โครงการโรงเรียนในฝันสู่มาตรฐานสากล

Download Report

Transcript โครงการโรงเรียนในฝันสู่มาตรฐานสากล

โครงการโรงเรียนในฝันสู่
มาตรฐานสากล
ภายใต ้โครงการวิจัยและพัฒนา
นวัตกรรมการบริหารโรงเรียนอย่างยั่งยืน
และมีคณ
ุ ภาพทัง้ องค์กร
กาหนดการ: ว ันที่ 1
เวลา
09.00 - 09.30
กิจกรรม
ผู ้แทน สนก. อธิบายถึง
• ความเป็ นมา วัตถุประสงค์ และแผนงานโครงการ
• บทบาทหน ้าทีข
่ อง สนก. พีเ่ ลีย
้ งโครงการ และ
โรงเรียนทีเ่ ข ้าร่วมโครงการ
09.30 - 10.30
10.30 - 10.45
การดาเนินการของโครงการ
รับประทานของว่าง
10.45 - 12.00
ึ ษา
ทีม
่ าของเกณฑ์คณ
ุ ภาพการศก
กิจกรรมกลุม
่ 1: แนวคิดความเป็ นเลิศ
รับประทานอาหารกลางวัน
โครงร่างองค์กร
รับประทานของว่าง
กิจกรรมกลุม
่ 2:โครงร่างองค์กร
ถาม-ตอบ
12.00 - 13.00
13.00 - 14.30
14.30 - 14.45
14.45 - 15.45
15.45 - 16.00
กาหนดการ: ว ันที่ 2
เวลา
09.00 - 10.30
10.30 - 10.45
กิจกรรม
ประเด็นสาคัญของเกณฑ์หมวด 1 - 6
รับประทานของว่าง
10.45 - 12.00
12.00 - 13.00
ประเด็นสาคัญของเกณฑ์หมวด 1 - 6 (ต่อ)
รับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 14.00
14.00 - 14.15
14.15 - 15.00
ประเด็นสาคัญของเกณฑ์หมวด 7
รับประทานของว่าง
กิจกรรมกลุม
่ 3: ตัวชวี้ ด
ั ทีส
่ าคัญ
นาเสนอ
กิจกรรมต่อเนือ
่ ง
อภิปรายกลุม
่
15.00 - 16.00
ห ัวข้อ
•
•
•
•
•
•
•
•
ึ ษา
ความท ้าทายของการศก
การดาเนินการของโครงการ
ึ ษา
ทีม
่ าของเกณฑ์คณ
ุ ภาพการศก
้
วัตถุประสงค์ของการใชเกณฑ์
องค์ประกอบของเกณฑ์
เป้ าหมายและทีมงาน
การเตรียมการเพือ
่ ครัง้ ต่อไป
ถาม-ตอบ
ึ ษา
ความท้าทายของการศก
ั ฤทธิด
– ผลสม
์ ้านการเรียนรู ้
ี
– ทักษะในการประกอบอาชพ
– ปลูกฝั งคุณธรรมและจริยธรรม
– การเรียนรู ้ตลอดชวี ต
ิ
– การเปลีย
่ นแปลงจากสงั คมภายนอก
ิ ธิภาพและ
– การบริหารโรงเรียนให ้มีประสท
ิ ธิผล
ประสท
– การสร ้างแรงจูงใจให ้บุคลากร
– การบริหารภายใต ้ทรัพยากรทีจ
่ ากัด
– การมีสว่ นร่วมกับชุมชน
ื่ สาร
– การแข่งขันในยุคเทคโนโลยีการสอ
ทิศทางการ
ึ ษา
ปฏิรป
ู การศก
ทว่ ั โลก
6
แนวคิดหล ักในการปฏิรป
ู
ึ ษา
การศก
1. Standardization of education - การสราง
้
มาตรฐานของหลักสูตร
2. Focus on core subjects in school - การมุงเน
่ ้น
ทักษะและผลการเรียนรูในกลุ
มสาระวิ
ชา
้
่
3. Search for low-risk ways to reach learning
goals - การมุงเน
์ ารศึ กษาโดยเรียนรู้จาก
่ ้ นผลสั มฤทธิก
ประสพการณ ์
4. Use of corporate management models use of
corporate management models - การปรับปรุง
ระบบการบริหารจัดการโรงเรียนโดยอาศัยรูปแบบการ
บริหารทีใ่ ช้ไดผลจากโลกธุ
รกิจ
้
http://www.pasisahlberg.com/blog/ 7
Educational Reform – lessons
learned from our neighbor
Educational
Reform
period
Strategies
1st
1965 – 1973
1. Integrated Educational System;
2. Growth of Technical Education
2nd
1974 – 1985:
1. New Education System (Efficient management
sys)
2. Certification and Training in Technical Education
3rd
1986 - 1997
1. School Leadership Training and Development
2. Excellence in Education through Quality Schools
3. Setting up Institutes of Technical Education (ITE)
4th
1998
onwards
1. ‘Thinking Schools Learning Nation’
• School Excellence Model
• Singapore Quality Class (SQC) Award
2. ITE Breakthrough Plan
8
Educational Reform – lessons
learned from our neighbor
Educational
period
Strategies
Reform
ICT Master
First Master Plan
• focused on setting up the basic
Plans for
(1997–2002)
infrastructure for schools and training
Education:
teachers to use ICT for teaching and
learning
Second Master Plan
• focuses on the pervasive and
(2003–2008)
effective integration of ICT into the
curriculum for engaged learning
9
ึ ษาในสงิ คโปร์
การปฏิรป
ู การศก
โครงการโรงเรียนในฝันสู่
มาตรฐานสากล
• เป็ นโครงการที่น าเอาเกณฑ์ค วามเป็ นเลิศ ของ
ึ ษา Baldrige Educational Criteria for
การศก
้ อ
Excellence
มาใชเพื
่ ขับเคลือ
่ นการบริหาร
จัดการโรงเรียน เพือ
่ ให ้มีแนวทางพัฒนาและสร ้าง
นวัตกรรมในการเรียนรู ้ กับกลุม
่ โรงเรียนในฝั น
แบบจาลองความเป็นเลิศการบริหาร
ึ ษา
คุณภาพการศก
14
แนวทางการดาเนินการ
Phase 4
Phase 3
Phase 2
Phase 1
ประเมินระดับพัฒนาการ
ถ่ายทอดขยายผล
ปร ับปรุงกระบวนการ ว ัดผล
ปรึกษาแนะนา ประเมินความก้าวหน้า
ถอดรห ัสบทเรียน
ปร ับระบบงาน ค้นหาวิธก
ี ารปร ับปรุงทีด
่ ี
พ ัฒนาต ัวชวี้ ัด ติดตามความก้าวหน้า
แลกเปลีย
่ นเรียนรู ้
เรียนรู ้ ทาโครงร่าง
ประเมินองค์กร
ทาแผนพัฒนา
การดาเนินการโครงการโรงเรียนใน
่ าตรฐานสากล
ฝันสูม
โครงการโรงเรียนใน
่ าตรฐานสากล
ฝั นสูม
โรงเรียน
พีเ่ ลีย้ ง
สนก
ผลทีค
่ าดว่าจะได้ร ับ
การวางแผน
เพือ่ พัฒนา
ผลการ
ประเมินตนเอง
การเรียนรูแ้ ละ
นวัตกรรม
โรงเรียน
ผลทีค
่ าดว่าจะได้ร ับ
เครือ่ งมือใน
การปรับปรุง
ทักษะการ
ประเมิน
เครือข่าย
การเรียนรู้
พีเ่ ลีย้ ง
ผลทีค
่ าดว่าจะได้ร ับ
แนวทางในการ
กระตุน้
นวัตกรรม
ข้อมูลพืน้ ฐาน
เพือ่ การพัฒนา
รูปแบบการ
ประเมิน
สนก
ที่มาของเกณฑ์
คุณภาพการศึกษา
เพื่อการดาเนินการที่เป็ นเลิศ
ทีม
่ าของเกณฑ์
• จากเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติของ
ประเทศไทย
• เกณฑ์คณ
ุ ภาพการศึกษาของสหรัฐฯ
ึ ษาฯคืออะไร?
เกณฑ์คณ
ุ ภาพการศก

้
ึ ษาใน
เป็ นเกณฑ์ทใี่ ชในการประเมิ
นสถาบันการศก
ภาพรวม

่ วามเป็ นเลิศ
อยูบ
่ นกรอบของการดาเนินงานทีม
่ งุ่ สูค

้
ึ ษา
สามารถใชประเมิ
นได ้ทัง้ โรงเรียนและเขตการศก

ั ้ นาต่าง ๆ ทั่วโลก
เป็ นทีย
่ อมรับกันในประเทศชน

เป็ นเกณฑ์เดียวกันกับเกณฑ์การประเมินรางวัลคุณภาพ
แห่งชาติ
้ หาในเกณฑ์มอ
เนือ
ี ะไรบ้าง?
• เป็ นข ้อกาหนดของระบบการบริหารจัดการองค์กรในเรือ
่ ง
หลัก ๆ ทีส
่ ง่ ผลให ้เกิดการปรับปรุงคุณภาพของการเรียน
การสอน การบริหารจัดการ และการบริการทีจ
่ ะสง่ มอบสงิ่
ี และสงั คมอย่าง
ทีม
่ ค
ี ณ
ุ ค่าแก่ผู ้เรียน ผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย
ต่อเนือ
่ ง
ั แนวคิดและทฤษฎีของการจัดการทีเ่ ป็ นระบบ
• โดยอาศย
่ วามเป็ นเลิศ
และการปรับปรุงผลการดาเนินการทีม
่ งุ่ สูค
• สอดแทรกหลักการของการบริหารจัดการทีอ
่ ยูบ
่ นระบบ
ค่านิยมทีส
่ ร ้างความยั่งยืนให ้กับองค์กรและความสมดุล
ี ทุกกลุม
ของผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย
่
ความลึกซงึ้ ของเกณฑ์
• เกณฑ์ตงั ้ คาถามเพือ
่ ให ้โรงเรียนพิจารณาว่า
เรือ
่ งต่าง ๆ ของระบบการบริหารได ้มี...
1) การดาเนินการทีเ่ ป็ นระบบหรือไม่
2) มีการนาระบบไปปฏิบต
ั อ
ิ ย่างจริงจัง สมา่ เสมอ
ทัว่ ถึง หรือไม่
3) มีการติดตามประเมินผล เพือ
่ พัฒนาระบบและ
กระบวนการต่าง ๆ ให ้ดีขน
ึ้ หรือไม่
4) ผลการปรับปรุงในแต่ละเรือ
่ งสง่ ผลต่อการบรรลุ
เป้ าหมายและทิศทางทีส
่ ถาบันมุง่ หวังไว ้หรือไม่
5) ผลลัพธ์ของการปรับปรุงสร ้างความยัง่ ยืนหรือไม่
ว ัตถุประสงค์ของเกณฑ์
้
 เพือ
่ ให ้โรงเรียนต่าง ๆ ได ้ใชเกณฑ์
นไ
ี้ ปพัฒนา
ปรับปรุงการดาเนินการ ขีดความสามารถ และ
ผลลัพธ์ให ้ดีขน
ึ้
ื่ สารและการแบ่งปั นเรียนรู ้
 เป็ นกลไกในการสอ
จากวิธป
ี ฏิบัตท
ิ เี่ ป็ นเลิศ
 เป็ นเครือ
่ งมือในการสร ้างความเข ้าใจและ
ทบทวนผลการดาเนินการในระบบการบริหาร
จัดการของโรงเรียน รวมทัง้ เป็ นแนวทางในการ
วางแผนและเป็ นโอกาสในการเรียนรู ้ของ
โรงเรียนเอง
่ ยโรงเรียนได้อย่างไร?
เกณฑ์นจ
ี้ ะชว
้ น
เกณฑ์นอ
ี้ อกแบบขึน
้ เพือ
่ ชว่ ยให ้โรงเรียนใชเป็
แนวทางทีบ
่ รู ณาการในการจัดการผลการ
ดาเนินการของตนเอง ซงึ่ จะให ้ผลลัพธ์ดงั นี้
ึ ษาทีม
• การจัดการศก
่ ก
ี ารปรับปรุงอย่างสมา่ เสมอ
ี ซงึ่ สง่ ผลต่อ
ให ้แก่ผู ้เรียนและผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย
ึ ษาและความยั่งยืนของโรงเรียน
คุณภาพการศก
ิ ธิผลและขีดความสามารถใน
• การปรับปรุงประสท
ิ ธิผล
การบริหารให ้เกิดประสท
• เกิดการเรียนรู ้ทัง้ ในระดับองค์กรและระดับบุคคล
องค์ประกอบของเกณฑ์ฯ
เกณฑ์นเี้ ป็นเครือ
่ งมือประเมินองค์กร
เพือ
่ ดูวา
่ ....
– โรงเรียนมีการบริหารอย่างถูกทิศทางภายใต ้การนาอย่างมี
ั ทัศน์
วิสย
– โรงเรียนเข ้าใจความต ้องการทีแ
่ ท ้จริงของผู ้เรียนและผู ้มีสว่ นได ้
ี และมุง่ มั่นตอบสนองความต ้องการดังกล่าวได ้
สว่ นเสย
้
้
– วิธก
ี ารรวบรวมและใชสารสนเทศที
เ่ หมาะสมเพือ
่ ใชในการ
วางแผนและบรรลุเป้ าหมายทัง้ ในปั จจุบน
ั และอนาคต
้
– วิธก
ี ารพัฒนาและใชความสามารถพิ
เศษของโรงเรียน
ิ ธิภาพ ลดการสูญเสย
ี ลดความ
– มีการบริหารงานทีม
่ ป
ี ระสท
ผิดพลาด และสง่ ผลให ้โรงเรียนผลิตนักเรียนทีต
่ รงตาม
เป้ าหมายและมีบริการต่าง ๆ ดีขน
ึ้ อย่างต่อเนือ
่ ง
– ผลการดาเนินการของโรงเรียนในแง่มม
ุ ต่าง ๆ ทัง้ จากมุมมอง
ของผู ้เรียนและผู ้ปกครอง ชุมชน ขวัญกาลังใจและการมีสว่ น
ิ ธิภาพ และด ้านการเงิน
ร่วมของบุคลากร ประสท
The 3 steps
ประเมิน
ว ัดผล
Are you getting
closer to goals?
Know where you are?
ปร ับปรุงพ ัฒนา
Know what to do?
ว ัตถุประสงค์ของการใชเ้ กณฑ์นเี้ พือ
่
การประเมิน
• เป็ นการประเมินในระด ับองค์กร
• เพือ
่ เสริมสร ้างการเรียนรู ้ขององค์กร ค ้นหา
้
โอกาสในการปรับปรุงเพือ
่ นาไปใชในการจั
ดทา
แผนพัฒนาองค์กร
• เป็ นกลไกสร ้างให ้เกิดการบูรณาการของสว่ น
ต่าง ๆ เพือ
่ ขับเคลือ
่ นให ้โรงเรียนไปสูเ่ ป้ าหมาย
ั ทัศน์ทต
และวิสย
ี่ งั ้ ไว ้
• ค ้นหาแนวทางและวิธก
ี ารในการสร ้างนวัตกรรม
ในการปรับปรุง
• ไม่เน ้นการบรรลุตวั ชวี้ ด
ั หรือการให ้ได ้คะแนนสูง
องค์ประกอบสาค ัญขององค์กรทีเ่ ป็นเลิศ
• การนาอย่างมีทศ
ิ ทางและกลยุทธ์
• การดาเนินการทีเ่ ป็ นเลิศ
• การเรียนรู ้ขององค์กร
่ วามเป็นเลิศ
แนวคิดขององค์กรทีม
่ ง
ุ่ สูค
การเรียนรู้
ขององค์กร
การนา
เชิงกลยุทธ์
การดาเนินการทีเ่ ป็ นเลิศ
แนวคิดความเป็นเลิศทีส
่ ร้าง
ความแตกต่าง
องค์กรทีด
่ ี
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ี้ าโดยผู ้นา
ชน
มุง่ เน ้นผลผลิต
ได ้มาตรฐาน
ปรปั กษ์ ระหว่างผู ้สง่ มอบและ
ผู ้รับ
ปฏิบต
ั งิ านตามเงือ
่ นเวลา
มุง่ ผลงานทีละไตรมาส
ปฏิบต
ั ต
ิ ามคูม
่ อ
ื
ิ และจัดการตามความรู ้สก
ึ
ตัดสน
ปฏิบต
ั ต
ิ ามกฏหมายบังคับ
มุง่ เน ้นผลเฉพาะหน ้า
มุมมองเชงิ ภาระหน ้าที่
องค์กรทีด
่ ก
ี ว่า
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ั ทัศน์
การนาอย่างมีวส
ิ ย
มุง่ เน ้นผู ้เรียน
ได ้การเรียนรู ้ขององค์กร
การเห็นคุณค่าของผู ้ปฏิบต
ั งิ าน
และคูค
่ วามร่วมมือ
มีความคล่องตัว
มุง่ เน ้นอนาคต
มีนวัตกรรม
การจัดการโดยใชข้ ้อมูล
ความรับผิดชอบต่อสงั คม
มุง่ เน ้นการสร ้างคุณค่าและ
ผลลัพธ์
มุมมองเชงิ บูรณาการของระบบ
Core Values as Design Concepts
ปฏิบ ัติการ 1
1. ให ้แต่ละโรงเรียนพิจารณาว่าโรงเรียนของตนมี
การดาเนินการทีเ่ ป็ นไปตามแนวคิดความเป็ น
้
เลิศข ้อใด โดยใชฟอร์
ม1
2. ให ้อภิปรายในกลุม
่ พร ้อมนาเสนอตัวอย่างการ
ดาเนินการทีส
่ ะท ้อนค่านิยมความเป็ นเลิศมา
หนึง่ เรือ
่ ง
ให้เวลา 30 นาที
เขียนลงบน Flip Chart
ค่านิยมหล ักและแนวคิด
ั ทัศน์
1. การนาองค์กรอย่างมีวส
ิ ย
2. ความเป็ นเลิศทีม
่ งุ่ เน ้นผู ้เรียน
3. การเรียนรู ้ขององค์กรและของแต่
ละบุคคล
4. การเห็นคุณค่าของผู ้ปฏิบต
ั งิ าน
และคูค
่ วามร่วมมือ
5. ความคล่องตัว
6. การมุง่ เน ้นอนาคต
7. การจัดการเพือ
่ นวัตกรรม
8. การจัดการโดยใชข้ ้อมูลจริง
9. ความรับผิดชอบต่อสงั คม
10. การมุง่ เน ้นทีผ
่ ลลัพธ์และการสร ้าง
คุณค่า
11. มุมมองในเชงิ ระบบ
ั ัศน์
การนาองค์กรอย่างมีวส
ิ ยท
• ผู ้ น า ต้อ ง ช ี้ น า ทิศ ท า ง ที่ ถู ก ต้อ ง แ ล ะ ส ื่ อ ถึง คุ ณ ค่ า
คุณธรรมให้แก่คนในองค์กร
• สร้างกรอบแห่งการปฎิบ ัติงานเพือ
่ ความเป็นเลิศ
• กระตุน
้ ให้เกิดแรงบ ันดาลใจในการสร้างนว ัตกรรมและ
เสริมสร้างองค์ความรู ้
• สร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู ้
่ เสริม สน ับสนุน และจูงใจให้บค
่ น
• สง
ุ ลากรทุกระด ับมีสว
ร่วมในการสร้างผลงานให้โรงเรียนและการพ ัฒนาไปสู่
ความเป็นเลิศ
• ส ร้ า ง ส ม ดุ ล ย์ร ะ ห ว่ า ง ค ว า ม ต้อ ง ก า ร ข อ ง ผู ้ม ี ส ่ ว น
เกีย
่ วข้องกลุม
่ ต่างๆ
• เป็ น ต้น แ บ บ ใ น ก า ร ป ฏิบ ต
ั ิต น เ ป็ น แ บ บ อ ย่ า ง แ ห่ ง
จริยธรรม คุณธรรม และการริเริม
่
ึ ษาทีม
การศก
่ ง
ุ่ เน้นการเรียนรู ้
• เข้า ใจความต้อ งการและความแตกต่า งในการเรีย นรูข
้ อง
ผูเ้ รียนและแปลงความต้องการนีเ้ ป็นสาระวิชาและหล ักสูตร
ทีเ่ หมาะสม
• คาดการณ์ ถ ึง การเปลี่ย นแปลงของตลาดแรงงานและ
ึ ษา
ทิศทางการศก
• คณาจารย์ตอ
้ งเข้าใจถึงความแตกต่างและข้อจาก ัดในการ
เรียนรูข
้ องผูเ้ รียนต่างกลุม
่
่ นร่วม
• เน้นการเรียนรูแ
้ บบมีสว
• กระบวนการประเมินผลทีน
่ อกจากจะประเมินความก้าวหน้า
ของผูเ้ รียนแต่ละคนแล้วต้องสามารถว ัดผลการเรียนรูแ
้ ละ
ี
ท ักษะตามมาตรฐานทีก
่ าหนดทงด้
ั้ านวิชาการและวิชาชพ
• การปร ับหล ก
ั สูต รการเรีย นการสอนตามการเปลีย
่ นแปลง
้
ของเทคโนโลยีและความรูใ้ หม่ๆทีเ่ กิดขึน
ึ ษาทีม
การศก
่ ง
ุ่ เน้นการเรียนรูค
้ อ
ื อะไร?
• การก าหนดและคาดหว งั มาตรฐานข น
ั้ สู ง จาก
ผูเ้ รียนทุกระด ับ
• ผูส
้ อนพึง ตระหนก
ั ว่า ผูเ้ รียนอาจมีความแตกต่า ง
้ หา เวลา การ
้ น
ในอ ต
ั ราการเรีย นรู ้ ท งั้ นีข
ึ้ ก บ
ั เนือ
สน ับสนุน เงือ
่ นไขต่างๆ ด ังนนองค์
ั้
กรจึงควรเสาะ
แสวงหาวิธก
ี ารต่างๆเพือ
่ สน ับสนุนการเรียนรูข
้ อง
ผูเ้ รียน
• เน้นการเรียนรูแ
้ บบตืน
่ ต ัว
• การประเมินผลเพือ
่ พ ัฒนากระบวนการเรียนรู ้
• การประเมินผลเพือ
่ ว ัดความรูแ
้ ละการพ ัฒนา
่ นร่วมของผูเ้ รียนและครอบคร ัว
• ความมีสว
การเรียนรูข
้ ององค์กรและของแต่ละบุคคล
้ ก ับแนวทางทีอ
• ความสาเร็ จขององค์กรขึน
่ งค์กรใชเ้ พือ
่ สร้าง
ให้เ กิด การเรีย นรูท
้ งในระด
ั้
ับบุค คล และระด ับองค์ก ร อย่า ง
เป็นระบบ
• ก า ร เ รี ย น รู ้ ค ว ร เ ป็ น ส ่ ว น ห นึ่ ง ใ น วิ ถ ี ช ี ว ิ ต ป ร ะ จ า ว น
ั ของ
บุคคลากรในองค์กร
้ กบ
• ความก้า วหน้า ของคณาจารย์แ ละบุค ลากรในองค์ก รขึน
ั
โอกาสในการเรียนรูแ
้ ละพ ัฒนาท ักษะใหม่ๆ
• การเรียนรูใ้ นองค์กรมีตงแต่
ั้
ระด ับบุคคล สายงาน แผนกงาน
จนถึงระด ับองค์กร
่ ยให้กระบวนการแก้ปญ
ิ ธิภาพยิงขึ
้
• การเรียนรูช
้ ว
ั หามีประสท
่ น
ึ ษาและการ
ก่อ ให้เ กิด การแบ่งปัน ประสบการณ์จ ากกรณี ศ ก
ปฏิบ ัติทเี่ ป็นเลิศ(Best Practice)
่ ว ัตกรรมและการสร้างสรรค์
• นาไปสูน
ประโยชน์ของการเรียนรูร้ ะด ับ
บุคคล
• สร ้างความพอใจและเพิม
่ ความสามารถในตัว
บุคลากรให ้อยากอยูก
่ บ
ั องค์กรต่อไป
• เกิดการเรียนรู ้ข ้ามสายงาน
ิ ทางความรู ้ให ้กับองค์กร
• สร ้างทรัพย์สน
่ วัตกรรม
• สร ้างบรรยากาศทีน
่ าไปสูน
การเห็นคุณค่าของผูป
้ ฏิบ ัติงาน และ
คูค
่ วามร่วมมือ
้ ก ับความหลากหลายของความรู ้
• ความสาเร็จขององค์กรขึน
ความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์และแรงจูงใจของ
คณาจารย์ บุคลากรและผูร้ ว
่ มงานทุกกลุม
่
้ มายถึงการพ ัฒนา
• การเห็นคุณค่าของกลุม
่ บุคคลเหล่านีห
ั
ศกยภาพของพวกเขาท
งด้
ั้ านความรู ้ การทางาน และ
คุณภาพชวี ต
ิ เพือ
่ ให้พวกเขาสามารถทางานเพือ
่ สน ับสนุน
ความเติบโตขององค์กรอย่างเต็มที่
• การพ ัฒนาอาจรวมไปถึงการฝึ กอบรม การสอนงาน การ
ั
ให้โอกาสในการสบเปลี
ย
่ นงาน ความก้าวหน้าในตาแหน่ง
้
และผลตอบแทนทีใ่ ห้เพิม
่ ตามท ักษะทีส
่ ง
ู ขึน
ึ ษาอืน
• คูค
่ วามร่วมมือภายนอกรวมถึงสถาบ ันการศก
่
่ ยเสริมสร้าง
สมาคม หน่วยงานภาคร ัฐและเอกชนทีจ
่ ะชว
ภาพล ักษณ์ และขยายตลาดใหม่ๆหรือเปิ ดหล ักสูตรใหม่
การเห็นคุณค่าของผูป
้ ฏิบ ัติงาน และ
คูค
่ วามร่วมมือ
• แสดงให้เห็นว่าผูบ
้ ริหารใสใ่ จก ับความสาเร็จของคนใน
องค์กรเพียงใด
• ให้การยอมร ับซงึ่ นอกเหนือจากทีอ
่ งค์กรมีอยูแ
่ ล้วโดยปกติ
• สน ับสนุนการพ ัฒนาและความก้าวหน้าของคนในองค์กร
• การนาความรูข
้ องคนในองค์กรออกมาใชใ้ ห้เป็นประโยชน์
ั
แก่น ักเรียน สงคม
และวางแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร
• สร้างบรรยากาศแห่งการสร้างสรรค์และนว ัตกรรม
• สร้างบรรยากาศให้คนทีม
่ พ
ี น
ื้ ฐานหลากหลาย ทางาน
ร่วมก ันได้อย่างมีความสุข
ความคล่องต ัว
• องค์กรทีจ
่ ะอยูร่ อดได้ภายใต้ภาวะการเปลีย
่ นแปลงที่
รวดเร็วของยุคโลกาภิว ัฒน์จาเป็นต้องปร ับเปลีย
่ นทีท
่ ันต่อ
การเปลีย
่ นแปลง
ิ หน้าก ับข้อจาก ัดในเรือ
• องค์กรสม ัยใหม่ตอ
้ งเผชญ
่ งของ
เวลา
ึ ษาม ักถูกเรียกร้องให้
• หน่วยงานภาคร ัฐและสถาบ ันการศก
ั
สนองตอบต่อประเด็นทีก
่ าล ังเป็นทีส
่ นใจในสงคม
• บุคลากรขององค์กรจึงต้องมีความคล่องต ัวในการทางาน
้
และตอบสนองต่อความต้องการภายนอกได้เร็วขึน
• การให้ความสาค ัญก ับเวลาทีใ่ ชไ้ ปในการทางานสว่ น
ต่างๆภายในองค์กร
• ความรวดเร็วฉ ับไวและคุณภาพของงานบริการ
การมุง
่ เน้นอนาคต
ั้
ึ ษาทงระยะส
• เข้าใจปัจจ ัยทีม
่ ผ
ี ลต่อคุณภาพการศก
ั้
นและระยะ
ยาว
้ าจรวมถึง:
• ปัจจ ัยเหล่านีอ
ึ ษาทว่ ั โลก
– การปฏิรป
ู การศก
– การเปลีย
่ นรูปแบบการสอน
ั
– ความคาดหว ังของผูเ้ รียนและสงคม
– การเปลีย
่ นแปลงของเทคโนโลยี
– การเติบโตและการเปลีย
่ นแปลงของประชากร
– การเปลีย
่ นแปลงของทร ัพยากรและงบประมาณ
– การปร ับเปลีย
่ นของสถาบ ันคูแ
่ ข่ง
• การวิเคราะห์ปจ
ั จ ัยต่างๆทีม
่ ผ
ี ลต่ออนาคตและการเปลีย
่ นแปลง
่ ยให้วางแผนการพ ัฒนาบุคลากรและเครือ
ชว
่ งมือได้ท ันการณ์
การจ ัดการเพือ
่ นว ัตกรรม
• นวัตกรรมหมายถึงการเปลีย
่ นแปลงทีน
่ าองค์กร
่ งิ่ ทีด
ไปสูส
่ ข
ี น
ึ้
• นวัตกรรมนีร้ วมถึงการพัฒนาหลักสูตร วิธก
ี าร
สอน กระบวนการทางาน การให ้บริการ การวิจัย
และการนาผลไปใช ้ ซงึ่ หมายถึงกิจกรรมทุก
เรือ
่ งในกระบวนการบริหารจัดการภายในองค์กร
• การจัดการเพือ
่ นวัตกรรมจึงมุง่ เน ้นทีก
่ ารนาเอา
ความรู ้ทีส
่ งั่ สมอยูท
่ ก
ุ ระดับภายในองค์กรออกมา
้ ้เกิดประโยชน์ในทุกด ้าน
ใชให
้ อ
การจ ัดการโดยใชข
้ มูลจริง
• การกาหนดต ัวว ัดต่างๆทีต
่ อบสนองความต้องการและ
ยุทธศาสตร์ขององค์กร
• ต ัวว ัดควรครอบคลุมพ ันธกิจทุกด้านทีอ
่ งค์กรดาเนินการ
จาแนกตามประเภทและกลุม
่ เป้าหมาย
ั้
ี้ ง
• ต ัวว ัดควรสามารถชบ
่ ผลการปฏิบ ัติงานทงในระยะส
ั้
นและ
ระยะยาว
่ นหนึง่ ของการติดตามประเมินผล
• การวิเคราะห์ขอ
้ มูลเป็นสว
และการวางแผน
• การวิเคราะห์ หมายถึง การกลน
่ ั กรองใจความสาค ัญจาก
้ น ับสนุนการว ัดผล การต ัดสน
ิ ใจ
ข้อมูลและสารสนเทศเพือ
่ ใชส
การปร ับปรุง และนว ัตกรรม
ี้ เี่ ลือกมาต้องเป็นต ัวทีด
• ต ัวว ัดหรือต ัวบ่งชท
่ ท
ี ส
ี่ ด
ุ ทีส
่ ะท้อนถึง
่ ารปร ับปรุงผลการดาเนินการด้านผูเ้ รียน
ปัจจ ัยทีน
่ าไปสูก
ั
การปฏิบ ัติการ การเงิน และด้านสงคม
ั
ความร ับผิดชอบต่อสงคม
• ผู ้นาควรให ้ความใสใ่ จต่อความรับผิดชอบทีม
่ ต
ี อ
่ สงั คม
การปฏิบต
ั ต
ิ ามกฎหมายและจริยธรรมทีด
่ ี
• ผู ้นาพึงตระหนักถึงการดาเนินงานในทุกสว่ นทีเ่ กีย
่ วข ้อง
ในด ้าน ความปลอดภัย สงิ่ แวดล ้อมและสุขภาวะของ
สว่ นรวม
ี
• องค์กรควรเน ้นการอนุรักษ์ ทรัพยากรและการลดของเสย
ทีแ
่ หล่งเกิด
• ควรคานึงถึงผลกระทบด ้านลบ ทีอ
่ าจเกิดขึน
้ จากการ
จัดการอาคารสถานที่ การปฏิบต
ั งิ านภายในห ้องทดลอง
และการขนย ้าย
• การมีสว่ นร่วมในชุมชนและการชว่ ยแก ้ปั ญหาในสงั คมเป็ น
การเสริมภาพลักษณ์ทด
ี่ ใี ห ้แก่องค์กร
• การประพฤติปฏิบต
ั เิ พือ
่ เป็ นแบบอย่างทีด
่ ใี นการจรรโลง
ี
ไว ้ซงึ่ จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชพ
การมุง
่ เน้นทีผ
่ ลล ัพธ์และการ
สร้างคุณค่า
• ผลลัพธ์ทต
ี่ อบสนองความต ้องการของผู ้มีสว่ น
เกีย
่ วข ้อง
• ผลลัพธ์เหล่านีไ
้ ด ้สร ้างคุณค่าอะไรให ้กับทุกฝ่ าย
ทีเ่ กีย
่ วข ้องตัง้ แต่ นักเรียน ชุมชน สงั คม
คณาจารย์และบุคลากร ผู ้ร่วมงาน และ นายจ ้าง
• ตัวชวี้ ด
ั ทัง้ หลายได ้ชว่ ยสร ้างสมดุลให ้แก่ความ
ต ้องการของผู ้มีสว่ นเกีย
่ วข ้องกลุม
่ ต่างๆ
มุมมองในเชงิ ระบบ
ื่ มโยงส่วนต่างๆ
• มุมมองทีเ่ ป็ นระบบชว่ ยสร ้างความเชอ
เข ้าด ้วยกัน และสร ้างความบูรณาการให ้เกิดขึน
้
่ ศ
• ระบบชว่ ยให ้ทุกสว่ นมุง่ ไปสูท
ิ ทางเดียวกัน
• เป็ นเรือ
่ งทีเ่ กีย
่ วกับการสังเคราะห์ (Synthesis) ความ
สอดคล ้องไปในแนวทางเดียวกัน (Alignment) และ
การบูรณาการ (Integration)
• สนั บสนุ นการบริหารงานและการจัดการทีต
่ ่อเนื่องและ
้
คงเสนคงวา
• แสดงให ้เห็นว่าผู ้นาระดับสูงขององค์กรมีความมุ่งเน ้น
อย่า งไรในทิศ ทางเช งิ กลยุท ธ์ นั ก เรีย น และกลุ่ม ผู ้มี
ี
สว่ นได ้เสย
โครงร่างองค์กร (Organizational Profile)
โครงร่างองค์กรคืออะไร?
•
•
•
•
•
•
•
้ ฐานในการดาเนินการขององค์กร
บริบทพืน
้ ฐานด้านสภาพแวดล้อมขององค์กร
พืน
ั ันธ์ก ับกลุม
ความสมพ
่ ต่างๆในระด ับองค์กร
สภาพการแข่งข ันและความท้าทาย
ี่ วชาญขององค์กร
ความเชย
กลไกการปร ับปรุงองค์กร
่ ารประเมินระด ับพ ัฒนาการขององค์กร
นาไปสูก
ประเด็นหล ัก ๆ ในโครงร่าง
 หลักสูตร วิธก
ี ารในการจัดหลักสูตร และบริการสง่ เสริมการเรียนรู ้ต่างๆ
ั ทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมของ
 วัฒนธรรมองค์กร จุดประสงค์ วิสย
โรงเรียน
ี่ วชาญพิเศษของโรงเรียน
 สมรรถนะหลักและความเชย
 ลักษณะโดยรวมของผู ้ปฏิบต
ั งิ าน ความต ้องการและความคาดหวังที่
สาคัญ
 ความหลากหลายของภาระงาน และข ้อกาหนดพิเศษด ้านสุขอนามัย
และความปลอดภัยในการทางาน
 อาคารสถานที่ เทคโนโลยี อุปกรณ์ และสงิ่ อานวยความสะดวกทีส
่ าคัญ
 กฏหมาย ข ้อบังคับ และมาตรฐานบังคับในเรือ
่ งหลักสูตร แผนการ
ึ ษา และการวัดผล ข ้อกาหนดด ้านการรับรองวิทยฐานะ เงือ
ศก
่ นไขด ้าน
ี ระเบียบการเงิน สภาพแวดล ้อม และข ้อบังคับของ
การประกอบวิชาชพ
ชุมชน
ประเด็นหล ัก ๆ ในโครงร่าง








โครงสร ้างและระบบการกากับดูแลของโรงเรียน ธรรมาภิบาล
ของโรงเรียน คณะกรรมการบริหาร และ คณะกรรมการ
กาหนดนโยบายของโรงเรียน
ี และ/หรือสว่ นตลาด
ประเภทผู ้เรียน กลุม
่ ผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย
ทีส
่ าคัญ ความต ้องการและความคาดหวังทีส
่ าคัญต่อ
หลักสูตร
ผู ้สง่ มอบและคูค
่ วามร่วมมือทีเ่ ป็ นทางการ(partners)และไม่
เป็ นทางการ (collaborators) ทีส
่ าคัญทีส
่ ด
ุ และบทบาทใน
การจัดหลักสูตร และในการสร ้างนวัตกรรม
ลาดับในการเลือกของโรงเรียน ขนาดและการเติบโตของ
โรงเรียนเมือ
่ เปรียบเทียบกับโรงเรียนอืน
่ ในระดับเดียวกัน
ปั จจัยสาคัญทีก
่ าหนดความสาเร็จของโรงเรียน
ความได ้เปรียบและความท ้าทายเชงิ กลยุทธ์ของโรงเรียน
การเปลีย
่ นแปลงหลักทีก
่ าลังเกิดขึน
้ ซงึ่ สง่ ผลกระทบต่อ
สภาพการแข่งขัน
ระบบการปรับปรุงและพัฒนาของโรงเรียน
ความสาค ัญในการจ ัดทา
โครงร่างองค์กร
• เข ้าใจบริบทของตนเอง
ั เจนในปั จจัยสาคัญทีส
• ชด
่ ง่ ผลต่อ
ความสาเร็จและความยั่งยืน
• กาหนดกลไกและระบบในการปรับปรุง
้ นจุดเริม
• ใชเป็
่ ต ้นในการประเมิน
ปฏิบ ัติการ 2
1. ให ้แต่ละโรงเรียนพิจารณาว่ามีข ้อมูลทีส
่ ามารถ
ตอบคาถามในโครงร่างได ้ครบถ ้วนหรือไม่
ั เจน โดยใชฟอร์
้
ข ้อใดทีไ่ ม่มค
ี วามชด
ม2
2. ให ้อภิปรายในกลุม
่ พร ้อมสรุปประเด็นทีย
่ ังไม่
ั เจน
ชด
้
3. หัวข ้อใดทีต
่ ้องใชการรวบรวมข
้อมูลมากทีส
่ ด
ุ
และโดยวิธใี ด?
ให้เวลา 30 นาที
เขียนลงบน Flip Chart
เกณฑ์ฯความเป็ นเลิศ (Criteria)
คุณล ักษณะสาค ัญของเกณฑ์
ความเป็นเลิศ
1. เกณฑ์มง
ุ่ เน้นผลล ัพธ์
เกณฑ์นม
ี้ งุ่ เน ้นผลการดาเนินการระดับองค์กรทีส
่ าคัญ
ตามทีร่ ะบุไว ้ดังนี้
ผลการดาเนินการขององค์กร :
(1) ผลลัพธ์ด ้านการเรียนรู ้ของผู ้เรียนและกระบวนการ
(2) ผลลัพธ์ด ้านการมุง่ เน ้นลูกค ้า
(3) ผลลัพธ์ด ้านการมุง่ เน ้นผู ้ปฏิบต
ั งิ าน
(4) ผลลัพธ์ด ้านการนาองค์กร และการกากับดูแล
(5) ผลลัพธ์ด ้านงบประมาณ การเงิน และการตลาด
ผลลัพธ์ควรเป็ นตัววัดที่สะท้อนการดาเนินการของกระบวนการต่าง ๆ
ภายในองค์กร การปรับปรุงกระบวนการจึงควรส่งผลให้ผลลัพธ์ดีขึน้
คุณล ักษณะสาค ัญของเกณฑ์
ความเป็นเลิศ
2. เกณฑ์ไม่กาหนดวิธก
ี ารทีเ่ ฉพาะเจาะจง และสามารถปรับ
้ ้ตามบริบทของแต่ละแห่ง
ใชได
เกณฑ์นป
ี้ ระกอบด ้วยข ้อกาหนดทีม
่ งุ่ เน ้นผลลัพธ์ อย่างไรก็
ตามเกณฑ์ไม่ได ้กาหนดว่า
 องค์กรควรมีโครงสร ้างอย่างไร
 องค์กรควรหรือไม่ควรมีหน่วยงานทีร่ ับผิดชอบด ้านคุณภาพ ด ้าน
วางแผน ด ้านจริยธรรม หรือหน ้าทีอ
่ น
ื่ ๆ หรือ
 องค์กรด ้องมีการบริหารหน่วยงานต่างๆ ในรูปแบบเดียวกัน
โรงเรียนควรค้นหาแนวทางในการดาเนินการในรูปแบบที่เหมาะสมกับ
บริบทของตนเองเพื่อนาไปสู่วิธีปฏิบตั ิ ที่เป็ นเยี่ยม(Best Practices)
คุณล ักษณะสาค ัญของเกณฑ์
ความเป็นเลิศ
ึ ษา
3. เกณฑ์นบ
ี้ ร
ู ณาการสาระสาค ัญทางการศก
ึ ษาถูกดัดแปลงเพือ
เกณฑ์การศก
่ ให ้ความสาคัญกับหลักการที่
ึ ษา และความต ้องการทีจ
สาคัญทางการศก
่ าเพาะขององค์กร
ึ ษา ซงึ่ รวมถึง
การศก
 มุง่ เน ้นทีก
่ ารเรียนการสอนเป็ นหลัก เนือ
่ งจากเป็ นเป้ าหมายสาคัญ
ึ ษา
ของสถานศก
ึ ษาอาจมีพันธกิจ บทบาทและหลักสูตรซงึ่ มีความแตกต่างกัน
 สถานศก
่ โรงเรียนทีม
ได ้ (เชน
่ งุ่ เน ้นความเป็ นเลิศด ้านกีฬา ทักษะทางภาษา
หรือสถาบันทีเ่ น ้นการสอนเด็กทีม
่ ค
ี วามสามารถพิเศษ)
ี ได ้ (เชน
่ ผู ้ปกครอง นายจ ้าง
 คานึงถึงผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย
ึ ษาอืน
สถาบันการศก
่ ๆ และชุมชน)
การสร้างสมดุลย์ของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียและการมุง่ เน้นตามพันธกิจเป็ นส่วน
สาคัญในการวางแผนกลยุทธ์
คุณล ักษณะสาค ัญของเกณฑ์
ความเป็นเลิศ
ึ ษา
3. เกณฑ์นบ
ี้ ร
ู ณาการสาระสาค ัญทางการศก
หลักการของความเป็ นเลิศ รวมถึงสว่ นประกอบ 3 ด ้านคือ
(1) กลยุทธ์การประเมินทีผ
่ า่ นการกลัน
่ กรอง และมีการนาไป
ปฏิบต
ั ม
ิ าแล ้วเป็ นอย่างดี
ี้ ด
(2) มีการปรับปรุงตัววัดและดัชนีชว
ั ผลลัพธ์การดาเนินการ
โดยเฉพาะผลการเรียนรู ้ของผู ้เรียนอย่างต่อเนือ
่ งทุกปี
ั เจนถึงความเป็ นผู ้นาในด ้านผลดาเนินการ
(3) แสดงให ้เห็นชด
และการปรับปรุง ผลดาเนินการ โดยเปรียบเทียบกับ
ึ ษาซงึ่ เทียบเคียงกันได ้ และกับเกณฑ์เปรียบเทียบที่
สถานศก
เหมาะสม
การบริหารยุทธศาสตร์ การปรับปรุง การเทียบเคียง ช่วยขับเคลื่อนองค์กร
ไปสูค่ วามเป็ นเลิศ
การบูรณาการเกณฑ์ก ับผลล ัพธ์ตาม BSC
คุณล ักษณะสาค ัญของเกณฑ์
ความเป็นเลิศ
4. เกณฑ์นส
ี้ น ับสนุนมุมมองเชงิ ระบบเพือ
่ ให้
เป้าประสงค์สอดคล้องไปในแนวทางเดียวก ัน ทว่ ั ทงั้
องค์กร
มุมมองเชงิ ระบบเป็ นแนวทางการดาเนินงานทีม
่ งุ่
เพือ
่ ให ้เป้ าประสงค์สอดคล ้องไปในทางเดียวกัน จะต ้อง
หยั่งลึกอยูใ่ นโครงสร ้างทีบ
่ รู ณาการกันระหว่างค่านิยม
หลักและโครงร่างองค์กร เกณฑ์ แนวทางการประเมิน
การมุง่ เน ้นผลลัพธ์ เหตุปัจจัยและผล ผ่านข ้อคาถามที่
ื่ มโยงข ้ามกระบวนการระหว่างหัวข ้อต่างๆ ในเกณฑ์
เชอ
ความเชื่อมโยงของเนื้อหาภายในเกณฑ์แต่ละหมวด
คุณล ักษณะสาค ัญของเกณฑ์
ความเป็นเลิศ
5. เกณฑ์สน ับสนุนการตรวจประเมินทีเ่ น้นเป้าประสงค์
แนวทางการประเมิน ประกอบด ้วยการตรวจประเมินซงึ่ แยกเป็ น
2 สว่ น คือ กระบวนการ และผลล ัพธ์
การตรวจประเมิน ชว่ ยให ้องค์ก รทราบถึงจุด แข็ งและโอกาสใน
การปรั บ ปรุง ตามหั ว ข ้อหลั ก ต่า ง ๆ เพื่อ บอกให ้องค์ก รทราบถึ ง
ระดับพัฒนาการของตนเองทัง้ ในแง่ของกระบวนการและผลการ
ดาเนินการ
ด ้วยเหตุนี้ การตรวจประเมิน จึง น าไปสู่ก ารวางแผนเพื่อ ลงมือ
ปฏิ บั ต ิท ี่ ส่ ง ผลต่ อ การปรั บ ปรุ ง ผลการด าเนิ น การในทุ ก ด า้ น
การตรวจประเมินดังกล่าวจึงเป็ นเครือ
่ งมือในการบริหารจัดการที่
เป็ นประโยชน์กว่าการทบทวนผลการดาเนินการโดยทัว่ ๆ ไป
การตรวจประเมินองค์กรเพื่อทราบระดับพัฒนาการ
คาถามของเกณฑ์
• แบ่งออกเป็ นหมวด หัวข ้อ และประเด็นเพือ
่
พิจารณา
้ อ
• ประกอบด ้วยคาถามทีโ่ รงเรียนใชเพื
่ พิจารณา
ตนเอง
• คาถามมีสองลักษณะคือ อะไร และ อย่างไร
• การตอบคาถามในแต่ละประเด็นย่อมขึน
้ กับบริบท
(โครงร่าง) ของโรงเรียน และระด ับพ ัฒนาการ
ระด ับพ ัฒนาการของกระบวนการ
การปฏิบตั ิงานมีลกั ษณะเป็ นกิจกรรมมากกว่า
เป็ นกระบวนการ และส่วนใหญ่จะตอบสนองความ
ต้ องการหรื อแก้ ปัญหาเฉพาะหน้ า ขาดการกาหนด
เป้าประสงค์ที่ดี
ระด ับพ ัฒนาการของกระบวนการ
30 – 45%
องค์กรเพิง่ เริม่ ต้นปฏิบตั งิ านด้วยการใช้กระบวนการที่
สามารถทาซ้าได้ มีการประเมินผล การปรับปรุง และ
เริม่ มีการประสานงานบ้างระหว่างส่วนงานต่างๆ
ภายใน มีการกาหนดกลยุทธ์และเป้าประสงค์เชิง
ปริมาณ
ระด ับพ ัฒนาการของกระบวนการ
50 – 65%
การปฏิบตั งิ านมีลกั ษณะเป็ นกระบวนการทีส่ ามารถทาซ้า
ได้ และมีการประเมินผลอย่างสม่าเสมอเพือ่ การปรับปรุง
โดยมีการแบ่งปนั ความรูแ้ ละการประสานงานระหว่างส่วน
งานต่างๆ ภายในโรงเรียน กระบวนการตอบสนองกล
ยุทธ์และเป้าประสงค์ทส่ี าคัญของโรงเรียน
ระด ับพ ัฒนาการของกระบวนการ
70 – 100%
การปฏิบตั ิงานมีลกั ษณะเป็ นกระบวนการที่สามารถทาซ ้าได้ และมีการ
ประเมินผลอย่างสม่าเสมอเพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงและการ
ปรับปรุง โดยความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นที่ได้ รับผลกระทบ การวิเคราะห์
การมีนวัตกรรม และการแบ่งปั นสารสนเทศและความรู้ ส่งผลให้ การทางาน
ข้ ามหน่วยงานเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีการใช้ กระบวนการและตัววัดใน
การติดตามความก้ าวหน้ าของเป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์และเป้าประสงค์ของ
การปฏิบตั ิงานที่สาคัญ
เนื้อหาเกณฑโดยย
อ
่
์
หมวด 1 การนาองค์การ
หมวด การนาองค์กร
เป็ นการตรวจประเมินว่าการกระทาโดยผู ้นา
ี้ าและทาให ้
ระดับสูงของโรงเรียน ได ้ชน
ึ ษามีความยั่งยืนอย่างไร รวมถึงตรวจ
สถานศก
ประเมินระบบธรรมาภิบาลของโรงเรียน และ
้ อ
วิธก
ี ารทีโ่ รงเรียนใชเพื
่ บรรลุผลด ้านความ
รับผิดชอบต่อสงั คม กฎหมาย และจริยธรรม
รวมทัง้ การสนับสนุนชุมชนทีส
่ าคัญ
1.1 การนาองค์กรโดยผู ้นาระดับสูง
1.2 ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสงั คม
1.1 การนาองค์กรโดยผูน
้ าระด ับสูง
จุดประสงค์
หัวข ้อนีต
้ รวจประเมินประเด็นสาคัญๆ ของความ
รับผิดชอบของผู ้นาระดับสูง รวมทัง้ วิธก
ี ารทีผ
่ ู ้นา
ั ทัศน์และค่านิยมของ
ระดับสูงกาหนดวิสย
โรงเรียน และนาค่านิยมดังกล่าวไปปฏิบต
ั ิ
หัวข ้อนีม
้ งุ่ เน ้นถึงการปฏิบต
ั ต
ิ นของผู ้นาระดับสูง
ในการสรรสร ้างให ้โรงเรียน คงไว ้ซงึ่ ผลการ
ดาเนินการทีด
่ ย
ี งิ่ ขึน
้ โดยมุง่ เน ้นทีผ
่ ู ้เรียนและผู ้มี
ี
สว่ นได ้สว่ นเสย
คาถามในการประเมิน1.1
ั ัศน์ ค่านิยม โดยผูน
• การกาหนดวิสยท
้ าระด ับสูงของ
องค์กร และกระบวนการถ่ายทอดเพือ
่ ให้บค
ุ ลากรทงั้
ภายในและภายนอกทีเ่ กีย
่ วข้องได้เข้าใจ และนาไป
ปฏิบ ัติ
่ เสริมให้เกิดจริยธรรม
• การสร้างบรรยากาศของการสง
และการปฏิบ ัติตามกฎหมาย
• ผูน
้ าระด ับสูงสร้างให้เกิดความยงยื
่ ั น เกิดการปร ับปรุง
ผลการดาเนินการ บรรลุพ ันธกิจและว ัตถุประสงค์
เชงิ กลยุทธ์และเกิดนว ัตกรรม
ื่ สาร และสร้างความผูกพ ันก ับบุคลากรทุกระด ับ
• การสอ
เพือ
่ กระตุน
้ ให้เกิดสมรรถนะสูง
• ผูน
้ าระด ับสูงขององค์กรมุง
่ เน้นให้เกิดการลงมือทา
เพือ
่ บรรลุว ัตถุประสงค์ ปร ับปรุงผลการดาเนินการ
ั ัศน์ของโรงเรียน
และบรรลุวส
ิ ยท
1.2 ธรรมาภิบาลและความ
ั
ร ับผิดชอบต่อสงคม
จุดประสงค์
หัวข ้อนี้ ตรวจประเมินประเด็นสาคัญๆ ในระบบ
ธรรมาภิบาล โดยเน ้นถึงวิธก
ี ารทีโ่ รงเรียนแสดง
ความรับผิดชอบต่อสาธารณะ และทาให ้มั่นใจว่า
บุคลากรทุกคนได ้ประพฤติปฏิบต
ั ต
ิ ามกฎหมาย
และจริยธรรม และปฏิบต
ั ต
ิ นเป็ นพลเมืองดี
รวมทัง้ ทางานร่วมกับชุมชนทีส
่ าคัญอย่างมี
ิ ธิผลเพือ
ประสท
่ ขยายโอกาสการบริการสงั คม
คาถามในการประเมิน1.2
ิ ธิผลละ
1. ระบบธรรมาภิบาล และ การกาก ับดูแลทีม
่ ป
ี ระสท
่ ผลให้โรงเรียนประสบความสาเร็จในเรือ
สง
่ งต่าง ๆ ที่
สาค ัญ ทงความร
ั้
ับผิดชอบด้านการเงิน ความโปร่งใสใน
การดาเนินการ รวมถึงการค ัดเลือกคณะกรรมการ การ
่ นได้สว
่ นเสย
ี
ปกป้องผลประโยชน์ของน ักเรียนและผูม
้ ส
ี ว
2. การประเมินผลการดาเนินงานของผูบ
้ ริหารระด ับสูงของ
โรงเรียน และคณะกรรมการบริหารของโรงเรียน และใช ้
ผลการประเมินไปพ ัฒนาและปร ับปรุง
3. การคาดการณ์ลว
่ งหน้าถึงผลกระทบของการจ ัดการเรียน
การสอนทีอ
่ าจมีตอ
่ สาธารณะ และการดาเนินการในกรณีท ี่
การจ ัดการเรียนการสอน การให้บริการ และการปฏิบ ัติงาน
ั
้ ร ัพยากร
มีผลกระทบในเชงิ ลบต่อสงคม
รวมถึงการใชท
อย่างคุม
้ ค่าและร ักษาสงิ่ แวดล้อม
คาถามในการประเมิน1.2(ต่อ)
4. การสง่ เสริมและการดูแลให ้มีการประพฤติปฏิบต
ั อ
ิ ย่างมี
จริยธรรม เกิดจริยธรรมตลอดทั่วทัง้ โรงเรียน รวมทัง้ ใน
ั พันธ์กบ
ี
การปฏิสม
ั นั กเรียนและผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย
5. การพิจารณาถึงความผาสุกและประโยชน์ของสงั คมเป็ น
สว่ นหนึง่ ของยุทธศาสตร์โรงเรียน
6. การสนับสนุนและสร ้างความเข ้มแข็งให ้แก่ชม
ุ ชนที่
สาคัญต่อโรงเรียนอย่างจริงจัง
หมวด 2 การวางแผนเชงิ กลยุทธ์
เ ป็ น ก า ร ต ร ว จ ป ร ะ เ มิ น ว่ า โ ร ง เ รี ย น จั ด ท า
วัตถุประสงค์เ ชงิ กลยุทธ์ และแผนปฏิบัตก
ิ ารของ
โรงเรียนอย่างไร รวมทัง้ ตรวจประเมินการถ่ายทอด
วัตถุประสงค์เชงิ กลยุทธ์และแผนปฏิบัตก
ิ ารทีเ่ ลือก
ไว ้เพือ
่ นาไปปฏิบัต ิ การปรับเปลีย
่ นเมือ
่ สถานการณ์
บังคับ ตลอดจนวิธก
ี ารวัดผลความก ้าวหน ้า
2.1 การจัดทากลยุทธ์
่ ารปฏิบต
2.2 การนากลยุทธ์ไปสูก
ั ิ
2.1 การจ ัดทากลยุทธ์
จุดประสงค์
้
หัวข ้อนี้ตรวจประเมินวิธก
ี ารทีโ่ รงเรีย นใชใน
การก าหนดความท ้าทายและความได ้เปรีย บ
เชงิ กลยุทธ์ การจัดทากลยุทธ์ และวัตถุประสงค์
เชงิ กลยุทธ์ ทีต
่ อบสนองความท ้าทายและเพิม
่
ความได ้เปรี ย บ เพื่อ ท าให ้ผลการด าเนิน การ
โดยรวมดีขน
ึ้ ทัง้ ของโรงเรียนและผู ้เรียน รวมทัง้
ความสาเร็จของผู ้เรียนในอนาคต
คาถามในการประเมิน 2.1
1. ให้ระบุขนตอนที
ั้
ส
่ าค ัญของกระบวนการจ ัดทากลยุทธ์และ
ผูเ้ กีย
่ วข้องทีส
่ าค ัญ ตลอดจนการกาหนดความท้าทายและ
ความได้เปรียบเชงิ กลยุทธ์ และความสามารถในการระบุ
้ ได้
จุดบอดทีอ
่ าจเกิดขึน
2. โรงเรียนมีวธ
ิ ก
ี ารรวบรวมและวิเคราะห์ขอ
้ มูลทีเ่ กีย
่ วก ับ
ปัจจ ัยทีส
่ าค ัญทงภายในภายนอกมาประกอบการวางแผน
ั้
เชงิ กลยุทธ์โรงเรียน
3. ว ัตถุประสงค์เชงิ กลยุทธ์ทส
ี่ าค ัญของโรงเรียน และ
ตารางเวลาทีจ
่ ะบรรลุว ัตถุประสงค์เหล่านน
ั้
4. ว ัตถุประสงค์เชงิ กลยุทธ์ของโรงเรียนตอบสนองความท้า
ทายและความได้เปรียบเชงิ กลยุทธ์เกิดการสร้างนว ัตกรรม
ึ ษา สร้างสมดุลระหว่างความต้องการของผูม
การจ ัดการศก
้ ี
่ นได้สว
่ นเสย
ี ทีส
สว
่ าค ัญทงหมด
ั้
่ ารปฏิบ ัติ
2.2 การนากลยุทธ์ไปสูก
จุดประสงค์
้
หัวข ้อนีต
้ รวจประเมินวิธก
ี ารทีโ่ รงเรียนใชใน
ก า ร แ ป ล ง วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ ช ิ ง ก ล ยุ ท ธ์ ไ ป สู่
แผนปฏิบต
ั ก
ิ ารเพือ
่ ให ้บรรลุวัตถุประสงค์เหล่านัน
้
ร ว ม ทั ้ ง วิ ธี ก า ร ที่ โ ร ง เ รี ย น ต ร ว จ ป ร ะ เ มิ น
ความก ้าวหน ้าเทีย บกับแผนปฏิบัต ก
ิ าร เพื่อท า
ให ้มั่ น ใจว่า มีก ารน ากลยุ ท ธ์ไ ปสู่ก ารปฏิบั ต จ
ิ น
บรรลุเป้ าประสงค์
คาถามในการประเมิน 2.2
ั ันธ์ของแผน
1. การจ ัดทาแผนปฏิบ ัติการ และความสมพ
ต่อการบรรลุว ัตถุประสงค์เชงิ กลยุทธ์ทส
ี่ าค ัญของ
โรงเรียน
่ ารปฏิบ ัติทวท
2. การถ่ายทอดเพือ
่ นาไปสูก
่ ั งโรงเรี
ั้
ยน และ
่ นได้สว
่ นเสย
ี สาค ัญ เพือ
กลุม
่ ผูม
้ ส
ี ว
่ ให้บรรลุ
ว ัตถุประสงค์เชงิ กลยุทธ์ และสร้างผลล ัพธ์ทย
ี่ ง่ ั ยืน
3. มีทร ัพยากรด้านการเงินและด้านอืน
่ ๆ เพียงพอและ
พร้อมใชใ้ นการสน ับสนุนแผนปฏิบ ัติการจนประสบ
ความสาเร็จ
4. แผนด้านอ ัตรากาล ังและขีดความสามารถด้าน
ทร ัพยากรบุคคลโรงเรียน เพือ
่ สน ับสนุนแผนปฏิบ ัติ
ั้
การ และการบรรลุว ัตถุประสงค์เชงิ กลยุทธ์ทงระยะส
ั้
น
และระยะยาว
คาถามในการประเมิน 2.2 (ต่อ)
้ ด
5. ต ัวชวี้ ัดผลการดาเนินการทีส
่ าค ัญทีใ่ ชต
ิ ตาม
ความก้าวหน้าของแผนปฏิบ ัติการ
6. ความคล่องต ัวในการปร ับเปลีย
่ นแผนและถ่ายทอด
เพือ
่ นาไปปฏิบ ัติอย่างรวดเร็ว ในกรณีทส
ี่ ถานการณ์
เปลีย
่ นแปลง
ั้
7. การคาดการณ์ผลการดาเนินการทงระยะส
ั้
นและระยะ
ยาวของโรงเรียน เมือ
่ เทียบเคียงก ับค่าเทียบเคียง หรือ
โรงเรียนคูเ่ ทียบเคียง
หมวด 3 การมุง
่ เน้นลูกค้า
เป็ นการตรวจประเมินถึงวิธก
ี ารทีโ่ รงเรียนสร ้างความ
ี เพือ
ผูกพันกับผู ้เรียนและผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย
่ ความสาเร็จ
ด ้านตลาดในระยะยาว กลยุทธ์ในการสร ้างความผูกพัน
นีค
้ รอบคลุมถึงวิธก
ี ารสร ้างวัฒนธรรมทีม
่ งุ่ เน ้นผู ้เรียน
ี รวมทัง้ วิธก
และผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย
ี ารทีโ่ รงเรียนรับฟั ง
ี งของลูกค ้า” (ผู ้เรียน และผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย
ี )
“เสย
้
และใชสารสนเทศนี
เ้ พือ
่ ปรับปรุงและค ้นหาโอกาสใน
การสร ้างนวัตกรรม
ี งของลูกค ้า”
3.1 “เสย
3.2 ความผูกพันของลูกค ้า
ี งของลูกค้า”
3.1 “เสย
จุดประสงค์
หั ว ข ้อนี้ ต รวจประเมิน กระบวนการรั บ ฟั งเส ีย งของ
้ ่ อ ให ้ได ้รู ถ้ ึง ความจ าเป็ น และ
ลู ก ค ้าที่โ รงเรี ย นใช เพื
ความปรารถนาของผู เ้ รี ย น ผู ม
้ ี ส่ ว นได ้ส่ ว นเส ีย และ
ตลาดในปั จจุบันและอนาคต ทาให ้สามารถจัดหลักสูตร
ิ ธิภาพและตรงความต ้องการ
และการบริการทีม
่ ป
ี ระสท
สามารถเข ้าใจความต ้องการ ความจ าเป็ นและความ
คาดหวั ง ใหม่ ๆ ของผู เ้ รี ย น ผู ม
้ ี ส่ ว นได ้ส่ ว นเส ีย และ
ต ล า ด ทั ้ ง ยั ง ส า ม า ร ถ ติ ด ต า ม ใ ห ท
้ ั น ต่ อ ค ว า ม
เปลี่ย นแปลงของตลาดและวิธ ีก ารส่ง มอบบริก ารด ้าน
ึ ษา
การศก
คาถามในการประเมิน 3.1
ี งของนั กเรียนและผู ้มีสว่ นได ้
1. การใชวิ้ ธก
ี ารรับฟั ง “เสย
ี ” ทีห
สว่ นเสย
่ ลากหลาย รวมทัง้ การติดตามผล เพือ
่ ให ้ได ้
ข ้อมูลทีเ่ ป็ นประโยชน์
2. การใชวิ้ ธก
ี ารรับฟั งจากกลุม
่ นั กเรียนและผู ้มีสว่ นได ้สว่ น
ี ทัง้ อดีต อนาคต และของคูแ
เสย
่ ข่ง เพือ
่ ให ้ได ้ข ้อมูลที่
เป็ นประโยชน์
3. การค ้นหาปั จจัยความพึงพอใจและความผูกพันของ
ี และนามาใชประโยชน์
้
นั กเรียนและผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย
4. การเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของนักเรียนและผู ้มี
ี กับของโรงเรียนคูแ
สว่ นได ้สว่ นเสย
่ ข่งหรือค่าเทียบเคียง
5. การค ้นหาปั จจัยความไม่พงึ พอใจของนักเรียนและผู ้มี
ี และนามาใชประโยชน์
้
สว่ นได ้สว่ นเสย
3.2 ความผูกพ ันของลูกค้า
จุดประสงค์
หั ว ข อ
้ นี้ ต รวจประเมิ น กระบวนการค น
้ หาและส ร า้ ง
นวั ต กรรมให ้กั บ หลั ก สูต ร บริก ารที่ส่ ง เสริม การเรี ย นรู ้ และ
ึ ษาอืน
บริการการศก
่ ๆ เพือ
่ ตอบสนองต่อผู ้เรียนและผู ้มีสว่ นได ้
ี รวมทัง้ กลไกหลักเพื่อส่งเสริมให ้ผู ้เรียนและผู ้มีส่วน
สว่ นเสย
้ ก ารด ้านหลั ก สูต ร บริก ารที่ส่ง เสริม การ
ได ้ส่ว นเส ีย มาใช บริ
ึ ษาอืน
เรียนรู ้ และบริการการศก
่ ๆ และสร ้างวัฒนธรรมทีม
่ งุ่ เน ้น
ผู เ้ รี ย นและผู ม
้ ี ส่ ว นได ส
้ ่ ว นเส ี ย ในหมู่ ผู ป
้ ฏิ บั ต ิ ง าน โดยมี
เป้ าหมายในการสร ้างความสัม พั น ธ์กับผู ้เรีย นและผู ้มีส่วนได ้
ี และเพิม
สว่ นเสย
่ พูนความผูกพันกับโรงเรียน
คาถามในการประเมิน 3.2
ี และ
1. การค้นหาความต้องการของน ักเรียน ผูม
้ ส
ี ว่ นได้สว่ นเสย
ตลาด เพือ
่ กาหนดและสร้างนว ัตกรรมด้านหล ักสูตร บริการ และ
่ เสริมการเรียนรู ้
การสง
้ ริการและ
่ เสริมให้น ักเรียนและผูม
ี มาใชบ
2. การสง
้ ส
ี ว่ นได้สว่ นเสย
ข้อมูลข่าวสาร รวมทงการให้
ั้
ขอ
้ มูลป้อนกล ับเพือ
่ นามาปร ับปรุง
้ ารสนเทศทีเ่ กีย
ี
3. การใชส
่ วข้องก ับน ักเรียนและผูม
้ ส
ี ว่ นได้สว่ นเสย
ตลาด และหล ักสูตร เพือ
่ นามากาหนดกลุม
่ ผูเ้ รียนทงปั
ั้ จจุบ ัน
และอนาคต
้ ารสนเทศทีเ่ กีย
ี
4. การใชส
่ วข้องก ับน ักเรียนและผูม
้ ส
ี ว่ นได้สว่ นเสย
ตลาด และหล ักสูตร เพือ
่ ปร ับปรุงการตลาด มุง
่ เน้นผูเ้ รียน และ
สร้างนว ัตกรรม
ั ันธ์ก ับน ักเรียนและผูม
5. การสร้างและจ ัดการความสมพ
้ ส
ี ว่ นได้
ี เพือ
สว่ นเสย
่ ตอบสนองความต้องการและความคาดหว ังตลอด
วงจรชวี ต
ิ
ี
6. การจ ัดการข้อร้องเรียนของน ักเรียนและผูม
้ ส
ี ว่ นได้สว่ นเสย
ิ ธิผล
อย่างมีประสท
หมวด 4 การว ัดผล การวิเคราะห์ และ
การจ ัดการความรู ้
เป็ นการตรวจประเมินว่าโรงเรียนเลือก รวบรวม
วิเคราะห์ จัดการ และปรับปรุงข ้อมูล สารสนเทศ และ
ิ ทรัพย์เชงิ ความรู ้อย่างไร มีการบริหารจัดการ
สน
เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างไร และมีการทบทวนและ
้
ใชผลการทบทวนในการปรั
บปรุงผลการดาเนินการ
อย่างไร
4.1 การวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงผลการดาเนินการ
ขององค์กร
4.2 การจัดการสารสนเทศ ความรู ้ และเทคโนโลยี
สารสนเทศ
4.1 การว ัด วิเคราะห์ และปร ับปรุง
ผลการดาเนินการขององค์กร
จุดประสงค์
้
หัวข ้อนี้ตรวจประเมินวิธก
ี ารทีโ่ รงเรียนใชในการเลื
อก จัดการ
และใช ข้ ้อมูล และสารสนเทศส าหรั บ การวั ด ผลการด าเนิน การ
การวิเคราะห์ และการทบทวนเพือ
่ สนั บสนุนการวางแผนและการ
ปรับปรุงการดาเนินการของโรงเรียน การวัดผลการดาเนินการและ
ระบบการจั ด การอย่ า งมีบู ร ณาการจะต อ้ งมีศู น ย์ก ลางในการ
รวบรวมและวิเ คราะห์ข ้อมู ล สารสนเทศโดยอาศั ย ข ้อมู ล และ
สารสนเทศด ้านการเรียนรู ้ของผู ้เรียนและด ้านอืน
่ ๆ
จุ ด ประสงค์ ข องการวั ด ผลการด าเนิ น การ การวิเ คราะห์
โรงเรียนให ้บรรลุผลลัพธ์ขององค์กรและวัตถุประสงค์เชงิ กลยุทธ์
ที่ ส า คั ญ ร ว ม ทั ้ ง เ พื่ อ ค า ด ก า ร ณ์ แ ล ะ ต อ บ ส น อ ง ต่ อ ก า ร
เปลี่ย นแปลงที่ร วดเร็ ว หรือ ไม่ไ ด ้คาดคิด ภายในหรือ ภายนอก
โรงเรียน รวมถึงเพือ
่ ระบุวธิ ป
ี ฏิบต
ั ท
ิ เี่ ป็ นเลิศทีอ
่ าจนามาแบ่งปั น
คาถามในการประเมิน 4.1
1. การเลือก รวบรวมข ้อมูลและสารสนเทศ ทีส
่ อดคล ้อง
และบูรณาการเพือ
่ ใชติ้ ดตามการปฏิบต
ั ก
ิ ารประจาวัน
และผลการดาเนินการโดยรวมของโรงเรียน รวมทัง้
สารสนเทศเชงิ เปรียบเทียบ
2. การใชข้ ้อมูลและสารสนเทศของผู ้เรียนและผู ้มีสว่ นได ้
ี เพือ
สว่ นเสย
่ การปรับปรุงและการสร ้างนวัตกรรมอย่างมี
ิ ธิผล
ประสท
้
3. การใชผลการวิ
เคราะห์ตวั วัดต่าง ๆ เพือ
่ นามาประเมิน
ความสาเร็จของโรงเรียนในด ้านต่าง ๆ
4. การแลกเปลีย
่ นเรียนรู ้วิธป
ี ฏิบต
ั ท
ิ ด
ี่ เี ลิศ
้
5. การใชผลการทบทวนเพื
อ
่ การวางแผนการปรับปรุง
อย่างต่อเนือ
่ งและเพือ
่ เป็ นโอกาสในการสร ้างนวัตกรรม
4.2 การจ ัดการสารสนเทศ ความรู ้
และเทคโนโลยีสารสนเทศ
จุดประสงค์
หั ว ข ้อนี้ ต รวจประเมิน วิธ ีก ารที่โ รงเรี ย นท าให ้
มั่ น ใ จ ว่ า มี ข อ
้ มู ล ส า ร ส น เ ท ศ ซ อ ฟ แ ว ร์ แ ล ะ
ฮาร์ดแวร์ทจ
ี่ าเป็ น มีคุณภาพ และมีความพร อ
้ มใช ้
ี
งานสาหรับผู ้ปฏิบัตงิ าน ผู ้เรียน ผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย
ผู ้ส่ง มอบ และคู่ค วามร่ว มมือ ทั ง้ ในภาวะปกติแ ละ
ภาวะฉุ ก เฉิน นอกจากนี้ ยั ง ตรวจประเมิน วิธ ีก ารที่
้
ิ ทรั พ ย์เ ช งิ
โรงเรีย นใช ในการสร
้างและจั ด การส น
ิ ธิภาพ ประสท
ิ ธิผล และ
ความรู ้ เพือ
่ ปรับปรุงประสท
กระตุ ้นให ้เกิดนวัตกรรม
คาถามในการประเมิน 4.2
1. การบริหารจัดการด ้านข ้อมูล สารสนเทศ และ
ิ ธิภาพ ถูกต ้อง ปลอดภัย และ
ความรู ้ทีม
่ ป
ี ระสท
ื่ ถือได ้
เชอ
้
2. ความพร ้อมใชงานแก่
ทก
ุ กลุม
่ ทัง้ บุคลากรภายใน
ี และพันธมิตรตามที่
ผู ้เรียน ผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย
ต ้องการ
้ ด
3. การจัดการความรู ้และการถ่ายทอดเพือ
่ ใชเกิ
้
ประโยชน์แก่กลุม
่ ต่าง ๆ รวมทัง้ การนาไปใชใน
การสร ้างนวัตกรรมและการวางแผนกลยุทธ์
หมวด 5 การมุง
่ เน้นผูป
้ ฏิบ ัติงาน
เป็ นการตรวจประเมินว่าโรงเรียนมีวธิ ก
ี ารอย่างไรใน
การผู ก ใจ จั ด การ และพั ฒ นาผู ป
้ ฏิบั ต ิง านเพื่ อ น า
้ างเต็มที่ โดยสอดคล ้อง
ศักยภาพของพวกเขามาใชอย่
ไ ป ใ น ทิ ศ ท า ง เ ดี ย ว กั น กั บ พั น ธ กิ จ ก ล ยุ ท ธ์ แ ล ะ
แผน ปฏิ บั ต ิ ก ารโดยรวมของโรงเรี ย น หมวดนี้ ใ ห ้
พิจ ารณาความสามารถของโรงเรีย นในการประเมิน
ความต ้องการด ้านขีด ความสามารถ และอั ต ราก าลั ง
และในการสร ้างสภาพแวดล ้อมการทางานเพือ
่ นาไปสู่
ผลการดาเนินการทีด
่ ี
5.1 สภาพแวดล ้อมในการทางาน
5.2 การผูกใจผู ้ปฏิบต
ั งิ าน
5.1 สภาพแวดล้อมในการทางาน
จุดประสงค์
หั ว ข อ
้ นี้ ต ร ว จ ป ร ะ เ มิ น ส ภ า พ แ ว ด ล ้อ ม ด า้ น
ผู ้ปฏิบต
ั งิ านของโรงเรียน ความต ้องการด ้านอัตรากาลัง
แ ล ะ ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ผู ป
้ ฏิ บั ติ ง า น วิ ธ ี ก า ร
ตอบสนองความต อ
้ งการทั ้ง หลายเพื่ อ ให ง้ านของ
โ ร ง เรี ย น บ ร ร ลุ ผ ล ร ว ม ทั ้ ง ต ร ว จ ป ร ะ เ มิ น วิ ธ ี ก า ร ที่
ึ ษาทาให ้มั่นใจว่ามีบรรยากาศในการทางานที่
สถานศก
ปลอดภัยและสนั บสนุนการทางาน วัตถุประสงค์เพื่อให ้
เกิดสภาพแวดล ้อมทีส
่ นั บสนุ นผู ้ปฏิบัตงิ าน และสง่ ผล
ให ้การทางานบรรลุความสาเร็จ
คาถามในการประเมิน 5.1
1. การประเมินความต ้องการด ้านขีดความสามารถ
แ ล ะ อั ต ร า ก า ลั ง บุ ค ล า ก ร ร ว ม ทั ้ ง ทั ก ษ ะ
สมรรถนะ และกาลังคนทีม
่ อ
ี ยู่
2. การสรรหา บรรจุ และรักษาบุคลากรใหม่ไว ้
3. การจั ด โครงสร ้างและบริห ารบุ ค ลากรอย่ า งมี
ิ ธิผล และตอบสนองต่อแผนปฏิบต
ประสท
ั ก
ิ าร
4. การจัดการด ้านสภาพแวดล ้อมในการทางานให ้
มีสวัสดิภาพ และสุขอนามัยทีด
่ ี
5. การบริหารและสนับสนุนด ้านนโยบาย สวัสดิการ
ิ ธิประโยชน์
และสท
5.1 การผูกใจผูป
้ ฏิบ ัติงาน
จุดประสงค์
หั ว ข ้อนี้ ต รวจประเมิน ระบบของโรงเรีย นใน
เรือ
่ งการผูกใจ การพัฒนา และการประเมินความ
ผูกพันของผู ้ปฏิบัตงิ าน เพือ
่ เกือ
้ หนุนและกระตุ ้น
ให ้ผู ้ปฏิบัตงิ านทุกคนปฏิบัตงิ านให ้โรงเรียนได ้
ิ ธิผลและเต็มความสามารถ โดยมี
อย่างมีประสท
วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ สนั บสนุ น ความส าเร็ จ ของ
ผู ้เรีย นและผลการด าเนิน การที่ด ีข องโรงเรี ย น
ี่ วชาญหลัก ของโรงเรีย นมาใช ้
เพื่อ นาความเชย
และเพื่ อ ส่ ง เสริม ให ้บรรลุ แ ผนปฏิบั ต ิก ารและ
ความยั่งยืน
คาถามในการประเมิน 5.2
1. การกาหนดองค์ประกอบสาคัญทีส
่ ง่ ผลต่อความผูกพัน และความ
พึงพอใจของบุคลากรต่างกลุม
่ ในโรงเรียน
ื่ สารที่
2. การเสริมสร ้างวัฒนธรรมองค์กรให ้เกิดความผูกพัน มีการสอ
ดี และมีการทางานทีม
่ ส
ี มรรถนะสูง
3. ระบบการจั ด การผลการปฏิบัต งิ านของบุค ลากรที่เ หมาะสมและ
สนั บ สนุ น ให ้มีก ารท างานที่ใ ห ้ผลการด าเนิน การที่ด ีแ ละค วาม
ผูกพันของบุคลากร
ื่ มโยงกั บ
4. การน าผลการประเมิน ความผูก พั น ของบุค ลากรมาเช อ
ผลลัพธ์ทส
ี่ าคัญของโรงเรียน เพือ
่ ระบุโอกาสในการปรับปรุงความ
ผูกพันของบุคลากรและผลลัพธ์
5. ระบบการเรี ย นรู แ
้ ละการพั ฒ นาส าหรั บ บุ ค ลากรและผู น
้ าของ
โรงเรีย นที่ต อบโจทย์ข องโรงเรีย นในด ้านต่า ง ๆ ตลอดจนการ
ิ ธิผลของการเรียนรู ้
ประเมินประสท
6. การจั ด การความก ้าวหน า้ ในอาช ีพ การงานของบุ ค ลากรทั่ ว ทั ง้
ิ ธิผล
องค์กรอย่างมีประสท
หมวด 6 การมุง
่ เน้นการปฏิบ ัติการ
เป็ นการตรวจประเมิน ว่าโรงเรีย นมีวธ
ิ ีก ารออกแบบ
ระบบงานอย่ า งไร รวมทั ้ง วิ ธ ี ก ารในการออกแบบ
จั ด การ และปรั บ ปรุ ง กระบวนการที่ ส าคั ญ เพื่ อ น า
ระบบงานดังกล่าวไปสร ้างคุณค่าให ้ผู ้เรียนและผู ้มีสว่ น
ี ทาให ้โรงเรียนประสบความสาเร็จและยัง่ ยืน
ได ้สว่ นเสย
รวมทั ง้ อธิบ ายถึง การเตรีย มความพร ้อมส าหรั บ ภาวะ
ฉุกเฉิน
6.1 ระบบงาน
6.2 กระบวนการทางาน
6.1 ระบบงาน
จุดประสงค์
หั ว ข อ
้ นี้ ต รวจประเมิ น ว่ า ระบบงาน ความ
เ ช ี่ ย ว ช า ญ ห ลั ก แ ล ะ ก า ร ตั ด ส ิ น ใ จ เ กี่ ย ว กั บ
กระบวนการท างานของโรงเรี ย น เพื่ อ สร า้ ง
ี ทีส
คุณค่าให ้ผู ้เรียน และผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย
่ าคัญ
และการปรั บ ปรุ ง ประส ิท ธิผ ลการศ ึก ษาของ
โรงเรียน การเตรียมพร ้อมสาหรับภาวะฉุ กเฉินที่
อาจเกิด ขึน
้ รวมทั ง้ บรรลุค วามส าเร็ จ และความ
ยั่งยืนของโรงเรียน
คาถามในการประเมิน 6.1
1. การออกแบบและสร ้างนวัตกรรมด ้านระบบงานโดยรวมของ
้
องค์กรได ้ใชประโยชน์
จากสมรรถนะหลักขององค์กร
2. การใชข้ ้อมูลจากลูกค ้า ผู ้สง่ มอบ พั นธมิตร และผู ้ให ้ความ
ร่วมมือมาเพือ
่ เป็ นข ้อกาหนดในการออกแบบระบบงานต่า งๆ
ของโรงเรียน
3. การจั ดการและปรั บปรุงระบบงานของโรงเรียนเพื่อส่งมอบ
ี และทาให ้โรงเรียน
คุณค่าแก่ผู ้เรียนและผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย
ประสบความส าเร็ จ และยั่ ง ยืน ตลอดจนการควบคุม ต ้นทุน
ต่างๆ
4. การเตรีย มพร ้อมของสถานที่ท างานเพื่อ รั บ มือ ต่อ ภั ย พิบั ต ิ
่ ภาพเดิมและเพือ
หรือภาวะฉุ กเฉิน การกู ้คืนสูส
่ ให ้ระบบงาน
สามารถดาเนินการได ้อย่างต่อเนือ
่ ง
6.2 กระบวนการทางาน
จุดประสงค์
หัวข ้อนีต
้ รวจประเมินการออกแบบ การจัดการ
และปรั บ ปรุ ง กระบวนการท างานที่ส าคั ญ เพือ
่
ี
สร ้างคุณค่าให ้แก่ผู ้เรียน และผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย
รวมทัง้ ทาให ้โรงเรียนบรรลุผลสาเร็จและมีความ
ยั่งยืน
คาถามในการประเมิน 6.2
1. การออกแบบและสร ้างนวั ต กรรมของกระบวนการท างาน
รวมทั ง้ การพิจ ารณาการน าเทคโนโลยีใ หม่ ๆ ความรู ้ของ
องค์ ก ร การมุ่ ง สู่ ค วามเป็ นเลิ ศ ของผู เ้ รี ย น ปั จจั ย ด า้ น
ิ ธิภาพและประสท
ิ ธิผลมาใช ้
ประสท
2. การบริห าร ติด ตาม ควบคุม การปฏิบั ต งิ านประจ าวั น ของ
กระบวนการผ่านตัววัดหรือตัวชวี้ ัดผลการดาเนินการทีส
่ าคัญ
เพือ
่ บรรลุผลในภาพรวม
่ ป
3. การจัดการห่วงโซอ
ุ ทาน และผู ้สง่ มอบทีโ่ รงเรียนเลือกว่ามี
คุณสมบัตแ
ิ ละพร ้อมทีจ
่ ะชว่ ยยกระดับผลการดาเนินการของ
โรงเรียนและความพึง พอใจของผู ้เรียนและผู ้มีส่วนได ้ส่ว น
ี
เสย
4. การปรับปรุงกระบวนการทางานเพือ
่ สง่ ผลต่อการเรียนรู ้ของ
ผู ้เรียน ตลอดจนหลักสูตรและบริการสนับสนุนให ้ดีขน
ึ้
104
หมวด 7 ผลล ัพธ์
เป็ นการตรวจประเมิน ผลการด าเนิน การและ
การปรับปรุงในด ้านทีส
่ าคัญทุกด ้านของโรงเรียน
ได ้แก่ ผลลั พ ธ์ด ้านการเรีย นรู ้ของผู ้เรีย น และ
กระบวนการ ผลลัพธ์ด ้านการมุง่ เน ้นผู ้เรียนและผู ้
มี ส่ ว น ไ ด ส
้ ่ ว น เ ส ี ย ผ ล ลั พ ธ์ ด า้ น ก า ร มุ่ ง เ น น
้
บุ ค ลากร ผลลั พ ธ์ด ้านการน าองค์ก รและการ
ก ากับ ดูแ ล และผลลั พ ธ์ด ้านการเงิน และตลาด
ระดับผลการดาเนินการควรมีการเปรียบเทียบกับ
ึ ษาอืน
ึ ษา
คู่แ ข่ง และสถาบัน การศ ก
่ ที่จั ด การศก
และให ้บริการในลักษณะเดียวกัน
หมวด 7 ผลล ัพธ์
7.1 ผลลัพธ์ด ้านการเรียนรู ้ของผู ้เรียน และ
กระบวนการ
7.2 ผลลัพธ์ด ้านการมุง่ เน ้นลูกค ้า
7.3 ผลลัพธ์ด ้านการมุง่ เน ้นผู ้ปฏิบัตงิ าน
7.4 ผลลัพธ์ด ้านการนาองค์กรและการกากับดูแล
7.5 ผลลัพธ์ด ้านงบประมาณ การเงิน และตลาด
Customerfocused
outcomes
• ความพึง
พอใจ
• ความผูกพัน
Learning and
Process
outcomes
• ผลสั มฤทธิก์ าร
เรียนรู้
• ประสิ ทธิผล
ระบบงานและ
กระบวนการ
• แผนงานและ
Workforcefocused
outcomes
•
•
•
•
สมรรถนะ
บรรยากาศ
ความผูกพัน
ชือ
่ เสี ยง
Organizati
on Results
Leadership and
Governance and
Societal
Responsibility
Results
•
•
•
•
•
การสื่ อสาร
การกากับดูแล
กฎหมาย
จริยธรรม
ชุมชนสั งคม
Budget,
Financial and
Market
outcomes
• งบประมาณ
• การเงินและ
รายได้
• ตลาด
ปฏิบ ัติการ 3
1. ให ้อภิป รายแลกเปลี่ย นความคิด เห็ น ในกลุ่ม ว่า
ตัวชวี้ ัดผลลัพธ์ทม
ี่ อ
ี ยู่ในแต่ละหัวข ้อมีอะไรบ ้าง
้ อ
ตัวชวี้ ัดดังกล่าวสามารถใชเพื
่ การตัง้ เป้ าหมาย
และปรับปรุงระบบงาน เพือ
่ มุ่งเน ้นความเป็ นเลิศ
ได ้หรือไม่
2. ให ้กลุม
่ เสนอตัวชวี้ ด
ั ทีเ่ หมาะสมมากลุม
่ ละ 5 ตัว
ให้เวลา 30 นาที
เขียนลงบน Flip Chart
แหล่งข้อมูล
• http://www.baldrige21.com/Baldrige%20Winners%20
Application%20Summaries.htm
• http://www.quality.nist.gov/Contacts_Profiles.htm
• http://www.edutopia.org/
• http://www.cimt.plymouth.ac.uk/menus/resources.ht
m
• http://www.montgomeryschoolsmd.org/uploadedFiles/
info/baldrige/homepage/Baldrige-Pursuit-ofExcellence.pdf
• http://www.montgomeryschoolsmd.org/info/baldrige/s
taff/addresources.shtm#secondary
• “เรียนจากแชมป์ เพือ
่ เป็นแชมป์” สาหรับองค์กรด ้าน
ึ ษา โดย นพ. สท
ิ ธิศก
ั ดิ์ พฤกษ์ ปิตก
การศก
ิ ล
ุ
WHAT’s NEXT?
สงิ่ ทีโ่ รงเรียนต้องไปดาเนินการต่อ
1. จัดตัง้ ทีมงานทีร่ ับผิดชอบโครงการ
2. ตัง้ เป้ าหมายในการดาเนินการ
3. กรอกแบบฟอร์ม โครงร่ า งองค์ก รให ้
ครบถ ้วน
4. เตรี ย มพร อ
้ มเพื่ อ การด าเนิ น การใน
ขัน
้ ตอนต่อไป
111
คาถาม