บทที่ 4 เสียง
Download
Report
Transcript บทที่ 4 เสียง
วิชาเทคโนโลยีมลั ติมีเดียสาหรับงานธุรกิจ
บทที่ 4 : เสี ยง(Sound)
ผู้สอน : อ.รจนา
1
วานนท ์
เสี ยงกับการนามาใช้ กบั มัลติมีเดีย
เป็ นปั จจัยที่นามาใช้ในงานด้านมัลติมีเดีย
นาเสนอในรู ปแบบเสี ยงดนตรี
เสี ยงระทึกใจ เสี ยงเรี ยนแบบ
ธรรมชาติ
เสี ยงสามารถสร้างบรรยากาศความรักความสุ ขได้
การเลือกใช้เสี ยงมาประกอบเป็ นสิ่ งจาเป็ น
2
oเรื่องทั่วไปเกี่ยวกับเสียง
คลื่นเสียงจะเปลี่ยนไปความถี่ (Frequency) ของการสั่นสะเทือนตาม
ระยะเวลา
การวัดระดับของคลื่นเสียง
–
–
แบ่ งออกเป็ น 2 ชนิด
–
–
3
เดซิเบล (Decibel) เป็ นหน่วยวัดความดังของเสียง
เฮิรตซ์ (Hertz : Hz) เป็ นหน่วยวัดความถี่ของเสียง
เสียงแบบ MIDI
เสียงแบบดิจิตอล
MIDI : Musical Instrument Digital Interface
4
–
คือ ข้ อมูลแสดงลักษณะเสียงแทนเครื่ องดนตรี ชนิดต่างๆ ซึง่ เป็ นมาตรฐานในการสื่อสารด้ าน
เสียงที่ได้ รับการพัฒนามาตังแต่
้ ปี ค.ศ.1980 สาหรับใช้ กบั เครื่ องดนตรี อิเล็กทรอนิกส์และ
คอมพิวเตอร์ เช่น สร้ างเสียงตามตัวโน้ ต เสมือนการเล่นของเครื่ องเล่นดนตรี นนๆ
ั้
–
ข้ อดี ไฟล์ข้อมูลมีขนาดเล็ก การสร้ างข้ อมูล MIDI ไม่จาเป็ นต้ องใช้ เครื่ องดนตรี จริ งๆ ใช้
หน่วยความจาน้ อย ทาให้ ประหยัดพื ้นที่บนฮาร์ ดดิสก์ เหมาะสาหรับใช้ งานบนระบบ
เครื อข่าย และง่ายต่อการแก้ ไขและปรับปรุง
–
ข้ อเสีย แสดงผลเฉพาะดนตรี บรรเลงและเสียงที่เกิดจากโน้ ตดนตรี เท่านัน้ และอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ เสียงมีราคาค่อนข้ างสูง
** ยังเป็ นนโยบายของไมโครซอฟต์ในการกาหนดรูปแบบของการสร้ างข้ อมูลเสียงแบบ MIDI
เพื่อให้ เป็ นมาตรฐานสาหรับอุปกรณ์เล่นเกม (Play Back)
อุปกรณ์สร้ างเสียง MIDI
การปรับแต่งเสียงมิดิ ให้ มีความ
ไพเราะยิ่งขึ ้น
5
o เสียงแบบดิจติ อล (Digital Audio)
6
คือ สัญญาณเสียงที่สง่ มาจากไมโครโฟน หรื อจากแหล่งกาเนิดเสียงต่างๆ ทังจากธรรมชาติ
้
และที่สร้ างขึ ้น แล้ วนาข้ อมูลที่ได้ แปลงเป็ นสัญญาณดิจิตอล
ข้ อมูลดิจิตอลจะถูกสุม่ ให้ อยู่ในรูปแบบของบิต และไบต์ โดยเรี ยกอัตราการสุม่ ข้ อมูลที่ได้ มา
เรี ยกว่า “Sampling Rate” และจานวนของข้ อมูลที่ได้ เรี ยกว่า “Sampling Size”
เสียงแบบดิจิตอลจะมีขนาดของข้ อมูลใหญ่ ทาให้ ต้องใช้ หน่วยความจาและทรัพยากรบนหน่วย
ประมวลผลกลางมากกว่า MIDI
ช่วงความถี่ 44.1 KHz, 22.05 KHz และ 11.025 KHz ซึง่ มี Sampling Size เป็ น 8 บิต และ 16
บิต โดยที่ Sampling Rate และ Sampling Size ที่สงู กว่าจะให้ คณ
ุ ภาพของเสียงที่ดีกว่า และ
จะต้ องมีเนื ้อที่บนฮาร์ ดดิสก์สาหรับรองรับอย่างเหมาะสม
ตารางที่ 1 แสดงคุณสมบัตทิ ่ ีเหมาะสมของสัญญาณเสียงแบบดิจติ อลใน 1 วินาที
7
Sampling Rate
(KHz)
Sampling Size
(bit)
Stereo หรือ
Mono
จำนวน Byte ทีใ่ ช ้ 1 วินำที
44.1
16
Stereo
8.5 Mb
44.1
16
Mono
5.25 Mb
44.1
8
Stereo
5.25 Mb
44.1
8
Mono
2.6 Mb
22.05
16
Stereo
5.25 Mb
22.05
16
Mono
2.5 Mb
22.05
8
Stereo
2.6 Mb
22.05
8
Mono
1.3 Mb
11.025
8
Stereo
1.3 Mb
11.025
8
Mono
650 Mb
o การประมวลผลไฟล์ เสียง
1. การบันทึกเสียง เป็ นการนาเสียงมาจัดเก็บลงในหน่วยความจาเพื่อนาไปใช้ งาน เสียงที่ทางานผ่าน
คอมพิวเตอร์ เป็ นสัญญาณดิจิตอลมี 2 รูปแบบ คือ
1.
2.
Synthesize Sound เป็ นเสียงที่เกิดจากตัววิเคราะห์เสียง ที่เรี ยกว่า MIDI โดยเมื่อตัวโน้ ตทางาน
คาสัง่ MIDI จะถูกส่งไปยัง Synthesize Chip เพื่อทาการแยกเสียงว่าเป็ นเสียงดนตรี ชนิดใด
Sound Data เป็ นเสียงที่ได้ จากการแปลงสัญญาณอนาลอกเป็ นสัญญาณดิจติ อล โดยจะมีการ
บันทึกตัวอย่างคลื่น (Sample) ให้ อยู่ที่ใดที่หนึ่งในช่วงของเสียงนั ้นๆ
*** สิ่งสาคัญก่อนบันทึกเสียงคือ จะต้ องทาการเลือก Sampling Rate และ Sampling Size
เพื่อให้ ได้ เสียงที่ต้องการและใกล้ เคียงกับเสียงจริ ง
8
o การประมวลผลไฟล์ เสียง(ต่ อ)
2. การแก้ ไขและการเพิ่มเทคนิคพิเศษ
– การแก้ ไขไฟล์เสียง คือ การตัดต่อ และการปรับแต่งเสียง โดยสิ่งที่สาคัญในการแก้ ไข
เสียงคือ การจัดสรรเวลาของการแสดงผลให้ สมั พันธ์กบั องค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้ งาน
ร่วมกับเสียง
9
–
ในปั จจุบนั ได้ มีผ้ ผู ลิตซอฟต์แวร์ ที่ใช้ สาหรับการแก้ ไข ปรับแต่งหรื อเพิ่มเทคนิคพิเศษ
ให้ กบั มัลติมีเดียให้ มีความสมบูรณ์ เช่น
–
โปรแกรม Audio Edit สาหรับใช้ แก้ ไขและการเพิ่มเทคนิคพิเศษให้ กบั เสียงที่ได้ ทา
การบันทึกเพื่อสร้ างความต่อเนื่องของเสียง นอกจากนี ้ยังสร้ างความน่าสนใจให้ กบั
เสียงที่ได้ ทาการบันทึก เช่น เสียงสะท้ อน (Reverb Effect) เสียงก้ อง (Echo) และ
ปรับระดับความดังเบาของเสียง (Fade In/Out) เป็ นต้ น
oการจัดเก็บแฟ้มข้ อมูลเสียงแบบดิจติ อล
10
หลักสาคัญในการจัดเก็บแฟ้มข้ อมูลเสียงแบบดิจิตอล คือ
–
จะต้ องเตรี ยม RAM และทรัพยากรบนฮาร์ ดดิสก์รองรับให้ เหมาะสมกับคุณภาพของเสียงที่
ต้ องการ
–
ปรับระดับของการบันทึกเสียงให้ ตรงกับคุณภาพที่ต้องการและมีมาตรฐานการป้องกันเสียง
รบกวนที่ดี
oขนาดของแฟ้มข้ อมูลกับคุณภาพ
การบันทึกเสียงแบบสเตริ โอ (Stereo Recording)
การบันทึกเสียงแบบโมโน (Mono Recording)
การบันทึกเสียงแบบโมโน
Sampling Rate X ระยะเวลาในการบันทึก X (Sampling Size/8) X 1
การบันทึกเสียงแบบสเตริ โอ Sampling Rate X ระยะเวลาในการบันทึก X (Sampling Size/8) X 2
11
oขนาดของแฟ้มข้ อมูลกับคุณภาพ(ต่ อ)
•เช่น ทาการบันทึกเสียงแบบโมโนนาน 10 วินาที ที่ Sampling Rate 22.05 KHz, Sampling Size 8
บิต จะคานวณได้ ดงั นี ้
22,050X10X8/8 X1=220,500 Byte
•หรื อทาการบันทึกเสียงแบบสเตริ โอนาน 10 วินาที ที่ Sampling Rate 44.1 KHz, Sampling Size
16 บิต จะคานวณได้ ดงั นี ้
……………………………………………..
•หรื อทาการบันทึกเสียงแบบโมโนนาน 40 วินาที ที่ Sampling Rate 11 KHz, Sampling Size 8 บิต
จะได้ ขนาดของแฟ้มข้ อมูล = ?
……………………………………………..
12
o การปรั บระดับในการบันทึกเสียง
13
ซอฟต์แวร์ ที่เหมาะสาหรับการบันทึกและแก้ ไขเสียงแบบดิจิตอล จะต้ องมีมาตรวัดระดับเสียง
สาหรับควบคุมความดังของเสียง เรี ยกว่า “ดิจิตอลมิเตอร์ ” (Digital Meter)
การบันทึกเสียงพร้ อมกับควบคุมไม่ให้ เกินระดับเสียงที่กาหนดด้ วยดิจิตอลมิเตอร์ จะเป็ นวิธีการ
ป้องกันความผิดพลาดวิธีหนึง่
ดิจิตอลมิเตอร์ จะมีขีดกาหนดบอกความดังสูงสุดที่จะสามารถบันทึกได้ ในการบันทึกจึงไม่ควร
ให้ ความดังของเสียงเกินขีดจากัดที่กาหนดไว้ บนดิจิตอลมิเตอร์ และจะต้ องควบคุมความดังของ
เสียงให้ อยู่ในระดับที่ต่ากว่าขีดจากัดที่กาหนดเสมอ
ระดับความดังที่เหมาะสมจะอยู่ระหว่างค่า -10 ถึง -3
การใช้ คอมพิวเตอร์ ร่วมกับการสร้ างสัญญาณเสียง
14
oการบีบอัดไฟล์ เสียง
15
MPEG-1 : เป็ นเทคโนโลยีการบีบอัดข้ อมูลเสียง รูปแบบที่นิยมนามาใช้ คือ MP3, (MPEG 1 Audio
Layer 3)
–
โดยจะมีอตั ราในการบีบอัดข้ อมูลประมาณ 10 : 1
–
ข้ อเสีย ตรงที่มีคณ
ุ ภาพในการแสดงผลอาจไม่ดีมากนัก แต่สาหรับผู้ใช้ ที่ไม่ต้องการฟั งเพลงที่มี
–
ปั จจุบนั ซอฟต์แวร์ สาหรับใช้ เล่นไฟล์ Mp3 มีมากมาย เช่น WinAmp, Windows Media Player,
Music Match Jukebox และ Yamaha Softsynthesizer S-YXG70 เป็ นต้ น
คุณภาพสูงมากนัก MP3 ก็คือ เป็ นอีกทางเลือกหนึ่งที่สะดวกในการบีบอัดและจัดเก็บ
oการบีบอัดไฟล์ เสียง (ต่ อ)
MACE : เป็ นเทคโนโลยีที่มีจดุ เด่นคือ สามารถบีบอัดและขยายข้ อมูลให้ มีขนาดเท่าเดิม
–
–
–
µ-Law, Α-Law :
–
เป็ นมาตรฐานที่กาหนดโดย CCITT
สามารถบีบอัดข้ อมูลเสียง 16 บิต ได้ ในอัตราการบีบอัดประมาณ 2 : 1 เท่า
ADPCM-Adaptive Differential Pulse Code Modulation :
–
16
ใช้ ได้ เฉพาะข้ อมูลเพียง 8 บิต
อัตราการบีบอัดประมาณ 3 : 1 และ 6 : 1
ทางานได้ เฉพาะกับแมคอินทอชเท่านั ้น
เป็ นอีกทางเลือกหนึ่ง ซึง่ สามารถบีบอัดข้ อมูลที่มีการบันทึกแบบ 8 บิต หรื อ 16 บิต โดยมีอตั ราการ
บีบอัดประมาณ 4 : 1 หรื อ 2: 1
oรู ปแบบของแฟ้มข้ อมูลเสียง
17
ถูกสร้ างโดยบริ ษัท Microsoft และ IBM เป็ นไฟล์ที่สนับสนุนการใช้ งาน
บนเครื่ องพีซีมากกว่าบนเครื่ องแมคอินทอช และมีการใช้ งานอยู่คอ่ นข้ างมากในระบบเครื อข่าย
ี งประเภท .wav
ไฟล์เสย
รูปแบบ CD-1 (Compact Disc-Interactive)
รูปแบบแฟ้ มข ้อมูล MIDI
ได้ รับการพัฒนาตามมาตรฐาน Red Book โดย
บริ ษัทฟิ ลิปส์ซงึ่ ใช้ วิธีการแปลงสัญญาณ ADPCM ทาให้ สามารถบันทึกเสียงแบบสเตริ โอได้ อย่าง
ถูกต้ อง นานถึงสองชัว่ โมงหรื อบันทึกเสียงแบบโมโนได้ นานถึง 20 ชัว่ โมงภายในแผ่น CD เพียงแผ่น
เดียว
สามารถใช้ ได้ ทงสองระบบ
ั้
พัฒนาขึ ้นมาเพื่อใช้ งานกับเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ PC ทุกชนิด โดยที่ระบบของแมคอินทอชจะต้ องมีอปุ กรณ์นาเข้ าและแสดงผล Midi
เพื่อช่วยในการทางานด้ วย
oรู ปแบบของแฟ้มข้ อมูลเสียง (ต่ อ)
เป็ นไฟล์เสียงที่พฒ
ั นามาจากมาตรฐานภาพเคลื่อนไหว MPEG (Motion
Picture Experts Group) ไฟล์ประเภทนี ้
รูปแบบไฟล์ MPEG
–
ี ง (.AU) เชน
่ กัน
แฟ้ มข ้อมูลเสย
Format)
–
–
18
มีการบีบอัดข้ อมูลสามระดับ ซึง่ ทาให้ ไฟล์มีคณ
ุ ภาพเสียงที่ดีขึ ้น เมื่อนามาเล่นในขณะที่ยงั รักษาขนาด
ไฟล์ให้ เล็กลง
เป็ นรูปแบบเสียงที่เลียนแบบโทรศัพท์ (International Telephone
ใช้ ในการส่งข้ อความผ่านระบบเครื อข่ายที่เรี ยกว่า “Talkradio” ซึง่
เป็ นสัญญาณเสียงแบบโมโนที่มี Sampling Rate 8 KHz และ Sampling Size 8 บิตเท่านั ้น
ตาราง แสดงรู ปแบบของแฟ้มข้ อมูลเสียงดิจติ อลที่นิยม
นามสกุล
(Extension)
19
ชนิดของไฟล์
(Mime Type)
รูปแบบของ OS
(Platform)
โปรแกรมที่ใช้ งาน
(Use)
.AIFF
Audio/X-Aiff
Mac, Sgi
Audio
.AU, .SND
Audio/Basic
Sun, Next
Ulaw Audio Data
.MOV, .QT
Video/Quicktime
Mac, Win
Quicktime Video
.MPEG
Video/Mpeg
All
Mpeg Video
.RA, .RAM
Audio/X-Pn-Realaudio
All
Realaudio Sound
.VOX
Audio
All
Voxware Voice
.WAV
Audio/X-Wave
Win
Wav Audio
oมาตรฐาน Red Book
20
การเข้ ารหัสเสียงดิจิตอลแบบสเตริ โอแล้ วบันทึกลงบน CD เพลงทัว่ ไปให้ มีคณ
ุ ภาพสูงนันจะต้
้ อง
ได้ มาตรฐาน ISO 10149 หรื อที่เรี ยกว่ามาตรฐาน “Red Book” มาตรฐานนี ้ได้ กาหนด Sampling
Rate ให้ มีมาตรฐานที่ 44.1 KHz และ Sampling Size มีมาตรฐานที่ 16 บิต โดยใช้ มาตรฐาน
เสียงแบบนี ้มาจนถึงปั จจุบนั และได้ มีการพัฒนาการ์ ดเสียงร่วมกับซอฟต์แวร์ ให้ สามารถบันทึก
และเล่นเสียงระดับนี ้ได้
การคานวณหาขนาดของพื ้นที่ที่ต้องใช้ ในการบันทึกข้ อมูลเสียงแบบสเตริ โอ จะใช้ วิธีการดังนี ้
(Sampling Rate X Sampling Size)/8 = ขนาดพื ้นที่เป็ น Bps (Bytes Per Second)
ี ง
ซอฟต์แวร์สำหร ับเทคโนโลยีเสย
ื่ โปรแกรม
ชอ
21
คำอธิบำย
WinAmp
โปรแกรมสาหรับใช้ เล่นและแก้ ไขปั ญหาการเล่น MP2 และ MP3 พร้ อมทังสามารถแก้
้
ไขเสียงได้ อย่างละเอียด
AmazingMidi
เป็ นโปรแกรมสาหรับแปลง Wavefile เป็ น MIDI File
Sonique 1.50.7
โปรแกรมสาหรับเล่นเพลง MP3 สามารถเพิ่มลดความเร็วของเพลง และสามารถค้ นหาเพลงจาก Search Engine ได้
MusicMatchJukebox
5.00.0138 beta
เป็ นโปรแกรมที่สามารถฟั งวิทยุผา่ นอินเตอร์ เน็ต สามารถเล่นไฟล์ได้ หลายรูปแบบ เช่น MP3 Player, CD
Recorder/Ripper เป็ นต้ น
AudioGrabber 1.61 Build
3
สามารถใช้ เล่นและบันทึกเสียงเป็ น MP3
CowOn Jet-Audio 4.7
เป็ นโปรแกรมที่สามารถทาการบันทึกและเล่นไฟล์เสียงได้ หลากหลายรูปแบบ
CakeWalk Lesson
เป็ นโปรแกรมที่ใช้ งานทางด้ านดนตรี อานวยความสะดวกในการแต่งเพลง และจะทาการบันทึกข้ อมูลในรูปแบบ Midi
หรื อ *.WRK (รูปแบบของ Cakewalk เอง) เนื่องจากเก็บข้ อมูลเป็ นไฟล์ ดังนันจึ
้ งสามารถแก้ ไขข้ อมูลหรื อเขียน
โน้ ตยากๆ ได้
Cool Edit
สามารถลดเสียงรบกวนและปรับแต่ง Wave File ด้ วยโปรแกรม Cool Edit Professional
Windows Media Player
7.0
โปรแกรมสาหรับดูหนังฟั งเพลง สามารถเล่นไฟล์ Including Windows Media (Formerly Netshow), ASF, MPEG1, MPEG-2, WAV, AVI, MIDI, VOD, AU, MP3 และ Quicktime Files ได้
ี ง (ต่อ)
ซอฟต์แวร์สำหร ับเทคโนโลยีเสย
ชื่อโปรแกรม
22
คาอธิบาย
Infan View32.3.12
เล่น Multimedia Files ได้ ทงไฟล์
ั ้ รูปภาพ และไฟล์เสียงในหลายๆ รูปแบบ
RealPlayer G2 Update 2
โปรแกรมสาหรับดูการถ่ายทอดสดทังวิ
้ ทยุและวิดีโอแบบสตรี มมิ่งจาก Real Network
Quick Time 4.1
โปรแกรมเสริมสาหรับการดูหนังฟั งเพลงจาก Net สามารถเล่น MP3 ได้
SuperDVD Player
โปรแกรมสาหรับดูหนังฟั งเพลง
XingMPEG
สามารถใช้ เล่นกับไฟล์ในตระกูล MPEG ได้ ทกุ ชนิด
Karaoke
เป็ นโปรแกรมสาหรับเล่นและร้ องเพลงคาราโอเกะ บนเครื่ องคอมพิวเตอร์ ได้
MpegPlayer
เป็ นโปรแกรมที่ใช้ สาหรับดูหนัง ฟั งเพลง และสามารถจับภาพหนังที่กาลังชมอยูไ่ ด้
JetAudio Basic 5.12
เป็ นโปรแกรมที่สามารถเล่นไฟล์ได้ หลายรูปแบบ อาทิ เช่น WAV, MP3, OGG, WMA, MPG, AVI, WMV,
MIDI, RM, VideoCD, AudioCD เป็ นต้ น
Yamaha S-YXG50
โปรแกรมสาหรับเล่นเพลงคาราโอเกะบนเครื่ องคอมพิวเตอร์
oการรวมเสียงเข้ ากับงานด้ านมัลติมีเดีย
23
การจะใช้ มลั ติมีเดีย ต้ องมัน่ ใจว่าเมื่อใส่เสียงประกอบไปกับมัลติมีเดียจะทาให้ มลั ติมีเดีย
ที่ออกแบบมีคณ
ุ ภาพมากขึ ้น การพิจารณาขนาดความเหมาะสมในการนามาใช้ งาน ทา
ได้ ตามขันตอนต่
้
อไปนี ้
– ตัดสินใจว่าจะใช้ เสียงชนิดใดกับมัลติมีเดียที่ออกแบบ เช่น เพลง เสียงพิเศษ
ประกอบการนาเสนอและเสียงพูด เป็ นต้ น ซึง่ ต้ องกาหนดตาแหน่งหรื อเวลาในการ
แสดงเสียงให้ เหมาะสมด้ วย
– ตัดสินใจว่าจะใช้ เสียงแบบ MIDI หรื อใช้ เสียงแบบดิจิตอลที่ไหนและเมื่อไหร่
– พิจารณาว่าจะสร้ างข้ อมูลเสียงขึ ้นมาเองหรื อซื ้อสาเร็ จรู ปมาใช้ งาน จึงจะเหมาะสม
– นาข้ อมูลเสียงมาทาการปรับแต่งให้ เหมาะสมกับมัลติมีเดียที่ออกแบบ แล้ วนามา
รวมเข้ ากับมัลติมีเดียที่ทาการผลิต
– ทดสอบการทางานของเสียงให้ มน
ั่ ใจว่า เสียงที่นาเสนอออกไปมีความสัมพันธ์กบั
ภาพในมัลติมีเดียที่ผลิตขึ ้น
oเสียงบนระบบเครื อข่ าย
24
การแสดงผลเสียงบนระบบเครื อข่ายสามารถทาได้ 2 วิธี คือ จัดเก็บข้ อมูลเสียงจากระบบ
เครื อข่าย (Download) ลงบนเครื่ องคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้ ก่อนแล้ วจึงแสดงผล (เช่น
บริ การ Download เพลง) อีกวิธีหนึง่ คือแสดงผลเสียงในขณะที่กาลังใช้ งานบนระบบ
เครื อข่าย (Streaming)
รูปแบบของไฟล์เสียงที่นิยมใช้ กนั บนระบบเครื อข่าย ได้ แก่ ไฟล์ AU, WAV, MIDI, MPEG
และ MP3
แบบฝึ กหัดท้ ายบท
ให้ นกั ศึกษาอัดเสียงแนะนาตัวเองโดยใช้ โปรแกรมอัดเสียงอะไรก็ได้
โดยจะต้ องมีเนื ้อหาดังต่อไปนี ้
1.
ชื่อ - สกุล รหัสนักศึกษา สาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ รุ่นที่ ชันปี
้ ที่
2.
คติประจาใจ
3.
สีที่ชอบ ต้ นไม้ ดอกไม้
4.
ความฝั นสูงสุดในชีวิต อยากจะเป็ นหรื ออยากจะทาอะไร
5.
ฯลฯ เพิ่มเติมได้ แล้ วแต่นกั ศึกษา
25