แนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์_270112

Download Report

Transcript แนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์_270112

แนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์
เรียนรู้
นาไปใช้
พัฒนา
•
•
•
•
•
•
ประมวลแนวคิดและทฤษฎี
รัฐประศาสนศาสตร์ หมายถึง ?
เป็ นแนวคิดไม่ใช่ทฤษฎี เพราะ
๑. ไม่สามารถนาไปพิสูจน์หรื ออ้างอิงซ้ าๆ เป็ นเพียงแนวคิดที่มีวธิ ีปฏิบตั ิ
๒. เน้นการปฏิบตั ิมากกว่าทฤษฎี
๓. เป็ นความรู้ทางสังคมศาสตร์ (ดิ้น โต้แย้ง พิจารณ์)
๔. พึ่งแยกตัวออกมา
๕. ไม่มีทฤษฎีหลัก(Grand Theory)
ภาพรวมเพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพในการบริ หารจัดการของหน่วยงาน
เน้นการบริ หารจัดการ(management administration)
มุ่งเน้นการเป็ นมืออาชีพ(Profressionalism)
หน่วยงานภาคต่างๆ ทางสังคม(เอกชน, NGO,หน่วยงานระหว่างประเทศ,
ภาคประชาชน,ภาครัฐ,องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
แนวคิดทางรัฐประศาสนศาตร์
๑. โครงสร้างและอานาจหน้าที่
๒.บุคลากร
๓. กระบวนการ
โครงสร้ างและอานาจหน้ าที่
1. แนวคิดการบริ หารจัดการที่นาวิชาความรู้มาใช้ใน
หน่วยงาน(scientific management)
เฟรดเดอริค วินสโลว์
2. แนวคิดโครงสร้างการจัดองค์การที่เรี ยกว่า ระบบ
ราชการ(Bureaucray)
แม็กซ์ เว็บเบอร์
Frederick Winslow Taylor
Max Weber
โครงสร้ างและอานาจหน้ าที่
แนวคิดการบริ หารจัดการที่นาวิชาความรู้มา
ใช้ในหน่วยงาน(scientific
management)
หลักการที่ 1 สร้ างหลักการทางานแบบวิทยาศาสตร์ – one best
way, กาหนดมาตรฐานงาน, การจ่ ายค่ าตอบแทนเป็ นรายชิ้น
หลักการที่ 2 คัดเลือกตัวบุคคล - เหมาะสมกับงาน
หลักการที่ 3 การฝึ กอบรมและพัฒนา - สอนงานตามขั้นตอน
หลักการที่ 4 สร้ างบรรยากาศความร่ วมมือในการทางาน – รางวัล
พิเศษ, ตั้งหัวหน้ างาน
โครงสร้ างและอานาจหน้ าที่
แนวคิดโครงสร้ างการจัดองค์ การ
ทีเ่ รียกว่ า ระบบราชการ(bureaucracy)
1.หลักลาดับขั้น
2.หลักอานาจหน้ าทีต่ ามสายการบังคับบัญชาและความสานึกแห่ ง
ความรับผิดชอบ
3.ระเบียบข้ อบังคับและความเป็ นทางการ
4.แบ่ งงานกันทาตามความชานาญเฉพาะด้ าน
5.ความเป็ นวิชาชีพ
แนวคิดเกีย่ วกับบุคคล
แนวคิดการบริหารจัดการทีเ่ น้ นมนุษยสั มพันธ์ และพฤติกรรม
(human relations and behavior) ของ เอล
ตัน มาโย(Elton Mayo)
- คนมีความต้ องการอืน่ โดยเฉพาะด้ านจิตใจ
-คนต้ องการสภาพแวดล้อม เพือ่ นร่ วมงาน
-สิ่ งที่ส่งผลต่ อประสิ ทธิภาพในการทางาน ประกอบด้ วย
-ทัศนคติของคนงานต่ องาน/องค์ กร
-ความสั มพันธ์ แบบไม่ เป็ นทางการของกลุ่ม
-ความต้ องการด้ านสั งคมของคนงาน (ขวัญและกาลังใจ)
แนวคิดเกีย่ วกับบุคคล
แนวคิดสนับสนุนค่ านิยมและ
วัฒนธรรม(support Values and
Calture)
เชสเตอร์ บาร์ นาร์ ด(Chester Barnard)
แนวคิดเกีย่ วกับบุคคล
Ideas and Issues in
Public Administration
• negative policy concepts
• positive managerial concepts
ดไวท์ วอลโด(Dwight Waldo)
แนวคิดเกีย่ วกับบุคคล
ทฤษฎีลาดับขั้นความต้ องการของ Abraham Maslow
ความต้ องการ
การจัดการ
ร่ างกาย – อาหาร, นา้ , ที่อยู่อาศัย
- การจัดสวัสดิการ
- การให้ ค่าตอบแทนอย่ างเพียงพอ
ความปลอดภัย – ความมั่นคง, ถาวร
- ความมั่นคงในการทางาน
- ความปลอดภัยในการทางาน
สังคม – ความรัก, ความรู้สึกดี, การยอมรับ
-ทีมงาน
- การทางานร่ วมกัน (QCC,5ส)
การยกย่ อง – การยกย่ อง, ความภูมิใจ, สถานภาพ
-กรยกย่ องจากหน่ วยงาน
-ตาแหน่ ง
-สถานะ
ความสาเร็จในชีวติ – การเจริญเติบโต,
ความก้าวหน้ า
-การเลือ่ นตาแหน่ ง
- ความท้ าทาย
แนวคิดเกีย่ วกับบุคคล
ทฤษฎี X และ Y ของ Douglas Mcgregor
ทฤษฎี Z ของ William Ouchi
Theory X
Theory Y
Theory Z
การจ้างงาน
- ระยะสั้น
- ตลอดชีวติ
- จ้างงานระยะยาว
โครงสร้างองค์กร,การ
มอบหมายงาน
- ตามสายบังคับบัญชา, JD
- กาหนดกว้างๆ เน้นการ
ทางานเป็ นทีม
- ควบคุมติดตาม, สร้างความ
เชื่อใจ
กลไกควบคุม
- ตามสายบังคับบัญชา, สื่ อสาร - รับผิดชอบตนเอง, สื่ อสาร
แบบรายงาน
แบบซักถาม
- รับผิดชอบตนเอง, เน้นการ
รับฟังข้อมูลเพื่อช่วยแก้ไข
การตัดสิ นใจ
- บนลงล่าง = สัง่ การ
- ล่างขึ้นบน=ขอความเห็น
- ทุกคนเสนอความคิดเห็น,
หัวหน้าพิจารณาลงมติ
ความรับผิดชอบ,การแบ่งงาน
- เน้นความเชี่ยวชาญเฉพาะ
ด้าน
- เน้นทีมงาน,รับผิดชอบ
ร่ วมกัน
- เน้นเฉพาะด้านระดับกลาง,
สับเปลี่ยนงานได้,รับผิชอบ
เป็ นรายบุคคล
การประเมิน,เลื่อนขั้น
- ระบบคุณธรรม,เลื่อนเร็ว
- ใช้ระบบอาวุโส
-เลื่อนเร็วโดยถือผลงานและ
อาวุโส
ความสัมพันธ์ในองค์กร
- เป็ นทางการ
- ครอบครัว
- เกี่ยวพันทางสังคม,สถาบัน
แนวคิดกระบวนการ
แนวคิด POSDCoRB ของ Gulick &
Urwick
P = Planning คือ การวางโครงการ กิจกรรม เพือ่ ให้ ทราบว่ าจะทา
อะไร เมือ่ ใด อย่ างไร ใครทา ใช้ ทรัพยากรอะไร ต้ องการผลสาเร็จอะไร
O = Organizing คือ การจัดแบ่ งงาน ส่ วนงาน กาหนดตาแหน่ ง
บทบาท สายบังคับบัญชา
S = Staffing คือ การจัดการบุคคลในองค์ กร
D = Directing คือ การออกคาสั่ ง มอบหมายงาน สร้ างแรงจูงใจ
C = Coordinating คือ การประสานกิจกรรม มุ่งสู่ วตั ถุประสงค์ รวม
R = Reporting คือ การรายงานผลเพือ่ ให้ ทราบการเคลือ่ นไหวและ
ปัญหา อุปสรรค
B = Budgeting คือ การจัดงบประมาณ รายจ่ าย ตรวจสอบ
แนวคิดกระบวนการ
แนวคิด POCCC ของ Fayol
P = Planning คือ การกาหนดทางเลือก การพยากรณ์ เหตุการณ์ ใน
อนาคต
O = Organizing คือ การจัดโครงสร้ างงานและอานาจหน้ าที่ สายการ
บังคับบัญชา
C = Commanding คือการออกคาสั่ ง มอบหมายงาน
C = Coordinating คือ การกากับการทางานให้ สอดคล้ องกัน
C = Controlling คือ การตรวจสอบและติดตาม
แนวคิดกระบวนการ
ทฤษฎีระบบ ของ David Easton
Inputs
Process
Outputs
F
e
e
d
b
a
c
k
แนวคิดกระบวนการ
Inputs
ทรัพยากรบริหาร
คน,เงิน,วัสดุ,การ
จัดการ
Process
กระบวนการบริหาร
การวางแผน
การจัดองค์กร
อานวยการ
ควบคุม
ประเมินผล
งบประมาณ
Outputs
ผลผลิต
สิ นค้าและบริ การ
,ความพึงพอใจ
,คุณภาพ
เทคนิคการบริหาร
•นโยบายสาธารณะ
-นโยบายสาธารณะ = แผนงาน,โครงการ,มาตรการ,วิธีการปฏิบตั ิ,กฎหมาย
เพือ่ เป็ นแนวทางในการดาเนินงานหรือแก้ ไขปัญหาจากการบิหารงานของรัฐ
โดยมีการกาหนดเป้ าหมายและวิธีการด้ วย
- องค์ ประกอบของนโยบายสาธารณะ
- มีเป้ าหมายชัดเจน ตอบสนองความต้ องการหรือแก้ ปัญหาได้
-เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงานของเจ้ าหน้ าทีร่ ัฐ
-เป็ นสิ่ งทีร่ ัฐบาลควรทา เพราะเป็ นภารกิจของรัฐ
-กิจกรรมทีร่ ัฐต้ องตัดสิ นใจกระทาหรือไม่
-เป็ นเอกสารทีม่ ผี ลทางกฎหมาย
เทคนิคการบริหาร
•นโยบายสาธารณะ (ต่ อ)
1.กรอบการกาหนดนโยบาย
การกาหนดนโยบายของรัฐสามารถวิเคราะห์ ผ่านรู ปแบบการกาหนด
นโยบายได้ ดงั นี้
1.1 รูปแบบสถาบัน
1.2 รูปแบบกลุ่ม
1.3 รูปแบบกระบวนการ
1.4 รูปแบบชนชั้นนา
1.5 รูปแบบสมเหตุสมผล
1.6 รูปแบบค่ อยเป็ นค่ อยไป
1.7 รูปแบบระบบ
เทคนิคการบริหาร
•นโยบายสาธารณะ (ต่ อ)
2.การนานโยบายไปปฏิบตั ิ
- ถือเป็ นภารกิจของข้ าราชการประจา โดยอยู่ภายใต้ การกากับดูแลของฝ่ าย
การเมือง จึงต้ องอาศัยความร่ วมมือในการนานโยบายไปปฏิบตั ิ
- เป็ นกระบวนการทีต่ ้ องดาเนินการอย่ างต่ อเนื่อง เป็ นขั้นตอน
- ต้ องคานึงถึงผลสาเร็จตามเป้ าหมายที่ได้ ต้ังไว้
- ขั้นตอนการนานโยบายไปปฏิบตั ิประกอบด้ วย
1)การตีความนโยบายและการวางแผนในรายละเอียด
2)การจัดองค์ กรขึน้ มารับผิดชอบ อาจเป็ นหน่ วยงานหรือมอบหมายงานกับ
องค์ กรเดิมทีม่ อี ยู่
3)การระดมทรัพยากร คือ บุคลากร งบประมาณ สถานที่ เทคโนโลยี
4)การใช้ ประโยชน์ จากนโยบาย คือ การสารวจผลการดาเนินงาน
เทคนิคการบริหาร
•นโยบายสาธารณะ (ต่ อ)
3.การประเมินผลนโยบาย
- คือกระบวนการวัดคุณค่ าของผลการนานโยบายไปปฏิบตั ิ เพือ่
เปรียบเทียบกับเป้ าหมายหรือวัตถุประสงค์
- เกณฑ์ ทนี่ ิยมใช้ ในการวัดผลประกอบด้ วย
1)ประสิ ทธิผล
2)ประสิ ทธิภาพ
3)ความพอเพียง
4)ความเป็ นธรรม
5)ความสามารถในการตอบสนอง
6)ความเหมาะสม
เทคนิคการบริหาร
•5 ส
- สะสาง, สะดวก, สะอาด, สุ ขลักษณะ,สร้ างนิสัย
•Reengineering
-Rethink, Redesign, Re-tool,
Retrain
•QCC
-กลุ่มควบคุมคุณภาพ เป็ นการเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ปู ฏิบัติงาน
ค้ นหาข้ อบกพร่ องในงาน ร่ วมกันวิเคราะห์ และแก้ไข
ปัญหา
เทคนิคการบริหาร
•TQM
- แนวทางการบริหารองค์ กรทีม่ ่ ุงเน้ นการสร้ างคุณภาพให้
สมาชิกทุกคนมีส่วนร่ วมและมุ่งให้ เกิดผลระยะยาว โดย
การสร้ างความพึงพอใจให้ ลูกค้ า