แนว - หลักสูตรแกนกลาง
Download
Report
Transcript แนว - หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการบริหารจ ัดการ
ระบบคุณภาพสู่
โรงเรียนมาตรฐานสากล
สถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่ งชาติ
1
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
• เป็ นหน่วยงานอิสระ ภายใต้การกากับดูแลของกระทรวงอุตสาหกรรม
• จัดตั้งโดยความร่วมมือของภาครัฐและเอกชน
• จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2537
วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาการเพิ่มผลิตภาพของภาครัฐและภาคเอกชนให้มีระดับสูงขึ้น
รองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศในตลาดโลก
เป็ นศูนย์กลางประสานและรณรงค์สง่ เสริมสร้างจิตสานึกการเพิ่มผลผลิต
ของประเทศ
2
Main Services
Training
Training
Follow up
Productivity
Improvement
Diagnosis
Consulting
3
3
กาหนดการ
เวลา
8:30 – 9:00 น.
9:00 – 10:30 น.
กิจกรรม
Part 1: ทีม
่ า หล ักการ แนวคิด และประโยชน์ของ
การบริหารจ ัดการระบบคุณภาพ
โรงเรียนมาตรฐานสากล
Part 2: เกณฑ์การบริหารจ ัดการระบบ
คุณภาพโรงเรียนมาตรฐานสากล
4
PART
5
1
ที่มา หลักการ แนวคิด และประโยชน์ของ
การบริหารจัดการระบบ
คุณภาพโรงเรียนมาตรฐานสากล
5
ทีม่ า : MBNQA
Organizational Profile:
Environment, Relationships, and Challenges
2
Strategic
Planning
5
Human Resource
Focus
1
Leadership
7
Business
Results
3
Customer and
Market Focus
6
Process
Management
4
Measurement, Analysis, and Knowledge Management
ระบบประเมินตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) พัฒนามาจากแนวทางของรางวัล
Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) ซึ่งเป็ นรางวัลก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็ นเกียรติ
แก่ Mr. Malcolm Baldrige อดีตรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพาณิชย์ของประเทศสหรัฐอเมริกา
ในช่วงปี 1980 ซึ่งเป็ นช่วงที่สหรัฐกาลังมีปัญหาเรื่องความสามารถในการแข่งขัน
มีประเทศต่างๆ นาแนวทางไปประยุกต์เป็ นเกณฑ์รางวัลคุณภาพของชาติตนมากกว่า 70
6
ประเทศ
6
ประเทศที่นาเกณฑ์ MBNQA ไปประยุกต์ใช้
ใช้อย่างแพร่หลายมากกว่า 70 ประเทศทัว่ โลก
ใช้อย่างแพร่หลายมากกว่า 17 ประเทศในเอเซีย
Canadian Award For Ex.
UK Award for Bus. Ex.
JQA
EFQM
MBNQA
Rajiv Gandhi
NQA
TQA PQA
IQA
SQA
7
Performance Excellence
เกณฑ์ดา้ นการจัดการศึกษาเพื่อผลงานที่เป็ นเลิศ
(Baldrige Education Criteria for
Performance Excellence) ปี 2541
8
9
Productivity Improvement
Tools & Standards
Thailand Quality Award
(TQM & MBNQA/TQA/PMQA/SEPA/LQM)
Strategic Planning
KPI & Balanced Scorecard
ระดับบริหาร
Benchmarking
Supply Chain Management
Business Process Improvement (BPI)
Cross-functional Management
ระดับจัดการ
Activity-based Management (ABM) JIT
Activity-based Costing (ABC) IE
Cost of Quality (COQ) 7 Waste
ระดับปฏิบัตก
ิ าร
TPM
Six Sigma
PM/SM
Design of Experiment (DOE)
OEE
Statistical Quality Control (SQC)
ISO 9000 / ISO 16949 / HACCP / GMP / ISO 14000 / SA 8000
Problem Solving
Waste Assessment
5S / Suggestion Scheme / Visual Control
10
การบริหารจัดการระบบคุณภาพสูโ่ รงเรียนมาตรฐานสากล
โครงร่างองค์กร
สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย
2. การวางแผน
กลยุทธ์
5. การมุ่งเน้น
บุคลากร
1. การนา
องค์กร
7. ผลลัพธ์
3. การมุ่งเน้น
ผูเ้ รียนและ
ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย
6. การจัดการ
กระบวนการ
4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู ้
11
หล ักการและแนวคิด (Core Value and Concepts)
1
ั ทัศน์รว่ ม
การนาทีม
่ วี ส
ิ ย
5
ความคล่องแคล่ว
และกระตือรือร ้น
9
2
ึ ษาทีย
การศก
่ ด
ึ
การเรียนรู ้เป็ นแกนกลาง
3
การเรียนรู ้ของ
6
การมุง่ อนาคต
7
องค์กรและบุคคล
4
การให ้คุณค่ากับคณะครู
บุคลากรและผู ้มีสว่ นร่วม
การจัดการ
ความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
/สงั คมและความเป็ นพลเมืองดี
10
และการสร ้างคุณค่า
เพือ
่ ให ้เกิดนวัตกรรม
8
การบริหารจัดการ
บนพืน
้ ฐานของข ้อมูลจริง
การมุง่ เน ้นผลลัพธ์
11
มุมมองเชงิ ระบบ
ความท้าทายในการเรียนรู ้
โรงเรียนมาตรฐานสากล คือ โรงเรียนที่จดั การเรียนการสอนมุ่งให้ ผ้เู รียนมีคุณลักษณะพึงประสงค์ (Learner Profile)
เทียบเคียงมาตรฐานสากล (World class standard) ผู้เรียนมีศักยภาพ เป็ นพลโลก (World citizen)
•
•
•
•
ที่มา: เอกสารสนับสนุนการดาเนินงานแนวทางการจัดการเรี ยนรู ้ในโรงเรี ยนมาตรฐานสากล
http://www.edu.cru.in.th/ketsaraphan/loadfile/E/e4.pdf
มีคณ
ุ ธรรม
ร ักความเป็นไทย
ทางานเป็นทีม
มีจต
ิ สาธารณะ
13
ประโยชน์ของการบริหารจ ัดการระบบคุณภาพ
บริหารและจ ัดการหล ักสูตร และ
องค์กร ให้สามารถพ ัฒนาผูเ้ รียน
ั
มีคณ
ุ ภาพในสงคมโลก
14
ระดับการพัฒนาองค์ กร
15
PART
2
เกณฑ์การบริหารจัดการระบบ
คุณภาพ โรงเรียนมาตรฐานสากล
16
16
การบริหารจัดการระบบคุณภาพสูโ่ รงเรียนมาตรฐานสากล
โครงร่างองค์กร
สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย
2. การวางแผน
กลยุทธ์
5. การมุ่งเน้น
บุคลากร
1. การนา
องค์กร
7. ผลลัพธ์
3. การมุ่งเน้น
ผูเ้ รียนและ
ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย
6. การจัดการ
กระบวนการ
4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู ้
17
โครงร่างองค์กร
1. ลักษณะขององค์กร
ก. สภาพแวดล้อมของ
องค์กร
1. ประเภทหรือชนิดของ
หลักสูตรการศึกษา บริการทางการ
ศึกษา
2. วิสยั ทัศน์ พันธกิจ เป้ าประสงค์
ค่านิยม ปรัชญา คติพจน์
วัฒนธรรม
ความสามารถพิเศษขององค์กร
3. ข้ อมูลลักษณะโดยรวม เช่น
จานวน เพศ อายุ ตาแหน่งวิทย
ฐานะ อัตราส่วนนักเรียนต่อครู
ระดับการศึกษาของครู
ประเภทของครูและสวัสดิการ
ที่สาคัญ
4. อาคารสถานที่ เทคโนโลยี และ
อุปกรณ์ท่สี าคัญ
5. กฎระเบียบ ข้ อบังคับ
ที่เกี่ยวข้ อง เช่น พระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ
ข. ความสัมพันธ์
ระดับองค์กร
1. โครงสร้ างองค์กร และ
ระบบธรรมาภิบาล ระบบ
การติดตามและรายงาน
2. ลักษณะกลุ่มผู้เรียน กลุ่มผู้มี
ส่วนได้ ส่วนเสีย กลุ่มรับบริการ
ความต้ องการ และความคาดหวัง
ต่อการจัดการเรียนการสอนและ
การบริการการศึกษา
3. บทบาทของโรงเรียนและ
หน่วยงานเครือข่ายความ
ร่วมมือในกระบวนการจัดการ
เรียนการสอน บทบาทใน
กระบวนการนวัตกรรม
4. ลักษณะความสัมพันธ์ กลไก
การสื่อสารระหว่างโรงเรียนกับ
โรงเรียน สถาบันระดับอุดมศึกษา
เครื่อข่ายความร่วมมือ
5. ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียน
กับผู้เรียน ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
ผู้รับบริการและชุมชน
2. ความท้าทายต่อองค์กร
ก. สภาพการแข่งขัน
1. จานวนประเภท
โรงเรียนที่เทียบเคียงกัน
ลาดับการแข่งขัน
ขนาดและการเติบโต
2. ปัจจัยความสาเร็จของ
โรงเรียนเทียบกับคู่แข่ง
3. ผลกระทบจากการ
เปลี่ยนแปลงที่สาคัญๆ ที่
เกิดขึ้นต่อสภาพการ
แข่งขันของโรงเรียน
3. แหล่งข้ อมูลสาคัญเชิง
เปรียบเทียบและเชิง
แข่งขันภายในชุมชน
และภายนอกชุมชนของ
โรงเรียนประเภทเดียวกัน
และปัญหาหรืออุปสรรค
หรือข้ อจากัดในการหา
ข้ อมูล
ข. บริบทเชิง
กลยุทธ์
ค. ระบบการ
ปรับปรุง ผลการ
ดาเนินการ
ลักษณะประเภทของ
ความท้าทายเชิงกล
ยุทธ์ท่สี าคัญของ
โรงเรียนในด้ าน
การศึกษาการเรียนรู้
ทรัพยากรบุคคล
ความสัมพันธ์กบั ชุมชน
และความยั่งยืนของ
โรงเรียน
- ระบบการปรับปรุง
ผลการดาเนินการ
- การประเมินผลและ
ปรับปรุงกระบวนการ
ที่สาคัญ
18
การบริหารจัดการระบบคุณภาพสูโ่ รงเรียนมาตรฐานสากล
โครงร่างองค์กร
สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย
2. การวางแผน
กลยุทธ์
5. การมุ่งเน้น
บุคลากร
1. การนา
องค์กร
7. ผลลัพธ์
3. การมุ่งเน้น
ผูเ้ รียนและ
ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย
6. การจัดการ
กระบวนการ
4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู ้
19
หมวดที่ 1 การนาองค์กร
1.1 การนาองค์กร
โดยผูน้ าระดับสูง
ก. วิสยั ทัศน์ ค่านิยมและ
พันธกิจ
ข. การสือ่ สารและผลการ
ดาเนินการขององค์กร
1.2 การกากับดูแล
องค์กรและความ
รับผิดชอบต่อสังคมในวง
กว้าง
ก. การกากับดูแลองค์กร
ข. การประพฤติปฏิบตั ิตาม
กฎหมายและมีจริยธรรม
ค. ความรับผิดชอบต่อสังคม
ในวงกว้างและการ
สนับสนุ นชุมชนที่สาคัญ
20
1.1 การนาองค์กร
ก. วิสยั ทัศน์และค่านิยม
•กาหนดวิสยั ทัศน์
ค่านิ ยม และการ
ถ่ายทอดไปสู่การปฏิบตั ิ
•ผูบ
้ ริหารโรงเรียนปฏิบตั ิตนตามค่านิ ยม
ขององค์กร
•สร้างบรรยากาศที่นาไปสู่การปฏิบต
ั ิ
ตามกฎหมายและมีจริยธรรม
•สร้างบรรยากาศสู่การปรับปรุง
นวัตกรรม ความคล่องตัว การเรียนรู ้
ร่วมสร้างผูน้ าในอนาคต
ข. การสื่อสารและผลการดาเนินการ
•สื่อสารและสร้างความผูกพันกับบุคลากร
•การให้รางวัลและยกย่องชมเชยโดย
บทบาทเชิงรุกของผูบ้ ริหารโรงเรียน
•มุง่ เน้นในการบรรลุวต
ั ถุประสงค์ การ
ปรับปรุงผลการดาเนิ นงานและวิสยั ทัศน์
ขององค์กร
•ทบทวนตัววัดที่สาคัญ
•สร้างคุณค่าและความสมดุลระหว่าง
นักเรียนและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย
1.2 ระบบธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม
ก. ระบบธรรมาภิบาล
ของโรงเรียน
•ทบทวนและทาให้สาเร็จในเรือ
่ง
ความรับผิดชอบด้านการจัดการ
ด้านการเงิน ด้านความโปร่ง ใส
ที่เกี่ยวกับกรรมการกากับดูแล
โรงเรียนและการปกป้องผูม้ ีส่วน
ได้ส่วนเสีย
ข. การประพฤติตาม
กฎหมายและมีจริยธรรม
การดาเนิ นการกรณีที่
การปฏิบตั ิงานมีผล
กระทบในเชิงลบต่อ
สังคมและเตรียมการต่อ
ความกังวลของ
สาธารณะในเชิงรุก
ผูบ้ ริ หารระดับสูง
ของโรงเรี ยน คณะกรรมการ
•กระบวนการ ตัววัด และ
เป้าหมายด้านกฎระเบียบ
บริ หารโรงเรี ยน และ
ความปลอดภัย
คณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
•ส่งเสริมดาเนิ นการ อย่างมี
จริยธรรม ตรวจสอบและแก้ไข
การทาผิด
•การประเมินผล
ค. การสนับสนุน
ชุมชนที่สาคัญ
•กาหนดเลือก สนับสนุ นและ
สร้างความเข้มแข็งให้แก่ ชุมชน
ที่สาคัญโดยผูบ้ ริหารโรงเรียนง
แล
หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์
2.1 การจัดทากลยุทธ์
2.2 การนากลยุทธ์
ไปปฏิบตั ิ
ก. การจัดทากลยุทธ์
ข. วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
ก. การจัดทาแผนปฏิบตั ิการและ
การถ่ายทอดสู่การปฏิบตั ิ
ข. การคาดการณ์ผลการดาเนินการ
23
2.1 การจัดทากลยุทธ์
ก. กระบวนการจัดทากลยุทธ์
•การวางแผนกลยุทธ์กระบวนการ
ผูเ้ กี่ยวข้อง
•การระบุจุดบอด
การกาหนดความ
ท้าทายและความได้เปรียบเชิงกล
ยุทธ์ กรอบเวลาการวางแผนระยะ
สั้น/ยาว
•การนาปั จจัยที่เกี่ยวข้องมาประกอบ
วางแผน SWOTและวิเคราะห์ขอ้ มูล
และสารสนเทศ
ข. การกาหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
• วัตถุประสงค์หลักเชิงกลยุทธ์
กรอบ
เวลาที่จะบรรลุเป้าประสงค์ที่สาคัญ
สุดของวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
• วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ตอบสนอง
ความท้าทายความได้เปรียบเชิงกล
ยุทธ์ สมรรถนะหลักขององค์กร
โอกาสสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์
ปฏิบตั ิการ และรูปแบบดาเนิ นธุรกิจ
•ความสมดุลระหว่างความท้าทายและ
โอกาสระยะสั้นและยาว ความ
ต้องการของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย
ทั้งหมด
2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์เพื่อนาไปปฏิบตั ิ
ก. การจัดทาแผนปฏิบตั กิ ารและ
ข. การคาดการณ์ผลการดาเนินการ
การถ่ายทอดเพื่อนาไปปฏิบตั ิ
•การจัดทา ถ่ายทอดแผนสู่บุคลากรผูส้ ่งมอบ
คู่ความร่วมมือ เพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์เชิงกล
ยุทธ์และความยัง่ ยืน
•การจัดสรรทรัพยากร
การประเมินความ
เสี่ยงด้านการเงินและอื่นๆ
•การปรับเปลี่ยนแผนและถ่ายทอดนาไป
ปฏิบตั ิรวดเร็ว
•แผนด้านทรัพยากรบุคคล
•ตัววัดสาคัญที่ใช้ติดตามความก้าวหน้าของ
แผนปฏิบตั ิการ ระบบการวัดผลที่สอดคล้อง
ครอบคลุม
•การคาดการณ์ผลการดาเนิ นการระยะ
สั้น/ยาว
•การเปรียบเทียบผลกับแผน
กับผลที่
คาดของโรงเรียนคู่เทียบเคียง และกับ
โรงเรียนที่เปรียบเทียบได้
•การดาเนิ นการแก้ไขถ้าไม่ได้ตาม
เป้าหมายหรือที่คาดการณ์ไว้เทียบกับ
โรงเรียนคู่เทียบเคียง
หมวดที่ 3 การมุ่งเน้ นลูกค้ า
3.1 เสียงของลูกค้า
ก. การรับฟังลูกค้า
ข. การประเมินความพึงพอใจและ
ความผูกพันของลูกค้า
3.2 ความผูกพันของ
ลูกค้า
ก. ผลิตภัณฑ์และการสนับสนุน
ลูกค้า
ข. การสร้างความสัมพันธ์กบั
ลูกค้า
26
3.1ความรูเ้ กี่ยวกับนักเรียนและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย
ก. ความรู้ เกีย่ วกับนักเรียนและผู้มสี ่ วนได้ ส่วนเสี ย
•การระบุนักเรียนและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียที่อยูใ่ นพื้ นที่ความรับผิดชอบของ
โรงเรียน การกาหนดกลุ่มนักเรียนและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อชักชวนให้มา
รับบริการโดยนาข้อมูลนักเรียนของโรงเรียนคู่เทียบเคียงและสังคมโลกใน
อนาคตมาประกอบ
•การใช้ “เสียงของนักเรียนและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย” เพื่อกาหนดความ
ต้องการและความคาดหวังของนักเรียนและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียรวมทั้ง
ความสาคัญเชิงเปรียบเทียบ
•การใช้ขอ้ มูลป้อนกลับ/ข้อร้องเรียนจากนักเรียนและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย
ในการวางแผนการจัดการเรียนรู ้ ปรับปรุงและสร้างนวัตกรรม
•การทาให้วธิ ีการรับฟั งและเรียนรูท้ นั ต่อความต้องการและการ
เปลี่ยนแปลง
3.2 ความสัมพันธ์กบั นักเรียนและความพึงพอใจของนักเรียน
ก. การสร้างความสัมพันธ์กบั
นักเรียน
• การสร้างความสัมพันธ์ตอบสนอง
ตามความคาดหวัง การสร้างความรัก
และผูกพันของนักเรียนและผูม้ ีส่วนได้
ส่วนเสีย
•กลไกสาคัญของโรงเรียนที่ช่วยให้
นักเรียน ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียสามารถ
เข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ และการ
ร้องเรียน
•การระบุขอ้ กาหนดในการติดต่อแต่ละ
รูปแบบ การถ่ายทอดไปยังทุกคนที่
เกี่ยวข้องเพื่อนาไปปฏิบตั ิ การจัดการ
กับข้อร้องเรียน การลดความไม่พึงพอใจ
การสูญเสียโอกาสทางการศึกษา การ
กล่าวถึงในทางที่ไม่ดี การพิจารณาและ
วิเคราะห์ขอ้ ร้องเรียนเพื่อปรับปรุงการ
ดาเนิ นงาน
ข. การประเมินความพึงพอใจ
และความผูกพันของนักเรียน
และ ผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสีย
ค. การวิเคราะห์และใช้
ข้อมูลของนักเรียนและผูม้ ี
ส่วนได้สว่ นเสีย
•การประเมินความพึงพอใจ ความไม่พงึ
พอใจ และความรักและผูกพันการ
กาหนดความต้องการของลูกค้าและ
ตลาด
•การใช้สารสนเทศด้านความพึงพอใจ
และไม่พึงพอใจเพื่อให้เกิดการปรับปรุง
•การติดตามความคิดเห็นในเรื่อง
คุณภาพการจัดการเรียนการสอน การ
บริการ เพื่อได้ขอ้ มูลป้อนกลับ
•การค้นหาและใช้สารสนเทศที่เกี่ยวกับ
ความพึงพอใจเปรียบเทียบกับโรงเรียนคู่
เทียบเคียง
•การใช้สารสนเทศของนักเรียน ผูม้ ี
ส่วนได้ส่วนเสียและส่วนแบ่งนักเรียน
ในพื้ นที่บริการรวมถึงหลักสูตรบริการ
และบริการการศึกษาอื่น ๆ เพื่อ
กาหนดกลุ่มและส่วนของนักเรียน
•การใช้สารสนเทศในการกาหนด
และคาดการณ์ความต้องการหลักของ
นักเรียนและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อ
ปรับปรุงด้านส่วนแบ่งนักเรียน
ในพื้ นที่บริการ เสริมสร้างวัฒนธรรม
ที่มุง่ เน้นนักเรียนและผูม้ ีส่วนได้ส่วน
เสีย และกาหนดโอกาสในการสร้าง
นวัตกรรม
หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
4.1 การวัด การ
วิเคราะห์ และการ
ปรับปรุงผลการ
ดาเนินการ
4.2 การจัดการข้อมูล
สารสนเทศ และการ
จัดการความรู ้
ก. การวัดผลการดาเนินการ
ข. การวิเคราะห์ ทบทวน และ
ปรับปรุงผลการดาเนินการ
ก.
ข.
การจัดการข้อมูล สารสนเทศ
การจัดการทรัพยากร
สารสนเทศ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการจัดการ
29
ความรู ้
4.1 การวัด การวิเคราะห์และการปรับปรุงผลการดาเนินการ
ก. การวัดผลการดาเนินการ
ข. การวิเคราะห์ และการ
ทบทวนผลการดาเนินการ
ค. การปรับปรุ งผลการดาเนินการ
•การเลือก การรวบรวม ข้อมูล
และสารสนเทศที่สอดคล้อง
และบูรณาการ เพื่อติดตาม
ความก้าวหน้าเทียบกับ
วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์และ
แผนปฏิบตั ิ การใช้ขอ้ มูลเพื่อ
การตัดสินใจและนวัตกรรม
•การเลือกข้อมูล สารสนเทศ
เชิงเปรียบเทียบ
•การทาให้ระบบวัดผลทันต่อ
ความต้องการและทิศทางการ
ทางธุรกิจ และไวต่อการ
เปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว
• การทบทวนผลดาเนิ นการและ
ขีดความสามารถ การวิเคราะห์
การเปรียบเทียบกับคู่
เปรียบเทียบ กับเป้าหมายเชิงกล
ยุทธ์และแผนปฏิบตั ิการ
ความสามารถในการตอบสนอง
อย่างรวดเร็ว
•การจัดลาดับความสาคัญเพื่อ
ปรับปรุงและสร้างนวัตกรรม การ
นาไปปฏิบตั ิท้งั องค์กร และ
ผูเ้ กี่ยวข้อง
• การนาผลการทบทวนไปใช้ใน
การประเมินและปรับปรุง
กระบวนการที่สาคัญอย่างเป็ น
ระบบ
4.2 การจัดการข้อมูลสารสนเทศและการจัดการความรู ้
ก. การจัดการข้อมูล สารสนเทศ
•การทาให้ขอ้ มูลและสารสนเทศพร้อมใช้งานและ
ผูเ้ กี่ยวข้องเข้าถึงได้
• ฮาร์ดแวร์และซอฟท์ แวร์เชื่อถือได้ ปลอดภัย ใช้
งานง่าย
•ความพร้อมใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ ใน
กรณีฉุกเฉินของ รวมทั้งระบบฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์
•การรักษากลไกที่ทาให้ขอ้ มูลและสารสนเทศระบบ
ฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์พร้อมใช้งาน ระบบสารสนเทศ
ทันกับความต้องการและทิศทางธุรกิจ และ
เทคโนโลยี
ข. การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ
และเทคโนโลยีสารสนเทศ
•การทาให้มนั ่ ใจว่า ข้อมูลและสารสนเทศและ
ความรูแ้ ม่นยาถูกต้อง เชื่อถือได้ ทันกาล
ปลอดภัย และเป็ นความลับ
•การจัดการความรูอ้ งค์กรเพื่อให้สามารถ
รวบรวมและถ่ายทอดความรูข้ องบุคลากร
ลูกค้า ผูส้ ่งมอบ คู่คา้ และคู่ความร่วมมือ
รวมทั้งการชี้ บ่ง แบ่งปั นและนา Best practices
ไปปฏิบตั ิ
•การใช้ความรูใ้ นกระบวน การวางแผนเชิงกล
ยุทธ์
หมวดที่ 5 การมุ่งเน้นบุคลากร
5.1 ความผูกพันของ
บุคลากร
ก. การสร้างคุณค่าของบุคลากร
ข. การพัฒนาของบุคลากรและ
ผูน้ า
ค. การประเมินความผูกพันของ
บุคลากร
5.2 สภาพแวดล้อมใน
การทางาน
ก. ขีดความสามารถและอัตรากาลัง
ข. การสร้างบรรยากาศการทางาน
32
5.1 ความผูกพันของบุคลากร
ก.การสร้ างคุณค่ าของบุคลากร ข. การพัฒนาบุคลากรและผู้นา
•การกาหนดปั จจัยที่มีผลต่อ
ความผูกพัน และความพึงพอใจ
ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
•การเสริมสร้างวัฒนธรรมที่ทา
ให้บุคลากรมีผลการดาเนิ นการ
ที่ดีและมีแรงจูงใจ
•ระบบการวัดผลการ
ปฏิบตั ิงานสนับสนุ นผลการ
ดาเนิ นการที่ดีและความผูกพัน
การพิจารณาค่าตอบแทนให้
รางวัล และชมเชย
•ประเด็นที่ระบบการพัฒนาและการ
เรียนรู ้ พิจารณาดาเนิ นการเช่น ความ
ต้องการของทุกคน ความสามารถ
พิเศษ ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ การ
บรรลุแผน การปรับปรุง การ
เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
นวัตกรรม การถ่ายโอนความรูจ้ าก
บุคลากรที่ลาออกหรือเกษียณ
•การพัฒนากลุ่มผูน้ า การจัดการ
การศึกษาอย่างมีจริยธรรม การ
บรรลุผลสาเร็จของแผนปฏิบตั ิการ
•การประเมินผลพัฒนา
•ความก้าวหน้าทางอาชีพ การสืบ
ทอดตาแหน่ ง
ค. การประเมิน
ความผูกพันของบุคลากร
•การประเมินความผูกพันของ
บุคลากรวิธีการที่เป็ นทางการ
และไม่เป็ นทางการ ตัววัดความ
มุง่ มัน่ และความพึงพอใจของแต่
ละกลุ่ม การใช้ตวั ชี้ วัดอื่นเพื่อ
ประเมินและปรับปรุง
•ความเชื่อมโยงผลการประเมิน
กับผลลัพธ์เพื่อปรับปรุงความ
ผูกพันและผลลัพธ์
5.2 สภาพแวดล้อมของบุคลากร
ก.ขีดความสามารถและอัตรากาลัง
บุคลากร
• การประเมินความต้องการด้านขีดความ
สามารถและอัตรากาลังบุคลากร
• การสรรหา ว่าจ้างและรักษาพนักงาน
ใหม่
• การบริหาร การจัดโครงสร้างของ
โรงเรียน
•การจัดการ วางระบบบุคลากรให้
บรรลุผล การเตรียมพร้อมบุคลากรต่อ
ความต้องการที่เปลี่ยนแปลงความ
ต้องการด้านขีดความสามารถ อัตรากาลัง
ข. บรรยากาศการทางานของ
บุคลากร
• การปรับปรุงสุขอนามัย ความ
ปลอดภัยและการป้องกันภัย ตัววัดและ
เป้าหมายของปั จจัยเหล่านี้
•นโยบาย การบริการและสวัสดิการที่
ช่วยเหลือสนับสนุ นบุคลากรแต่ละกลุ่ม
หมวดที่ 6 การจัดการกระบวนการ
6.1 การออกแบบ
ระบบงาน
ก. การออกแบบระบบงาน
ข. กระบวนการทางานหลักและ
กระบวนการสนับสนุน
ค. ความพร้อมต่อภาวะฉุ กเฉิน
ก.
6.2 การจัดการและการ
ปรับปรุงกระบวนการ
ทางาน
การออกแบบกระบวนการ
ทางาน
ข. การจัดการกระบวนการ
ทางาน
ค. การปรับปรุงกระบวนการ
ทางาน
35
6.1 การออกแบบระบบงาน (Work System)
ก. การออกแบบระบบงาน
• การออกแบบและสร้าง
นวัตกรรมระบบงาน
• การตัดสินว่ากระบวนการใด
เป็ น
•กระบวนการภายใน
(กระบวนการหลัก)หรือใช้
ทรัพยากรจากแหล่งภายนอก
• ระบบงานและกระบวนการ
ทางาน หลักสัมพันธ์กบั ความ
สามารถพิเศษ (สมรรถนะหลัก)
ข. กระบวนการ
หลักและกระบวนการ
สนับสนุน
•กระบวนการทางานที่สาคัญ
ส่งมอบคุณค่าให้ลกู ค้า สร้าง
กาไรหรือผลตอบแทนด้าน
การเงิน ทาให้องค์กรสาเร็จและ
ยัง่ ยืน
•การจัดทาข้อกาหนดของ
กระบวนการ โดยใช้ขอ้ มูลจาก
นักเรียน ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย
•ผูส้ ่งมอบ คู่ความร่วมมืออย่าง
เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ
ค. ความพร้อม
ต่อภาวะฉุกเฉิน
•การเตรียมระบบงานและ
โรงเรียนให้พร้อมต่อภัย
•พิบตั ิและภาวะฉุกเฉิน โดย
คานึ งถึงการป้องกัน การจัดการ
ความต่อเนื่ องการดาเนิ นการ
และการฟื้ นตัว
6.2 กระบวนการทางาน (Work Processes)
ก. การออกแบบ
กระบวนการทางาน
•การออกแบบและสร้าง
นวัตกรรมของกระบวนการ
ทางาน
•การนาปั จจัยต่างๆ มา
ประกอบการออกแบบ
กระบวนการ
ข. การจัดการ
กระบวนการทางาน
ค. การปรับปรุง
กระบวนการทางาน
•การนากระบวนการไปปฏิบตั ิให้
ได้ผลตามข้อกาหนดของการ
ออกแบบ และทาให้การปฏิบตั ิงาน
ประจาวันบรรลุขอ้ กาหนดที่สาคัญ
และการนาข้อมูลจาผูเ้ กี่ยวข้องมา
จัดการกระบวนการ
•ตัววัด ตัวชี้ วัดผลดาเนิ นการและ
ในกระบวนการเพื่อควบคุมและ
ปรับปรุงกระบวนการ
•การตรวจสอบกระบวนการหรือ
ผลการดาเนิ นการเพื่อป้องกัน
ความผิดพลาดหรือการทางานซ้า
•การปรับปรุงกระบวน
•การเพื่อให้นักเรียนประสบ
ความสาเร็จสูงสุด ปรับปรุง
•หลักสูตร บริการที่ส่งเสริม
การเรียนรู ้ และบริการทาง
•การศึกษาอื่น ๆ
•การทาให้กระบวนการเหล่านี้
ทันต่อความจาเป็ นและทิศ
ทางการจัดการศึกษาอยูเ่ สมอ
ความเชื่อมโยงระหว่างกระบวนการและผลลัพธ์
7.1 ผลลัพธ์ด้านการเรียนรู้ของนักเรียน
7.2 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้ นนักเรียนและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
7.3 ผลลัพธ์ด้านงบประมาณ การเงินและส่วนแบ่งนักเรียนในพื้นที่บริการ
7.4 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้ นบุคลากร
7.5 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลของกระบวนการ
7.6 ผลลัพธ์ด้านภาวะผู้นา
38
38
การบริหารจัดการระบบคุณภาพสูโ่ รงเรียนมาตรฐานสากล
โครงร่างองค์กร
สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย
2. การวางแผน
กลยุทธ์
5. การมุ่งเน้น
บุคลากร
1. การนา
องค์กร
7. ผลลัพธ์
3. การมุ่งเน้น
ผูเ้ รียนและ
ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย
6. การจัดการ
กระบวนการ
4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู ้
39
Q
Q&A
40
Thank you
ฝ่ ายปรึกษาแนะนาด ้านการจัดการองค์กร
สถาบันเพิม
่ ผลผลิตแห่งชาติ
WWW.FTPI.OR.TH
Tel. 0-2619-5500 Fax. 0-2619-8092
41