่า 1.3-4
www.niets.or.th
ข้อสอบ O-NET ฉบับสั้น
สอบ O-NET ฉบับสั้น นักเรียนจะได้อะไร
นักเรียนได้รายงานผลสอบแยกกลุม่ สาระ (เหมือนเดิม)
สอบ O-NET ฉบับสั้น โรงเรียนจะได้อะไร
จะได้รายงานผลสอบของนักเรียนของตน (เหมือนเดิม) โดยแยก
คะแนนเป็ นกลุม่ สาระ รายสาระ รายมาตรฐานการเรียนรู ้
เปรียบเทียบกับค่าสถิตริ ะดับสังกัด และประเทศ เพื่อนาไปใช้
ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนต่อไป
www.niets.or.th
ข้อสอบ O-NET ฉบับสั้น
สอบ O-NET ฉบับสั้น ประเทศจะได้อะไร
ประเทศจะได้ค่าสถิตทิ ี่สะท้อนความรูข้ องนักเรียน(เหมือนเดิม)
เพื่อนาไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาของประเทศ
ต่อไป
ลดงบประมาณรายจ่ายของประเทศ
www.niets.or.th
ข้อสอบ O-NET ฉบับสั้น
ข้อสอบ O-NET ฉบับสั้น เริ่มใช้เมื่อไร
เริม่ ใช้สอบจริง ในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 (ปี การศึกษา 2553)
จัดสอบในช่วงชั้นที่ 2 และ 3 (ป.6 และ ม.3) ข้อสอบมีช่วงชั้นละ
2 ชุดวิชา แต่ละชุดวิชามีขอ้ สอบ 2 ชุด คือ ชุด A และ ชุด B ซึ่ง
ทั้งสองชุดเป็ นข้อสอบคู่ขนานกัน (นักเรียน 1 คน สอบ 1 ชุด)
www.niets.or.th
ข้อสอบ O-NET ฉบับสั้น
ชุดวิชาข้อสอบ O-NET ฉบับสั้น ช่วงชั้นที่ 2 (ป.6)
ชุดวิชาที่ 1 ประกอบด้วยสาระสังคมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์ จานวนข้อสอบ 40 ข้อ
ชุดวิชาที่ 2 ประกอบด้วยสาระภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สุขศึกษา
และพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี จานวนข้อสอบ
50 ข้อ
ระยะเวลาการสอบชุดวิชาละ 1 ชั ่วโมง 30 นาที
www.niets.or.th
ข้อสอบ O-NET ฉบับสั้น
ชุดวิชาข้อสอบ O-NET ฉบับสั้น ช่วงชั้นที่ 3 (ม.3)
ชุดวิชาที่ 1 ประกอบด้วยสาระสังคมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์ จานวนข้อสอบ 50 ข้อ
ชุดวิชาที่ 2 ประกอบด้วยสาระภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สุขศึกษา
และพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี จานวนข้อสอบ
50 ข้อ
ระยะเวลาการสอบชุดวิชาละ 1 ชั ่วโมง 30 นาที
www.niets.or.th
การจัดสอบ O-NET ในปี 2554
1.ลักษณะข้อสอบ แบบฉบับสั้น ครบทุกวิชา ทุกมาตรฐาน อยูใ่ น
ฉบับเดียวกัน (ป.6 และ ม.3)
2.จานวนชุดวิชาที่สอบ ช่วงชั้นละ 2 ชุดวิชา
3.ลักษณะข้อสอบแต่ละชุดวิชา มี 2 ชุด เป็ นข้อสอบคู่ขนาน คือชุด
A และชุด B
4.จานวนมัดกระดาษคาตอบ 1 มัด/ชุดวิชา/ห้องสอบ/แยกรหัสสี
5.จานวนซองแบบทดสอบ 2 ซอง/ชุดวิชา/ห้องสอบ/แยกรหัสสี
6.ซองแบบทดสอบ/แบบทดสอบ/กระดาษคาตอบ แยกเป็ นชุด A
และ B ชุดเดียวกันจะใช้รหัสสีเดียวกัน
www.niets.or.th
การจัดสอบ O-NET ในปี 2554 (ต่อ)
7.ซองแบบทดสอบจะถูกปิ ดด้วย เทปกาวพิเศษแบบทาลายตนเอง
เพื่อป้องกันมิให้เปิ ดจนถึงห้องสอบ
8.การแจกแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ
ชุด A แจกให้คนที่ 1 – 15 ชุด B แจกให้คนที่ 16 – 30
9.กระดาษคาตอบได้ระบุชื่อนามสกุล รหัสประชาชน เลขที่นั ่งสอบ
รหัสชุดวิชาของผูเ้ ข้าสอบไว้แล้ว กรรมการคุมสอบต้องแจกให้ตรง
กับผูเ้ ข้าสอบ หากไม่ตรงหรือชารุดต้องใช้กระดาษคาตอบสารอง
10.แต่ละสนามสอบมีแบบทดสอบสารอง 7% และกระดาษคาตอบ
สารอง 10% ของจานวนผูเ้ ข้าสอบ
www.niets.or.th
การจัดสอบ O-NET ในปี 2554 (ต่อ)
11.จานวนวันที่สอบ ช่วงชั้นละครึง่ วัน
12.จัดสนามสอบแบบรวมสนาม 1 สนามสอบ/1 ตาบล (ยกเว้น
โรงเรียนห่างไกลหรือมีเหตุผลจาเป็ น)
13.การออกเลขที่นั ่งสอบผูเ้ ข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in) ศูนย์สอบ
ต้องเป็ นผูด้ าเนินการและต้องเพิ่มข้อมูลในระบบ O-NET ด้วย
14.การแก้ไขข้อมูลผูเ้ ข้าสอบ หากพบข้อมูลไม่ถูกต้องในวันสอบ
ให้ผเู ้ ข้าสอบแก้ไขลงในแบบฟอร์ม สทศ.6 แล้วสนามสอบ
รวบรวมส่งศูนย์สอบ และศูนย์สอบรวบรวมส่ง สทศ. พร้อมกับ
กล่องกระดาษคาตอบ
www.niets.or.th
การรับ-ส่งแบบทดสอบ กระดาษคาตอบ
เส้นทางการรับ-ส่งแบบทดสอบ กระดาษคาตอบ เอกสาร
และอุปกรณ์
สทศ.
สพท.
185 เขต
สช.
5 จังหวัด
ท้องถิ่นจังหวัด
75 จังหวัด
สานักการศึกษา
กทม.
สานักการศึกษา
เมืองพัทยา
สนามสอบ
สนามสอบ
สนามสอบ
สนามสอบ
สนามสอบ
กาหนดการส่งระหว่างวันที่ 23 – 28 มกราคม 2554
www.niets.or.th
ตารางสอบ O-NET ช่วงชั้นที่ 2
ป.6 สอบวันอังคารที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554
เวลาสอบ
08.30 – 10.00 น.
11.00 – 12.30 น.
รหัสชุดวิชา
วิชา
62A และ 62B สังคมศึกษา
(40 ข้อ)
ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์
พัก 1 ชั ่วโมง
61A และ 61B ภาษาไทย
(50 ข้อ)
วิทยาศาสตร์
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
จานวนข้อ
12
8
20
18
13
6
6
7
www.niets.or.th
ตารางสอบ O-NET ช่วงชั้นที่ 3
ม.3 สอบวันพุธที่ 2 กุมภาพันธ์ 2554
เวลาสอบ
08.30 – 10.00 น.
11.00 – 12.30 น.
รหัสชุดวิชา
วิชา
92A และ 92B สังคมศึกษา
(50 ข้อ)
ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์
พัก 1 ชั ่วโมง
91A และ 91B ภาษาไทย
(50 ข้อ)
วิทยาศาสตร์
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
จานวนข้อ
15
15
20
15
15
7
6
7
www.niets.or.th
ระเบียบการเข้าห้องสอบ
1. ไม่มีเลขที่นั ่งสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ
2. ไม่มีบต
ั รแสดงตน ไม่มีสิทธิ์สอบ
3. ไปผิดสนามสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ
4. ไปสายเกิน 30 นาที ไม่มีสิทธิ์สอบในวิชานั้น
5. ห้ามนาเครือ
่ งมืออุปกรณ์สื่อสารทุกชนิดเข้าห้องสอบ
6. ให้นั ่งสอบจนหมดเวลา (เฉพาะ ป.6 อนุ ญาตให้ออกจากห้อง
สอบได้หลังจากสอบผ่านไปแล้ว 1 ชั ่วโมง)
7. อนุ ญาต ให้นานาฬิกาเข้าห้องสอบ
(ต้องเป็ นนาฬิกาธรรมดา ที่ใช้ดเู วลาเท่านั้น)
www.niets.or.th
สรุปข้อมูลการจัดสอบ
ปั ญหาการจัดสอบที่พบ และวิธีแก้ไข
www.niets.or.th
สรุปปั ญหาการจัดสอบ และแนวทางแก้ไข
สรุปภาพรวมปั ญหาการจัดสอบปี ที่ผ่านมา
ระดับ สทศ.
1.ไม่มีกระดาษกาวและเชือกสาหรับใช้เพื่อบรรจุกระดาษคาตอบ
กลับมายัง สทศ.
2.บรรจุแบบทดสอบไม่ตรงกับสนามสอบ
3.บรรจุแบบทดสอบจานวนไม่ตรงกับที่ระบุไว้
4.สติ้กเกอร์ สทศ. ไม่มีอยูใ
่ นซองกระดาษคาตอบ
5.กล่องแบบทดสอบชารุดเนื่องจากการขนส่ง
www.niets.or.th
สรุปปั ญหาการจัดสอบ และแนวทางแก้ไข
สรุปภาพรวมปั ญหาการจัดสอบปี ที่ผ่านมา
ระดับศูนย์สอบ
1.ส่งกล่องกระดาษคาตอบไม่ครบกับจานวนที่รายงาน
2.กล่องกระดาษคาตอบปะปนระหว่างชั้น มีการส่งเป็ นกล่องย่อย
3.ไม่มีเจ้าหน้าที่ขนแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ
4.งบประมาณไม่เพียงพอกับจานวนสนามสอบ
5.ส่งแบบทดสอบไม่ตรงกับสนามสอบ/สลับสนามสอบ
www.niets.or.th
สรุปปั ญหาการจัดสอบ และแนวทางแก้ไข
สรุปภาพรวมปั ญหาการจัดสอบปี ที่ผ่านมา
ระดับศูนย์สอบ
6.ศูนย์สอบไม่ส่งรายงานผลการดาเนินงานการจัดสอบ และสรุป
ค่าใช้จา่ ยการจัดสอบ มาที่ สทศ. โดยตรง แต่กลับส่งมาพร้อมกับ
กระดาษคาตอบ ทาให้เอกสารดังกล่าวไม่ถึง สทศ. หรืออาจสูญ
หาย
www.niets.or.th
สรุปปั ญหาการจัดสอบ และแนวทางแก้ไข
สรุปภาพรวมปั ญหาที่พบการจัดสอบปี ที่ผ่านมา
ระดับสนามสอบ/โรงเรียน
1. บรรจุกระดาษคาตอบผิดซอง
2. ส่งกล่องกระดาษคาตอบไม่ครบ
3. ไม่ส่งกระดาษคาตอบที่มีขอ
้ มูลผูเ้ ข้าสอบกลับมาด้วย (กรณีที่ใช้
กระดาษคาตอบสารอง)
4. การกรอกข้อมูลในแบบฟอร์ม สทศ. ยังไม่ถูกต้อง
5. ลืมลงลายมือชื่อในกระดาษคาตอบ/ซองกระดาษคาตอบ
www.niets.or.th
สรุปปั ญหาการจัดสอบ และแนวทางแก้ไข
สรุปภาพรวมปั ญหาการจัดสอบปี ที่ผ่านมา
ระดับสนามสอบ/โรงเรียน (ต่อ)
6.การติดสติ้กเกอร์ สทศ. ไม่ได้ปิดทับรอยต่อที่ปากซอง
กระดาษคาตอบ
7.โรงเรียนไม่ส่งรายชื่อนักเรียน สนามสอบ ตามกาหนดเวลาทาให้
ตกหล่น ไม่มีสิทธิ์สอบ
8.การแจ้งรายชื่อเด็กพิเศษ ไม่ตรงกับความเป็ นจริง ทาให้เกิด
ปั ญหาในการจัดแบบทดสอบและห้องสอบสาหรับเด็กพิเศษ
www.niets.or.th
สรุปปั ญหาการจัดสอบ และแนวทางแก้ไข
สรุปภาพรวมปั ญหาการจัดสอบปี ที่ผ่านมา
ระดับสนามสอบ/โรงเรียน (ต่อ)
9.โรงเรียนส่งข้อมูลนักเรียน ห้องสอบ ไม่ตรงกาหนดเวลา
10.นักเรียนย้ายโรงเรียน ทาให้มีขอ
้ มูลของเด็กสองสนามสอบ
11.โรงเรียนไม่มีบต
ั รประจาตัวนักเรียนให้เด็ก
12.โรงเรียนอยูไ
่ กลในถิ่นทุรกันดาร ไม่มีคอมพิวเตอร์และ
อินเทอร์เน็ตทาให้มีปัญหาเรื่องการส่งข้อมูล
www.niets.or.th
การสอบ O – NET ปี 53
มีรูปแบบข้อสอบ 4 รูปแบบ
www.niets.or.th
แบบที่ 1
เป็ นข้อสอบแบบเลือกตอบ
ซึ่งอาจมี 4 ตัวเลือก หรื อหลาย
ตัวเลือก แล้วให้นกั เรี ยนเลือก
คาตอบที่ถูกที่สุดเพียง 1 คาตอบ
www.niets.or.th
แบบที่ 2
เป็ นข้อสอบแบบเลือกตอบ
ซึ่งอาจมี 4 ตัวเลือก หรื อหลายตัวเลือก
แล้วให้นกั เรี ยนเลือกคาตอบที่ถูกได้มากกว่า
1 คาตอบ โดยนักเรี ยนต้องระบายคาตอบที่
ถูกให้ครบตามที่โจทย์กาหนด
www.niets.or.th
แบบที่ 3
เป็ นข้อสอบแบบเลือกตอบจากกลุ่มที่
สัมพันธ์กนั ซึ่งนักเรี ยนจะต้องเลือกคาตอบ
ที่ถูกที่สุดจากแต่ละกลุ่มตัวเลือก กลุ่มละ
1 คาตอบ โดยคาตอบจากแต่ละกลุ่ม
จะต้องมีความสัมพันธ์กนั
www.niets.or.th
แบบที่ 4
เป็ นข้อสอบแบบระบายคาตอบที่
เป็ นค่าตัวเลข ซึ่งเป็ นคาตอบที่
ได้จากโจทย์ในแต่ละข้อ
www.niets.or.th