www.niets.or.th - มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

Download Report

Transcript www.niets.or.th - มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

การเตรียมความพร้อมของเด็กไทยกับอนาคตทางการศึกษา
ต่อแนวปฏิบตั ใิ นการสอบแอดมิสชั ่น และ
การเตรียมความพร้อมสอบ GAT/PAT ปี 2555
สาหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 4 และครูแนะแนวใน จ.ศรีสะเกษ
โดย
รองศาสตราจารย์ ดร.สัมพันธ์ พันธุพ์ ฤกษ์
ผูอ้ านวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
(องค์การมหาชน)
โดย สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
โครงการ 1 ทศวรรษราชภัฏศรีสะเกษ
มหกรรมสัปดาห์วิชาการเทิดไท้องค์ราชันย์ 84 พรรษา
วันที่ 6 มกราคม 2554 เวลา 10.00-12.00 น.
ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา
มหาวชิราลงกรณ
หน้า 2
www.niets.or.th
ประวัตผิ อู ้ านวยการ สทศ.

ผูอ้ ำนวยกำรสถำบันทดสอบทำงกำรศึกษำแห่งชำติ(สทศ.)
 กรรมกำรพัฒนำระบบกำรประเมินค ุณภำพกำรศึ กษำ
ขัน้ พื้นฐำน ( ส ม ศ . )
 นำยกสมำคมวิจยั สังคมศำสตร์แห่งประเทศไทย
 อ ุปนำยกสภำมหำวิทยำลัยรำชภัฏบ ุรีรม
ั ย์
 อดีตคณบดีคณะศึ กษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยขอนแก่น
 อดีตประธำนสภำคณบดีคณะคร ุศำสตร์ศึกษำศำสตร์
แห่งประเทศไทย
____________รศ.ดร.สัมพันธ์ พันธุพ์ ฤกษ์_________________
หน้า 3
[email protected]
2
www.niets.or.th
2
หัวข้อการประชุม








อานาจหน้าที่หลักของ สทศ.
การจัดสอบของ สทศ.
วัตถุประสงค์ของการสอบ O-NET
หน่วยงานที่จดั สอบ O-NET
ข้อสอบ O-NET ม.3 และ ม.6 ปี การศึกษา 2553
รูปแบบข้อสอบของ สทศ.
การเตรียมตัวสอบ O-NET และการดูผลคะแนน
ตารางสอบและระเบียบการสอบ
หน้า 4
www.niets.or.th
อานาจหน้าที่หลักของ สทศ.
(พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สทศ. พ.ศ.2548 มาตรา 8)
1.
2.
3.
4.
ดาเนินการเกี่ยวกับการจัดทาระบบ วิธีการทดสอบและพัฒนาเครื่องมื อวัดและ
ประเมินผลตามมาตรฐานการศึกษา
ดาเนินการเกี่ยวกับการประเมินผลการจัดการศึกษาและการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติ ตลอดจนให้ความร่วมมือและสนับสนุ นการทดสอบทั้ง
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา
ดาเนินการเกี่ยวกับการทดสอบทางการศึกษา บริการสอบวัดความรู ้
ความสามารถ และการสอบวัดมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ เพื่อนาผลไปใช้
เป็ นส่วนหนึ่งในการเทียบระดับและการเทียบโอนผลการเรียนที่มาจาก
การศึกษาในระบบเดียวกันหรือการศึกษาต่างระบบ
ดาเนินการเกี่ยวกับการศึกษาวิจยั และเผยแพร่นวัตกรรมเกี่ยวกับการทดสอบ
ทางการศึกษา ตลอดจนเผยแพร่เทคนิคการวัดและประเมินผลการศึกษา
หน้า 5
www.niets.or.th
อานาจหน้าที่หลักของ สทศ. (ต่อ)
(พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สทศ. พ.ศ.2548 มาตรา 8)
5.
6.
7.
เป็ นศูนย์กลางข้อมูลการทดสอบทางการศึกษา ตลอดจนสนับสนุน และ
ให้บริการผลการทดสอบแก่หน่วยงานต่าง ๆ ได้ท้งั ในประเทศและ
ต่างประเทศ
พัฒนาและส่งเสริมวิชาการด้านการทดสอบและประเมินผลทางการศึกษา
รวมถึงพัฒนาบุคลากรด้านการทดสอบและประเมินผล ด้านการติดตามและ
ประเมินผลคุณภาพบัณฑิต รวมทั้งการให้การรับรองมาตรฐานของระบบ
วิธีการ เครื่องมือวัด ของหน่วยงานการประเมินผลและทดสอบทางการศึกษา
เป็ นศูนย์กลางความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษาทั้งใน
ระดับประเทศและระดับนานาชาติ
หน้า 6
www.niets.or.th
การจัดสอบของ สทศ.
ชื่อย่อ
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
ชื่อเต็มภาษาไทย
O-NET
Ordinary National Education Test
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พื้นฐาน
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดา้ น
อาชีวศึกษา
V-NET Vocational National Education Test
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติการศึกษา
N-NET Non-Formal National Education Test
นอกระบบโรงเรียน
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดา้ นอิสลาม
I-NET
Islamic National Education Test
ศึกษา
การทดสอบความถนัดทั ่วไป
GAT
General Aptitude Test
PAT
Professional and Academic Aptitude
Test
การทดสอบความถนัดทางวิชาชีพและวิชาการ
หน้า 7
www.niets.or.th
การจัดสอบของ สทศ. (ต่อ)
ชื่อย่อ
ชื่อเต็ม
PAT1
PAT2
PAT3
ความถนัดทางคณิตศาสตร์
ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
PAT4
PAT5
PAT6
ความถนัดทางสถาปั ตยกรรมศาสตร์
ความถนัดทางวิชาชีพครู
ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
PAT7
ความถนัดในการเรียนภาษาต่างประเทศ
7.1 ภาษาฝรั ่งเศส
7.2 ภาษาเยอรมัน
7.3 ภาษาญี่ปุ่น
7.4 ภาษาจีน
7.5 ภาษาบาลี
7.6 ภาษาอาหรับ
หน้า 8
www.niets.or.th
องค์ประกอบของ Admissions
Admissions กลาง
หน้า 9
www.niets.or.th
Admissions กลาง
องค์ประกอบและค่าน้ าหนักในระบบ Admissions กลาง
องค์ประกอบ
1. GPAX
2. O-NET (8 กลุ่มสาระฯ)
5 กลุ่มสาระฯ แรก กลุ่มสาระฯ ละ 5%
3 กลุ่มสาระฯ ที่เหลือ รวมกัน 5%
3. GAT
4. PAT
รวม
น้ าหนัก
20 %
30 %
10 – 50 %
0 – 40 %
100%
องค์ประกอบและค่าน้ าหนักในแต่ละสาขา
องค์ประกอบและค่าน้ าหนักในแต่ละสาขา (ต่อ)
12
การสอบ O-NET
การสอบ O-NET
หน้า 13
www.niets.or.th
วัตถุประสงค์ของการสอบ O-NET

เพื่อทดสอบความรูแ้ ละความคิดของนักเรียน ตามหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
 เพื่อนาผลการสอบไปใช้
 ปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนในโรงเรียน
 ประเมินผลการเรียนรูข
้ องนักเรียนระดับชาติ
 เป็ นส่วนหนึ่งในการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในชั้น ม.1, ม.4 และ
มหาวิทยาลัย
หน้า 14
www.niets.or.th
หน่วยงานต้นสังกัดที่สอบ O-NET
มีท้งั หมด 4 กระทรวง/เทียบเท่า รวม 9 หน่วยงาน
1. กระทรวงศึกษาธิการ ได้แก่
 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
(ยกเว้นจังหวัดสงขลา สตูล ยะลา ปั ตตานี และนราธิวาส)
 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
(โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัย)
หน้า 15
www.niets.or.th
หน่วยงานต้นสังกัดที่สอบ O-NET (ต่อ)
2. กระทรวงมหาดไทย ได้แก่
 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
(โรงเรียนเทศบาล โรงเรียน อบต. โรงเรียน อบจ.)
 สานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร
 สานักการศึกษาเมืองพัทยา
3. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ได้แก่
 สถาบันการพลศึกษา (โรงเรียนกีฬา)
หน้า 16
www.niets.or.th
หน่วยงานต้นสังกัดที่สอบ O-NET (ต่อ)
4. สานักนายกรัฐมนตรี ได้แก่
 กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน สังกัดสานักงานตารวจ
แห่งชาติ (โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน)
 สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (โรงเรียนพระปริยต
ั ธิ รรม)
หน้า 17
www.niets.or.th
ข้อสอบ O-NET ปี การศึกษา 2553
ข้อสอบ O-NET ม.6
หน้า 18
www.niets.or.th
Test Blueprint ม.6
1) กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
หน้า 19
Test Blueprint ม.6
2) กลุม่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษาฯ
หน้า 20
Test Blueprint ม.6
3) กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
หน้า 21
Test Blueprint ม.6
4) กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
หน้า 22
Test Blueprint ม.6
5) กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์
หน้า 23
Test Blueprint ม.6
6) กลุม่ สาระการเรียนรูส้ ุขศึกษาและพลศึกษา
หน้า 24
Test Blueprint ม.6
7) กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ
หน้า 25
Test Blueprint ม.6
8) กลุม่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี
หน้า 26
จานวนข้อของข้อสอบ O-NET ม.6
สาระการเรียนรู ้
ภาษาไทย
จานวนข้อ
90
สังคมศึกษาฯ
100
ภาษาอังกฤษ
70
คณิตศาสตร์
40
วิทยาศาสตร์
90
สุขศึกษาฯ
40
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
40
40
หน้า 27
ลักษณะข้อสอบ O-NET ม.6 (กุมภาพันธ์ 2554)

1.ลักษณะข้อสอบ แบบปกติ (แบบเดียวกับที่สอบปี ที่แล้ว)
 2.จานวนชุดวิชาที่สอบ 6 วิชา (8 กลุม
่ สาระการเรียนรู)้
2.1 วิชาที่ 1 สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
2.2 วิชาที่ 2 สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษาฯ
2.3 วิชาที่ 3 สาระการเรียนรูภ้ าษาอังกฤษ
2.4 วิชาที่ 4 สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
2.5 วิชาที่ 5 สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์
2.6 วิชาที่ 6 ประกอบด้วยสาระการเรียนรูส้ ุขศึกษาและพลศึกษา/ศิลปะ/
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หน้า 28
www.niets.or.th
ลักษณะข้อสอบ O-NET ม.6 (กุมภาพันธ์ 2554)
3.ลักษณะข้อสอบแต่ละชุดวิชามี 2 แบบ คือ ชุด E และ F เป็ น
ข้อสอบคู่ขนาน
 4.จานวนซองกระดาษคาตอบ 1 ซอง/ห้องสอบ/เรียงตามเลขที่นั ่ง
สอบ
 5.จานวนซองแบบทดสอบ 1 ซอง/ห้องสอบ
 6.จานวนวันที่สอบ 2 วัน

หน้า 29
www.niets.or.th
กระดาษคาตอบ O-NET ม.6 (กุมภาพันธ์ 2554)
ตัวอย่าง หัวกระดาษคาตอบ ม.6
กระดาษคาตอบจริงจะพิมพ์ชื่อ-สกุล เลขประจาตัวประชาชน เลขที่นัง่ สอบ
ชุดวิชาที่สอบ ชื่อวิชาที่สอบ และสถานที่สอบ พร้อมฝนรหัสไว้ให้แล้ว
หน้า 30
www.niets.or.th
กระดาษคาตอบสารอง ม.6 (กุมภาพันธ์ 2554)
ตัวอย่าง หัวกระดาษคาตอบสารอง ม.6
หน้า 31
www.niets.or.th
ตารางสอบ O-NET ช่วงชั้นที่ 4 (ม.6)
วันเสาร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2554
เวลาสอบ
รหัสชุดวิชา
08.30-10.30 น.
02E และ 02F
11.30-13.30 น.
วิชา
จานวนข้อ
เวลาที่ใช้
สังคมศึกษาฯ
100
2 ชั ่วโมง
พัก 1 ชั ่วโมง
04E และ 04F คณิตศาสตร์
40
2 ชั ่วโมง
70
2 ชั ่วโมง
พัก 1 ชั ่วโมง
14.30-16.30 น.
03E และ 03F
ภาษาอังกฤษ
หน้า 32
www.niets.or.th
ตารางสอบ O-NET ช่วงชั้นที่ 4 (ม.6)
วันอาทิตย์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2554
เวลาสอบ
08.30-10.30 น.
รหัสชุดวิชา
วิชา
01E และ 01F ภาษาไทย
พัก 1 ชั ่วโมง
11.30-13.30 น. 05E และ 05F วิทยาศาสตร์
จานวนข้อ
เวลาที่ใช้
90
2 ชั ่วโมง
90
2 ชั ่วโมง
40
40
40
2 ชั ่วโมง
พัก 1 ชั ่วโมง
14.30-16.30 น. 06E และ 06F สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
หน้า 33
www.niets.or.th
การดูผลคะแนนสอบ O-NET
การดูผลคะแนนสอบ O-NET
หน้า 34
www.niets.or.th
35
หน้า 35
หน้า 36
37
โรงเรียนดูจานวนนักเรียนในแต่ละช่วงคะแนนของแต่ละวิชา
จะทาอย่างไรให้มี
นักเรียนให้น้อยที่สุดที่
อยูใ่ นช่วงคะแนนตา่ ๆ
หน้า 37
นักเรียนส่วนใหญ่อยูใ่ นช่วง
คะแนนใด จะทาอย่างไรให้
นักเรียนส่วนใหญ่อยูใ่ นช่วง
คะแนนที่สงู ขึ้ น
โรงเรียนดูคา่ สถิติของโรงเรียนเปรียบเทียบกับจังหวัด
สังกัด และประเทศ
เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระของโรงเรียน จังหวัด สังกัด และ
ประเทศ ในแต่ละสาระ
ถ้าโรงเรียนได้น้อยกว่า จะทาอย่างไรให้ดีขึ้น
หน้า 38
39
เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายมาตรฐานของโรงเรียน จังหวัด สังกัด
และประเทศ ในแต่ละสาระ
ถ้าโรงเรียนได้น้อยกว่า จะทาอย่างไรให้ดีขึ้น
หน้า 39
พิจารณาจานวนผูต้ อบถูกรายข้อว่ามีรอ้ ยละเท่าไร
- ถ้ามีจานวนน้อย เป็ นเพราะเหตุใด (โรงเรียนสามารถขอข้อสอบที่สอบแล้วจาก
40
ศูนย์สอบมาดูได้ ว่าข้อนั้นสอบเกี่ยวกับเรื่องอะไร ครูได้เคยสอนหรือไม่)
- เปรียบเทียบร้อยละของผูต้ อบถูกของโรงเรียน กับจังหวัด สังกัด และประเทศ
หน้า 40
การสอบ GAT/PAT
การสอบ GAT/PAT
หน้า 41
www.niets.or.th
GAT/PAT คืออะไร
GAT หรือ General Aptitude Test
คือ การสอบวัดความถนัดทั ่วไป
PAT หรือ Professional and Academic Aptitude Test
คือ การสอบวัดความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพ
สอบ GAT/PAT เพื่ออะไร
สทศ. จัดสอบ GAT/PAT เพื่อให้ผเู ้ ข้าสอบสามารถนาผล
การสอบไปใช้เป็ นองค์ประกอบหนึ่งในการคัดเลือกบุคคล
เข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
1) ระบบรับกลาง หรือ Admissions กลาง
2) ระบบรับตรง (ขึ้นอยูก่ บั ประกาศของแต่ละคณะและ
มหาวิทยาลัย)
สอบ GAT/PAT เมื่อไร
สทศ.จัดสอบ GAT/PAT ปี ละ 3 ครั้ง ในเดือนมีนาคม
กรกฎาคม และตุลาคม ของทุกปี นักเรียนสามารถติดตาม
กาหนดการและรายละเอียดได้ทาง website ของ สทศ.
(www.niets.or.th)
นักเรียนไม่จาเป็ นต้องสมัครทุกวิชา ทุกครั้ง นักเรียน
ควรเลือกเฉพาะวิชาที่ตอ้ งใช้ในการยืน่ สมัคร Admissions
กลาง หรือรับตรง และเลือกสมัครสอบในช่วงที่พร้อม
ข้อสอบ GAT/PAT
ข้อสอบ GAT/PAT
หน้า 45
www.niets.or.th
สอบ 3 ชั ่วโมง คะแนนเต็ม 300 คะแนน
การวัดศักยภาพในการเรียนในมหาวิทยาลัยให้ประสบความสาเร็จ
มี 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 คือ ความสามารถในการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และ
แก้ปัญหา คะแนนเต็ม 150 คะแนน เวลา 1 ½ ชั ่วโมง
ส่วนที่ 2 คือ
ความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ (การพูด,
คาศัพท์, โครงสร้างการเขียน และการอ่าน)
คะแนนเต็ม 150 คะแนน เวลา 1 ½ ชั ่วโมง
สอบวิชาละ 3 ชั ่วโมง คะแนนเต็ม 300 คะแนน
มี 7 ประเภท
PAT 1 คือ ความถนัดทางคณิตศาสตร์
PAT 2 คือ ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
PAT 3 คือ ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
PAT 4 คือ ความถนัดทางสถาปั ตยกรรมศาสตร์
PAT 5 คือ ความถนัดทางวิชาชีพครู
PAT 6 คือ ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
PAT 7 คือ ความถนัดในการเรียนภาษาต่างประเทศ
PAT 7.1 ภาษาฝรั ่งเศส
PAT 7.4 ภาษาจีน
PAT 7.2 ภาษาเยอรมัน
PAT 7.5 ภาษาบาลี
PAT 7.3 ภาษาญี่ปุ่น
PAT 7.6 ภาษาอาหรับ
50
รายงานผลคะแนน
ตัวอย่างใบรายงานผล
GAT/PAT รายบุคคล
หน้า 64
วิชา
GAT ความถนัดทัว่ ไป (รวม)
GAT ความถนัดทัว่ ไป ตอนที่ 1
GAT ความถนัดทัว่ ไป ตอนที่ 2
PAT1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
PAT2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
PAT3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
PAT4 ความถนัดทางสถาปั ตยกรรมศาสตร์
PAT5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
PAT6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
PAT7.1 ความถนัดทางภาษาฝรัง่ เศส
PAT7.2 ความถนัดทางภาษาเยอรมัน
PAT7.3 ความถนัดทางภาษาญี่ปุ่น
PAT7.4 ความถนัดทางภาษาจีน
PAT7.5 ความถนัดทางภาษาอาหรับ
PAT7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
จานวนผูเ้ ข้า
สอบ
225,277
225,281
225,278
140,485
135,747
31,546
12,385
103,783
15,410
3,958
1,008
3,460
5,496
666
618
ค่าเฉลี่ย
139.38
90.06
49.32
48.34
101.50
121.25
121.06
130.91
133.05
94.48
95.26
107.68
91.12
88.52
94.84
ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน
67.85
54.87
21.81
23.45
23.20
41.56
34.11
27.94
22.76
33.77
35.34
50.17
32.21
28.20
27.19
ค่าต ่าสุด
ค่าสูงสุด
0.00
0.00
0.00
0.00
11.00
33.00
24.00
0.00
5.00
39.00
36.00
39.00
27.00
33.00
42.00
300.00
150.00
150.00
264.00
268.50
282.00
270.00
232.00
227.50
270.00
264.00
288.00
279.00
258.00
273.00
วันสอบ
วันเสาร์ที่ 5 มีนาคม 2554
วันอาทิ ตย์ที่ 6 มีนาคม 2554
วันจันทร์ที่ 7 มีนาคม 2554
วันอังคารที่ 8 มีนาคม 2554
เวลา
08.30 – 11.30 น.
รหัส และ ชื่อวิ ชา
85 GAT ความถนัดทั่วไป
13.00 – 16.00 น.
71 PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
08.30 – 11.30 น.
72 PAT 2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
13.00 – 16.00 น.
75 PAT 5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
08.30 – 11.30 น.
73 PAT 3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
13.00 – 16.00 น.
74 PAT 4 ความถนัดทางสถาปั ตยกรรมศาสตร์
08.30 – 11.30 น.
76 PAT 6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
13.00 – 16.00 น.
77 PAT 7.1 ความถนัดทางภาษาฝรั่ งเศส
78 PAT 7.2 ความถนัดทางภาษาเยอรมัน
79 PAT 7.3 ความถนัดทางภาษาญี่ปนุ่
80 PAT 7.4 ความถนัดทางภาษาจีน
81 PAT 7.5 ความถนัดทางภาษาอาหรั บ
82 PAT 7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
ประกาศผลสอบ 10 เมษายน 2554
รูปแบบข้อสอบของ สทศ.
รูปแบบข้อสอบของ สทศ.
หน้า 67
www.niets.or.th
รูปแบบข้อสอบของ สทศ.
รูปแบบข้อสอบของสทศ. มี 4 แบบ คือ
1) แบบเลือกตอบ นักเรียน
1.1 เลือกตัวเลือกที่ถูกที่สุด 1 ตัว หรือ
1.2 เลือกตัวเลือกที่ถูกหลายตัว
2) แบบเลือกหลายคาตอบจากหมวดคาตอบที่ให้ คาตอบที่เลือกต้อง
เชื่อมโยงกัน
3) แบบระบายคาตอบที่เป็ นค่าหรือตัวเลข
4) แบบอ่านบทความแล้วเลือกคาตอบที่ตอ้ งคิดวิเคราะห์เนื้อหาที่
อ่าน
หน้า 68
รูปแบบข้อสอบ
1. แบบเลือกตอบ
1.1 เลือกตัวเลือกที่
ถูกที่สุด 1 ตัว
69
หน้า 69
รูปแบบข้อสอบของ สทศ. (ต่อ)
1. แบบเลือกตอบ
1.2 เลือกตัวเลือกที่
ถูกหลายตัว
70
หน้า 70
รูปแบบข้อสอบ
2. แบบเลือกหลาย
คาตอบจากหมวด
คาตอบที่ให้ คาตอบ
ที่เลือกต้องเชื่อมโยง
กัน
71
หน้า 71
รูปแบบข้อสอบของ สทศ. (ต่อ)
ครู ใ ห้ นั ก เรี ย นจ านวน 100 คน ในโรงเรี ย นมายื น
เรียงลาดับตามความสูงของตน (ทุกคนรูว้ ่าตนเองสูงเท่าไร) ครู
อยากรูว้ ่า
3.แบบระบาย
คาตอบที่เป็ นค่า
หรือตัวเลข
1) ในโรงเรียนนี้นักเรียนสูงเฉลี่ยเท่าไร
2) ค่า Quartile ที่ 1,2,3 (คนที่ 25, 50, 75) มีค่าเท่าใด
3) ค่า Decile ที่ 5 มีค่าเท่าใด
4) ค่า Percentile ที่ 50 มีค่าเท่าใด
5) ค่า Q2, D5 และ P50 มีค่าเท่ากันหรือไม่เพราะอะไร
72
หน้า 72
รูปแบบข้อสอบของ สทศ. (ต่อ)
4. แบบอ่าน
บทความแล้ว
เลือกคาตอบที่
ต้องคิด
วิเคราะห์
เนื้อหาที่อา่ น
73
หน้า 73
การเตรียมตัวสอบ O-NET – GAT/PAT
ระเบียบการเข้าห้องสอบ
และการเตรียมตัวสอบ
หน้า 74
www.niets.or.th
ระเบียบการเข้าห้องสอบ

1. ไม่มีเลขที่นั ่งสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ
 2. ไม่มีบต
ั รแสดงตน ไม่มีสิทธิ์สอบ
 3. ไปผิดสนามสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ
 4. ไปสายเกิน 30 นาที ไม่มีสิทธิ์สอบในวิชานั้น

5. ห้ามนาเครือ่ งมืออุปกรณ์สื่อสารทุกชนิดเข้าห้องสอบ
 6. ให้นั ่งสอบจนหมดเวลา
 7. อนุ ญาต ให้นานาฬิกาเข้าห้องสอบ
(ต้องเป็ นนาฬิกาธรรมดา ที่ใช้ดเู วลาเท่านั้น)
หน้า 75
www.niets.or.th
การเตรียมตัวสอบ O-NET
1. ผูอ้ านวยการ/ ผูบ้ ริหาร
- ประชุมบุคลากร เพื่อสร้างความเข้าใจและวางแผนการจัดการเรียน
การสอนตั้งแต่ตน้ ปี การศึกษา โดยโรงเรียนสามารถใช้ขอ้ มูลผลการ
สอบ O-NET ที่สทศ.ส่งให้ผ่านระบบ O-NET มาใช้ในการวางแผนได้
- ส่งเสริม/กากับ/ติดตาม/ และดูแลให้ครูได้สอนตามแผนการสอนที่
วางไว้
- สนับสนุนสิ่งอานวยความสะดวก และอุปกรณ์การเรียนการสอน
ต่างๆ
หน้า 76
การเตรียมตัวสอบ O-NET (ต่อ)
2. ครู อาจารย์
- วางแผนการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ. 2544
- สอนให้ครบทุกกลุม่ สาระการเรียนรู ้ สาระ และมาตรฐาน
- แก้ไข/ พัฒนาแผนการสอนจากข้อมูล O-NET ปี ที่ผ่านมา
หน้า 77
การเตรียมตัวสอบ O-NET (ต่อ)
3. นักเรียน
- ตั้งใจเรียนและทากิจกรรมหรืองานที่ครูมอบหมายให้
- ทบทวนความรูท้ ี่เรียนก่อนสอบ
ก่อนการสอบ
- ตรวจสอบเลขที่นั ่งสอบ สถานที่สอบ และตารางสอบ
ระหว่างการสอบ
- ตรวจสอบข้อมูลกระดาษคาตอบ เซ็นชื่อบนกระดาษคาตอบและใบ
เซ็นชื่อ อ่านคาแนะนาในการทาข้อสอบให้เข้าใจ ระบายคาตอบลง
ในกระดาษคาตอบ และปฏิบตั ติ ามระเบียบการเข้าห้องสอบ
หน้า 78
การดูผลการสอบ
4. การดูผลสอบ
1) ใบรายงานผลสอบรายบุคคล
สทศ. จะส่งใบรายงานผลสอบรายบุคคล ให้กบั ทางโรงเรียน เพื่อ
แจกให้กบั นักเรียน
2) รายงานผลสอบผ่าน website(ประกาศผลวันที่ 10 เมษายน 2554)
สทศ.ได้รายงานคะแนนและข้อมูลค่าสถิติ ผลการวิเคราะห์ต่างๆ
ให้กบั โรงเรียนผ่านทางระบบ O-NET โรงเรียนสามารถเข้าไปดู
ผลวิเคราะห์ได้ทาง www.niets.or.th
หน้า 79
ช่องทางการติดต่อ สทศ. หรือสอบถามข้อมูล
1.
2.
3.
4.
5.
ทางเว็บไซต์ http://www.niets.or.th
โทรศัพท์ 0-2217-3800 โทรสาร 0-22192996
กลุม่ งานบริหารการทดสอบ 0-2217-3800
พัฒนา ต่อ 603 คุณวาสนา
กลุม่ งานบริการการทดสอบ
สินธนา ต่อ 502 คุณรักพงศ์
กลุม่ งานสารสนเทศและเทคโนโลยีดา้ นการจัดสอบ
(การใช้ระบบงานและฐานข้อมูลการจัดสอบ O-NET)
ต่อ 703 คุณปิ ยะพงษ์ ต่อ 705 คุณภูริชา ต่อ 704 คุณสรรเสริญ
ต่อ 702 คุณสุทิศา
ต่อ 701 คุณสุกิจ
โทรศัพท์มือถือ 08-1731-4145 และ 08-1731-4146
Email: [email protected], [email protected]
หน้า 80
ต่อ 601 คุณ
ต่อ 501 คุณ
www.niets.or.th
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

ขอขอบคุณ 
www.niets.or.th
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
128 อาคารพญาไทพลาซ่า ชั้น 36 แขวงทุง่ พญาไท
เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
หน้า 81
www.niets.or.th