การเตรียมความพร้อม รับการ

Download Report

Transcript การเตรียมความพร้อม รับการ

การประเมินผลนักเรียนนานาชาติ หรือ Program for
International Student Assessment: PISA ปี 2012 ประเทศไทย
อยูใ่ นระดับ 50 จาก 65 ประเทศ ในด้ านการอ่าน ด้ านวิทยาศาสตร์ และ
คณิตศาสตร์ ซึง่ สอดคล้ องกับผลการศึกษาแนวโน้ มการจัดการศึกษา
คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ระดับนานาขาติ หรื อ Trends in
International Mathematics and Science Study: TIMSS ที่ประเทศไทย
อยูใ่ นระดับต่า
World Economic Forum: WEF จัดอันดับคุณภาพการศึกษาไทย
ระดับการศึกษาขันพื
้ ้นฐาน อยู่ในอันดับ 8 ของอาเซียน
2
International Institute for Management Development: IMD
ได้ จดั อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ปี 2013
พบว่า ด้ านการศึกษาของประเทศไทยอยูใ่ นระดับที่ 51 จาก 60
ประเทศ
ประการแรก เรื่ องนโยบายที่ขาดความต่อเนื่องเพราะการปรับเปลี่ยน
รัฐมนตรี และผู้บริหารบ่อยๆ
ประการที่สอง เรื่ องการควบคุมเชิงปริมาณ จานวนโรงเรี ยนของ
การศึกษาขันพื
้ ้นฐานสามหมื่นกว่าแห่ง พบว่าเกือบครึ่งเป็ นโรงเรี ยนขนาด
เล็ก แสดงให้ เห็นว่าประเทศยังขาดระบบการบริหารจัดการที่มีคณ
ุ ภาพ
ประการที่สาม เรื่ องการกากับเชิงคุณภาพ ปั จจุบนั มีการกระจายอานาจ
ทางการศึกษามากขึ ้น แต่ระบบการควบคุมและกากับดูแลคุณภาพจาก
หน่วยงานต้ นสังกัดยังมีประสิทธิภาพไม่เพียงพอ
3
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
เครื อข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อการพัฒนาทักษะสาหรับ
ศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) ได้ กาหนด
ทักษะสาหรับการเรี ยนรู้สาหรับผู้เรี ยนในระบบเศรษฐกิจโลกใหม่
ดังนี ้
4
สาระวิชาหลัก ได้ แก่ ภาษา ศิลปะ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การ
ปกครองและความเป็ นพลเมืองที่ดี สถานศึกษาต้ องส่งเสริมความเข้ าใจ
เนื ้อหาวิชาการให้ อยูใ่ นระดับสูง โดยสอดแทรกทักษะต่อไปนี ้เข้ าในทุกวิชา
หลัก
• ความรู้เรื่ องโลก (Global Awareness)
• ความรู้ด้านการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็ นผู้ประกอบการ
(Financial, Economic, Business and Entrepreneurial Literacy)
• ความรู้ด้านการเป็ นพลเมืองที่ดี (Civil Literacy)
• ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy)
• ความรู้ด้านสิง่ แวดล้ อม (Environmental Literacy)
5
ทักษะการเรี ยนรู้และนวัตกรรม เป็ นตัวกาหนดความพร้ อมของ
ผู้เรี ยนในการเข้ าสูโ่ ลกของการทางาน ซึง่ มีความซับซ้ อนเพิ่มขึ ้นใน
โลกปั จจุบนั
 ความคิดสร้ างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
 ความคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ ปัญหา (Critical Thinking
and Problem Solving)
 การสื่อสารและการร่วมมือ (Communication and Collaboration)
6
ทักษะสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ช่วยให้ สามารถเข้ าถึง
ข้ อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอย่างรวดเร็วทางด้ าน
เทคโนโลยีการศึกษา รวมถึงเป็ นการเพิ่มประสิทธิภาพการทางาน
ในสภาพแวดล้ อมที่ขบั เคลื่อนด้ วยสื่อและเทคโนโลยี
 ทักษะด้ านสารสนเทศ (Information Literacy)
 ทักษะด้ านสื่อ (Media Literacy)
 ทักษะด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information,
Communication and Technology Literacy)
7
ทักษะชีวติ และอาชีพ เป็ นทักษะความสามารถในการ
ดารงชีวิตและการทางานในสภาพแวดล้ อมที่มีความซับซ้ อน
และมีการแข่งขันสูง
• ความยืดหยุ่นและความสามารถในการปรั บตัว (Flexibility and
Adaptability)
• การริเริ่มและกากับดูแลตนเอง (Initiative and Self-Direction)
• ทักษะด้ านสังคมและทักษะข้ ามวัฒนธรรม (Social and CrossCultural Skills)
• การมีผลงานและความรั บผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (Productivity and
Accountability)
• ภาวะผู้นาและหน้ าที่รับผิดชอบ (Leadership and Responsibility)
8
สมรรถนะผู้เรียนในบริบทไทย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพื
้ ้นฐาน พ.ศ. 2551 ได้ กาหนด
มาตรฐานด้ านการเรี ยนรู้สมรรถนะสาคัญของผู้เรี ยน และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ ดังนี ้
9
1. มาตรฐานการเรียนรู้ : มุง่ พัฒนาผู้เรี ยนให้ เกิดความสมดุล
โดยคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา โดย
กาหนดให้ ผ้ เู รี ยนเรี ยนรู้ใน 8 กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ คือ
1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
8)
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สังคมศาสตร์ ศาสนาและวัฒนธรรม
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ภาษาต่างประเทศ
10
2. สมรรถนะสาคัญ: มุง่ ให้ ผ้ เู รี ยนมีสมรรถนะที่สาคัญ 5 ประการ
คือ
1)
2)
3)
4)
5)
ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ ปัญหา
ความสามารถในการใช้ ทกั ษะชีวิต
ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี
11
3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ : มุง่ พัฒนาผู้เรี ยนให้ สามารถอยู่
ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้ อย่างมีความสุข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทย
(Thai citizen) และพลเมืองโลก (Global citizen) โดยมีคณ
ุ ลักษณะ
ดังนี ้
1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
8)
รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย์
ซื่อสัตย์สจุ ริ ต
มีวินยั
ใฝ่ เรี ยนรู้
อยูอ่ ย่างพอเพียง
มุ่งมัน่ ในการทางาน
รักความเป็ นไทย และ
มีจิตสาธารณะ
12
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(องค์ กรมหาชน) มีหน้ าที่พฒั นาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก
และประเมินผลการศึกษา เพื่อให้ มีการตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษา ตามความมุ่งหมาย หลักการ และแนวการจัดการศึกษา เป้าหมาย
สูงสุดที่เป็ นผลผลิตของการจัดการศึกษาในแต่ละแห่งคือ คุณภาพผู้เรี ยนหรื อ
คุณภาพศิษย์ต้องสอดคล้ องกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก ภายใต้ บริ บท
สังคมและวัฒนธรรมไทย จึงจาเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้ องกาหนดเป้าหมายการ
พัฒนาศิษย์ให้ ชดั เจน ตังแต่
้ ระดับการศึกษาขันพื
้ ้นฐานที่จะสามารถส่งต่อไปยัง
การอาชีวศึกษา หรื อก้ าวไปสูร่ ะดับอุดมศึกษา เพื่อให้ เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทงั ้
ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริ ยธรรม และวัฒนธรรมใน
การดารงชีวิต ตามความมุ่งหมายของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ โดย
กาหนดองค์ประกอบสาคัญไว้ 3 ประการ คือ “เก่ ง ดี งาม”
13
คนที่มีคุณภาพ คือ คนเก่ ง
คุณภาพ ประกอบด้ วย ความรู้ (Knowledge) และความสามารถเฉพาะ
(Skill) ความรู้ เกิดจากสิง่ ที่ได้ ฟัง พูด อ่าน เขียน สัมผัส และประสบพบเจอ
โดยผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์ ซึง่ วัดได้ ด้วยการทดสอบ
ความสามารถเฉพาะ คือ ทักษะฝี มือที่เกิดจากการนาความรู้มาปฏิบตั ิซ ้าๆ
หลายๆ ครัง้ จนก่อเกิดความชานาญ เชี่ยวชาญ ซึง่ วัดได้ โดยการปฏิบตั ิ
14
คนที่มีคุณธรรม คือ คนดี
คุณธรรม คือ การกระทาที่เป็ นคุณ โดยขึ ้นอยูก่ บั แต่ละองค์กร สังคม หรื อ
ชุมชนที่จะกาหนด สานักงานรังรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (องค์กรมหาชน) ได้ นาเสนอคุณธรรมที่จะส่งผลให้ ทกุ คนเป็ นคน
ดีไว้ 9 ประการ ประกอบด้ วย
1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
8)
9)
วินัย
สติ
กตัญญู
เมตตา
อดทน
ซื่อสัตย์
ประหยัด
ขยัน และ
ไม่ เห็นแก่ ตัว
15
คนที่มีคุณลักษณ์ คือ คนงาม
คุณลักษณ์ หรื อลักษณะที่เป็ นคุณ คือ สิง่ ที่บง่ ชี ้คุณค่าความเป็ นมนุษย์ซงึ่
ก่อให้ เกิดความต่าง ความโดดเด่น และเพิ่มคุณค่าของบุคคล เช่น ยิ ้มแย้ ม
แจ่มใส มีมารยาท สัมมาคารวะ กาลเทศะ และอ่อนน้ อมถ่อมตน เป็ นต้ น
สิ่งเหล่านี ้เกิดจากการปลูกฝั ง อบรม บ่มเพาะอย่างต่อเนื่อง
16
กฎแห่ งคุณภาพ
กฎข้ อที่ 1: คุณภาพ = ภาพคุณ (Your Quality Your Image)
“คุณภาพ” คือ ระดับความพึงพอใจ ในการสนองต่อความต้ องการหรื อ
ความคาดหวังของบุคคล และสังคม
1) สถานศึกษา ถือเป็ นแหล่งเรี ยนรู้ เป็ นที่เติมเต็มสมรรถนะ
(Competency) ของผู้เรี ยนทังในด้
้ านความรู้ ความสามารถหรื อทักษะ
สังคมถูกจัดให้ เป็ นห้ องเรี ยนขนาดใหญ่ ที่สามารถเรี ยนได้ ตลอดเวลา
และเป็ นการเรี ยนรู้ตลอดชีวิต โดยไม่จากัดรูปแบบและวิธีการ
17
ระดับคุณภาพของสถานศึกษาจากความพร้ อมของระบบการประกัน
คุณภาพของแต่ละสถานศึกษา สามารถจาแนกคุณภาพได้ เป็ น 4 กลุม่
คือ
กลุ่มแรก คือ กลุม่ World Class เป็ นสถานศึกษาที่มีความพร้ อมและเป็ นเลิศ
ในทุกๆด้ าน สามารถผ่านเกณฑ์ขนต
ั ้ ่าได้ โดยง่าย
กลุ่มที่สอง คือ กลุม่ พร้ อมเสมอทุกเวลา เป็ นสถานศึกษาที่มีความพร้ อมรับการ
ประเมินภายนอกได้ ทกุ โอกาส
กลุ่มที่สาม คือ กลุม่ พร้ อมแต่ต้องนัดหมาย เป็ นสถานศึกษาที่ต้องการเวลาใน
การตระเตรี ยมก่อนรับการประเมิน ซึง่ สถานศึกษาส่วนใหญ่ของประเทศเป็ น
สถานศึกษาในกลุม่ นี ้
กลุ่มที่ส่ ี คือ กลุม่ ที่ไม่เคยพร้ อม เป็ นสถานศึกษาที่ขาดความรู้ความเข้ าใจระบบ
การประกันคุณภาพ และมีทศั นคติที่ไม่ถกู ต้ องต่อการประเมิน
18
2) ผู้บริหาร ต้ องมีคณ
ุ ธรรม และบริหารโดยยึดหลักธรรมาภิบาลเป็ น
สาคัญ
3) ครูอาจารย์ ถือเป็ นปั จจัยสาคัญในการที่จะทาให้ เกิดคุณภาพ ดังนัน้
สัดส่วนครูอาจารย์ตอ่ ผู้เรี ยน ต้ องมีความเหมาะสมทังในด้
้ านปริมาณ
และคุณวุฒิวิชาชีพ
4) หลักสูตร หลักสูตรที่มีคณ
ุ ภาพไม่ได้ เกิดจากค่านิยมของผู้เรี ยน หรื อ
Supply side แต่ต้องเป็ นที่ต้องการของสังคม หรื อ Demand side
5) ผู้เรียน ซึง่ เป็ นผลผลิตของการจัดการศึกษา ต้ องสาเร็จการศึกษาตาม
หลักสูตรอย่างมีคณ
ุ ภาพ คุณธรรม และคุณลักษณ์
19
กฎข้ อที่ 2: คุณภาพศิษย์ = เป้าหมายการประเมิน (Student
Focus Assessment)
ลูกศิษย์ เปรี ยบเสมือนต้ นกล้ า ที่เป็ นผลผลิตของสถานศึกษา ที่จะต้ องดูแล
ให้ เติบโตเป็ นต้ นไม้ ใหญ่ที่มีคณ
ุ ภาพ และสามารถดารงชีพอยู่ในสังคมได้
อย่างมีคณ
ุ ค่า
1. “คุณภาพศิษย์ ” หมายถึง เป้าหมายการเป็ นคนเก่ง ดี งาม ดารงชีวิตอย่างมี
คุณค่า อันจะนามาซึง่ ความสุขในชีวิต
2. “ความสุข” คือ สุขอย่างคนมีคณ
ุ ภาพชีวิตที่ดี ดาเนินชีวิตอย่างมีคณ
ุ ภาพ และมี
คุณค่าต่อสังคมอย่างแท้ จริง ซึง่ คุณภาพชีวิตที่ดีเกิดจากการพัฒนาใน 4 มิติ คือ
1) กาย หมายถึง การมีร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์
2) จิต หมายถึง จิตใจที่มีพรหมวิหารธรรม 4 คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา รวมถึง
การมีสนุ ทรี ยทางอารมณ์
3) ปั ญญา หมายถึง มีความรู้ คิด วิเคราะห์ได้ อย่างมีระบบ
4) คุณค่าสังคม หมายถึง การมีจิตสาธารณะ และบาเพ็ญตนเพื่อประโยชน์และ
ก่อให้ เกิดคุณค่าในสังคม
20
กฎข้ อที่ 3: คุณภาพศิษย์ สะท้ อน คุณภาพครู (QualityStudent Quality-Teacher)
“คุณภาพครู ” คือ ภาพสะท้ อนจากคุณภาพศิษย์ ศิษย์ที่มีคณ
ุ ภาพจึง
สะท้ อนให้ เห็นภาพของครูซงึ่ เป็ นแม่พิมพ์ในการพัฒนาศิษย์
ปั จจัยที่สง่ ผลต่อคุณภาพครู ได้ แก่
1) ครูต้องมีความใฝ่ รู้ และพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ
2) มีความมุง่ มัน่ เสียสละ ทุม่ เทกาลังความสามารถ
3) มีความรับผิดชอบทังต่
้ อตนเอง หน้ าที่ และส่วนรวม
4) มีความภาคภูมิใจในเกียรติภมู ิของอาชีพครู ต้ องครองตนเป็ นแบบอย่างที่ดี
5) มีคณ
ุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ
21
๑. ด้ านคุณภาพศิษย์
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๑ ผู้เรียนเป็ นคนดี
คาอธิบาย
ผู้เรียนดารงชีวิตอย่ างมีคุณค่ า มีนา้ ใจไมตรี มีจติ อาสา และ
มีการพัฒนาคุณธรรมด้ านต่ างๆ อาทิ วินัย สติ กตัญญู เมตตา
อดทน ซื่อสัตย์ ประหยัด ออมทรัพย์ ขยัน ไม่ เห็นแก่ ตัว ฯลฯ ผ่ าน
การทางาน ทากิจกรรม บาเพ็ญประโยชน์
23
เกณฑ์ การประเมิน
๑. ร้ อยละของผู้เรี ยนทุกชันปี
้ ที่ทางาน ทากิจกรรม บาเพ็ญประโยชน์
(นอกหลักสูตร) ไม่น้อยกว่า ๕๐ ชัว่ โมง/ปี /คน ต่อจานวนผู้เรี ยนทังหมด
้
(๒ คะแนน)
จานวนผู้เรี ยนที่ทางาน ทากิจกรรม บาเพ็ญประโยชน์
x ๑๐๐
จานวนผู้เรี ยนทังหมด
้
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๒ คะแนน
24
เกณฑ์ การประเมิน
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์ : (๓ คะแนน)
ผู้ประเมินสุม่ ตรวจผู้เรี ยนที่ปฏิบตั ิตามหลักฐานของ
สถานศึกษา เช่น สมุดบันทึกความดี เป็ นต้ น
จานวนผู้เรี ยนที่ปฏิบตั ิตามหลักฐานของสถานศึกษา
x ๑๐๐
จานวนผู้เรี ยนที่ได้ รับการสุม่ ตรวจ
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๓ คะแนน
25
เงื่อนไข: คะแนนที่ได้ ในตัวบ่งชี ้นี ้จะลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า
มีผ้ เู รี ยนทาร้ ายร่างกายผู้อื่นลักทรัพย์ ล่วงละเมิดทางเพศ เล่นการพนัน
และค้ ายาเสพติด ฯลฯ โดย ครู/อาจารย์และผู้บริหารไม่ได้ ดาเนินการแก้ ไข
และป้องกันไม่ให้ เหตุการณ์ดงั กล่าวเกิดซ ้า
26
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๒ ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถตามหลักสูตร
คาอธิบาย
ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ กี าหนดไว้ ใน
หลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
27
เกณฑ์ การประเมิน
ร้ อยละของผู้เรี ยนในระดับชัน้ ป.๖ ม.๓ และ ม.๖ ที่มีผลการทดสอบ
ระดับชาติ (O-NET) มีคา่ T-Score≥40.00 ในแต่ละกลุม่ สาระการ
เรี ยนรู้ของคะแนนรวมทุกช่วงชันที
้ ่สถานศึกษาจัดการเรี ยนการสอน
๑. กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย
๒. กลุม่ สาระการเรี ยนรู้คณิตศาสตร์
๓. กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
๔. กลุม่ สาระการเรี ยนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๕. กลุม่ สาระการเรี ยนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา
๖. กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ศิลปะ
๗. กลุม่ สาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
๘. กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ภาษาต่างประเทศ
28
จานวนผู้เรี ยนที่มีผลการทดสอบระดับชาติ ตามเกณฑ์
x ๑๐๐
จานวนผู้เรี ยนทุกช่วงชันที
้ ่สถานศึกษาจัดการเรี ยนการสอนทังหมด
้
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ๐.๖๓ คะแนน
ในแต่ละกลุม่ สาระการเรี ยนรู้
เงื่อนไข:คะแนนที่ได้ ในตัวบ่งชี ้นี ้จะลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า
มีผ้ เู รี ยนระดับชัน้ ป.๓ ป.๖ และ ม.๓ อ่านและเขียนภาษาไทยไม่ได้ ตามเกณฑ์
29
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๓ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด
คาอธิบาย
ความสามารถทางความคิดเป็ นหนึ่งในทักษะที่สาคัญของ
การดารงชีวิตในสังคมปั จจุบัน ผู้เรียนจึงต้ องมีความสามารถในการ
คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดแก้ ปัญหาและคิดสร้ างสรรค์
30
เกณฑ์ การประเมิน
ร้ อยละของผู้เรี ยนระดับชัน้ ป.๖ ม.๓ และ ม.๖ ที่มีผลการทดสอบ
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดแก้ ปัญหา และคิด
สร้ างสรรค์ มีคา่ T-Score≥40.00
กรณีท่ ี ๑ มีผ้ ูเรี ยนในระดับชัน้ ป.๖ ม.๓ และ ม.๖
๑. ระดับชัน้ ป.๖ ( ๒ คะแนน)
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๒ คะแนน
๒. ระดับชัน้ ม.๓ และ ม.๖ (๓ คะแนน)
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๓ คะแนน
31
เกณฑ์ การประเมิน
กรณีท่ ี ๒ มีผ้ ูเรี ยนในระดับชัน้ ป.๖ และ ม.๓
๑. ระดับชัน้ ป.๖ ( ๒ คะแนน)
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๒ คะแนน
๒. ระดับชัน้ ม.๓ (๓ คะแนน)
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๓ คะแนน
กรณีท่ ี ๓ มีผ้ ูเรี ยนในระดับชัน้ ม.๓ และ ม.๖
๑. ระดับชัน้ ม.๓ ( ๒ คะแนน)
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๒ คะแนน
๒. ระดับชัน้ ม.๖ (๓ คะแนน)
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๓ คะแนน
32
เกณฑ์ การประเมิน
กรณีท่ ี๔ มีผ้ ูเรี ยนในระดับช่ วงชัน้ เดียว (ป.๖ หรื อ ม.๓ หรื อ ม.๖)
ระดับช่วงชันเดี
้ ยว (๕ คะแนน)
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๕ คะแนน
จานวนผู้เรี ยนที่มีผลการทดสอบความสามารถ ตามเกณฑ์
x ๑๐๐
จานวนผู้เรี ยนทังหมดทุ
้
กช่วงชันที
้ ่สถานศึกษาจัดการเรี ยนการสอน
เงื่อนไข: -----
33
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๔ ผู้เรียนมีทกั ษะชีวติ
คาอธิบาย
ผู้ เรี ยนมี ทั ก ษะในการดู แ ลสุ ขภาพ สามารถด าเนิ น
ชีวิตประจาวันอย่ างมีคุณค่ า ใฝ่ เรี ยนรู้ อยู่ร่วมกันในสังคมด้ วยการ
เสริ ม สร้ างความสั ม พั น ธ์ อั น ดี ร ะหว่ า งบุ ค คล จั ด การปั ญ หาและ
ความขั ด แย้ งต่ างๆ ได้ อย่ างเหมาะสม ปรั บ ตั ว ให้ ทั น กั บ การ
เปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้ อม ตลอดจนรู้ จักหลีกเลี่ยง
พฤติกรรมไม่ พงึ ประสงค์ ท่ สี ่ งผลกระทบต่ อตนเองและผู้อ่ ืน
34
เกณฑ์ การประเมิน
๑. ประเด็นการพิจารณา: (๒ คะแนน)
๑.๑ ร้ อยละของผู้เรี ยนที่มีน ้าหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
(๑ คะแนน)
จานวนผู้เรี ยนที่มีน ้าหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
x ๑๐๐
จานวนผู้เรี ยนทังหมด
้
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๑ คะแนน
35
เกณฑ์ การประเมิน
๑.๒ ร้ อยละของผู้เรี ยนที่เข้ าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตประเภทต่างๆ เช่น
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด รักษาดินแดน ส่งเสริมการรักษา
สิ่งแวดล้ อม เมตตาต่อสัตว์ ประหยัดพลังงาน ลดปั ญหาความขัดแย้ ง
ปรับตัวให้ เหมาะกับยุคสมัย ต่อต้ านสิง่ เสพติด ต่อต้ านคอรัปชัน่ และกิจกร
รมส่งเสริมศิลปะเพื่อมวลมนุษย์ เป็ นต้ น (๑ คะแนน)
จานวนผู้เรี ยนที่เข้ าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตประเภทต่างๆ
x ๑๐๐
จานวนผู้เรี ยนทังหมด
้
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๑ คะแนน
หมายเหตุ ๑ คน นับได้ ๑ กิจกรรมเท่านัน้
36
เกณฑ์ การประเมิน
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์ : (๓ คะแนน)
๒.๑ สุขภาพกายของผู้เรี ยน (๑ คะแนน)
ผู้ประเมินสุม่ ตรวจผู้เรี ยนที่มีผ้ เู รี ยนที่มีน ้าหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทาง
กายตามเกณฑ์ตามหลักการสุม่ ตัวอย่าง
จานวนผู้เรี ยนที่มีน ้าหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
x ๑๐๐
จานวนผู้เรี ยนที่ได้ รับการสุม่ ตรวจ
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐เท่ากับ ๑ คะแนน
37
เกณฑ์ การประเมิน
๒.๒ พัฒนาการสุขภาพของผู้เรี ยน: (๑ คะแนน)
สถานศึกษานาเสนอ รายชื่อผู้เรี ยนที่มีน ้าหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางกายไม่
เป็ นไปตามเกณฑ์ทงหมดและที
ั้
่มีพฒ
ั นาการสุขภาพกาย ผู้ประเมินสุ่มตรวจตาม
หลักการสุม่ ตัวอย่าง
จานวนผู้เรี ยนที่มีพฒ
ั นาการสุขภาพกาย
x ๑๐๐
จานวนผู้เรี ยนที่มีน ้าหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางกายไม่
เป็ นไปตามเกณฑ์ทงหมด
ั้
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๑ คะแนน
38
เกณฑ์ การประเมิน
๒.๓ ผู้ประเมินสุม่ ตรวจทักษะของผู้เรี ยนตามที่โรงเรี ยนส่งเสริม เช่น ว่ายน ้า
เล่นดนตรี มีทกั ษะการพิมพ์ เป็ นต้ น (๑ คะแนน)
จานวนผู้เรี ยนที่มีทกั ษะตามที่โรงเรี ยนส่งเสริม
จานวนผู้เรี ยนที่ได้ รับการสุม่ ตรวจ
x ๑๐๐
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๑ คะแนน
หมายเหตุ สถานศึกษาที่มีผลประเมินตามโครงการโรงเรี ยนส่งเสริมสุขภาพ
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ระดับเพชร จะได้ ๕ คะแนน
ในตัวบ่งชัน้
เงื่อนไข: ----39
๒. ด้ านคุณภาพครู /อาจารย์
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๕ ครู/อาจารย์ เป็ นคนดี มีความสามารถ
คาอธิบาย
ครู / อาจารย์ ป ฏิ บั ติ ต นตามจรรยาบรรณอย่ า งเคร่ งครั ด
สม่ าเสมอเป็ นแบบอย่ างที่ดีต่อผู้เรี ยน สามารถจัดการเรี ยนรู้ ท่ ีเน้ น
ผู้เ รี ย นเป็ นสาคัญ และส่ ง เสริ มให้ ผ้ ู เรี ยนรายบุ คคลพัฒนาตนเอง
อย่ างเต็มตามศักยภาพ
40
เกณฑ์ การประเมิน
๑. ประเด็นการพิจารณา: (๒ คะแนน)
๑.๑ มีการระบุคณ
ุ ธรรมที่โดดเด่นและมีแนวปฏิบตั ิร่วมกันที่นาไปสู่ความเป็ นคนดี
ของครู/อาจารย์
๑.๒ มีการกาหนดตัวบ่งชี ้และระดับความสาเร็ จของเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้ อยละ ๘๐
๑.๓ มีการดาเนินงานที่ชดั เจน สม่าเสมอ ต่อเนื่อง
๑.๔ มีการส่งเสริ มให้ ครู /อาจารย์ ผู้เรี ยน ผู้ปกครองประพฤติปฏิบตั ิตนเป็ นคนดีจน
เป็ นวิถีชีวิต
๑.๕ มีผลการประเมินความสาเร็ จ ไม่น้อยกว่าร้ อยละ ๘๐ ของครู/อาจารย์ที่มี
ลักษณะความดีตามที่กาหนด
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบโดยกาหนดปฏิบตั ิได้ ๕ ข้ อ เท่ากับ ๒ คะแนน
41
เกณฑ์ การประเมิน
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์ : (๓ คะแนน)
ผู้ประเมินพิจารณาพัฒนาการของคะแนน O-NET ทุกช่วงชันที
้ ่
เปิ ดสอนในแต่ละกลุม่ สาระการเรี ยนรู้ ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ
พัฒนาการของคะแนนเฉลี่ย O-NET สูงขึ ้นอย่างน้ อย ๕ กลุม่ สาระการ
เรี ยนรู้ เท่ากับ ๓ คะแนน
หมายเหตุ ๑. คะแนนเฉลี่ยของแต่ละกลุม่ สาระ การเรี ยนรู้ ที่ระดับ ๘๐-๑๐๐ คะแนน
ตลอด ๓ ปี ถือว่ามีพฒ
ั นาการ
๒. คะแนนเฉลี่ยของแต่ละกลุม่ สาระการเรี ยนรู้ที่สงู ขึ ้น ๒ ปี ใน ๓ ปี ถือว่ามี
พัฒนาการ
๓. กรณีสถานศึกษาจัดการศึกษามากกว่า ๑ ช่วงชัน้ ให้ ใช้ ค่าเฉลี่ยของแต่
ละกลุม่ สาระการเรี ยนรู้ในทุกช่วงชันที
้ ่เปิ ดสอน (จานวนช่วงชันขึ
้ ้นอยู่กบั
สถานศึกษาเปิ ดสอน)
42
เงื่อนไข: คะแนนที่ได้ ในตัวบ่งชี ้นี ้จะถูกลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า
มีครู/อาจารย์ทาผิดจรรยาบรรณ โดยผู้บริหาร/ต้ นสังกัด มิได้ ดาเนินการ
ลงโทษ
43
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๖ ครู/อาจารย์ สร้ างสรรค์ ห้องเรียน/แหล่ งเรียนรู้
คุณภาพ
คาอธิบาย
ครู / อาจารย์ น าประสบการณ์ จ ากการสอนมาสร้ างสรรค์
ห้ องเรี ยน/แหล่ งเรี ยนรู้ คุณภาพในสถานศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรี ยนให้
บรรลุ เ ป้ าหมายตามหลั ก สู ต ร โดยเน้ นความเหมาะสม สะดวก
แปลกใหม่ สอดคล้ องกับความสนใจของผู้เรี ยน ทาให้ ผ้ ูเรี ยนใฝ่ รู้
ใฝ่ เรียน และมาใช้ บริการห้ องเรียน/แหล่ งเรียนรู้นัน้ อย่ างสม่าเสมอ
44
เกณฑ์ การประเมิน
๑. ร้ อยละของห้ องเรี ยนที่สะอาด สุขลักษณะ สวยงาม (๒ คะแนน)
จานวนห้ องเรี ยน/แหล่งเรี ยนรู้คณ
ุ ภาพ
x ๑๐๐
จานวนห้ องเรี ยน/แหล่งเรี ยนรู้ทงหมด
ั้
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๒ คะแนน
45
เกณฑ์ การประเมิน
๒. ห้ องเรี ยน/แหล่งเรี ยนรู้คณ
ุ ภาพที่เป็ นต้ นแบบ อย่างน้ อย ๑ ห้ อง
(๓ คะแนน)
๒.๑ ปฏิบตั ิได้ โดยผู้เรี ยนสามารถเข้ าใช้ ได้ จริง
๒.๒ ประหยัด ด้ วยภูมิปัญญาท้ องถิ่น หรื อใช้ เทคโนโลยีอย่างคุ้มค่า
๒.๓ ประโยชน์ผ้ เู รี ยนได้ รับความรู้ และเกิดทักษะในการปฏิบตั ิงาน
๒.๔ แปลกใหม่ ประยุกต์หรื อริเริ่ม โดยความร่วมมือกับครู /อาจารย์
๒.๕ ปลอดภัยต่อตนเอง และผู้อื่น
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดให้ ปฏิบตั ิได้ ๕ ข้ อ เท่ากับ ๓ คะแนน
เงื่อนไข: คะแนนที่ได้ ในตัวบ่งชี ้นี ้จะลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า
มีห้องเรี ยน/แหล่งเรี ยนรู้คณ
ุ ภาพ มิได้ เกิดจากการคิดริ เริ่ มสร้ างสรรค์
ของครู/อาจารย์
46
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๗ ครู/อาจารย์ มีผลงานที่นาไปใช้ ประโยชน์
คาอธิบาย
ครู / อาจารย์ มี ผ ลงานจากการจั ด การความรู้ เช่ น คู่ มื อ
สื่อการสอน สิ่งประดิษฐ์ แบบจาลอง งานสร้ างสรรค์ นวัตกรรมหรื อ
งานวิจัยที่นาไปใช้ ในการปรั บปรุ ง /พัฒนาการจัดการเรี ยนการสอน
จนเกิดผลกับผู้เรียน
47
เกณฑ์ การประเมิน
๑. ประเด็นการพิจารณา:(๒ คะแนน)
ร้ อยละของครู/อาจารย์ประจาที่มีผลงาน เช่ น คู่มือการสอน
สื่อการสอน สิ่งประดิษฐ์ แบบจาลอง งานสร้ างสรรค์ นวัตกรรม
หรืองานวิจัยที่นาไปใช้ ในการจัดการเรียนการสอน ซึง่ ได้ รับการ
รับรองจากสถานศึกษา และ/หรื อหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
จานวนครู/อาจารย์ประจาที่มีผลงานที่ได้ นาไปใช้ ประโยชน์
x ๑๐๐
จานวนครู/อาจารย์ทงหมด
ั้
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๒ คะแนน
48
เกณฑ์ การประเมิน
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์ :(๓ คะแนน)
ผู้ประเมินตรวจความสอดคล้ องของผลงานกับการปฏิบตั ิจริงของ
ครู/อาจารย์
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๓ คะแนน
เงื่อนไข: คะแนนที่ได้ ในตัวบ่งชี ้นี ้จะลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า
๑. มีครู/อาจารย์ คัดลอกหรื อจ้ าง วาน ให้ ผ้ อู ่ นื ทาผลงานแทนเพือ่ ขอ
วิทยฐานะ โดยผู้บริ หารมิได้ ดาเนินการลงโทษ
๒. มีผ้ บู ริ หาร คัดลอกหรื อ จ้ าง วาน ให้ ผ้ อู ่ นื ทาผลงานแทนเพือ่ ขอ
วิทยฐานะ โดยต้ นสังกัดมิได้ ดาเนินการลงโทษ
49
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๘ ครู/อาจารย์ ได้ รับการเพิ่มพูนความรู้/
ประสบการณ์
คาอธิบาย
ครู /อาจารย์ ประจาได้ รับการเพิ่มพูนความรู้ /ประสบการณ์
เพื่อพัฒนาความรู้ /ทักษะที่สาคัญเช่ น วิธีการจัดการเรี ยนการสอน
การวั ด ประเมิ น ผล การส่ งเสริ ม ความคิ ด สร้ างสรรค์ ตลอดจน
ความรู้ ในวิชาที่สอน เพื่อให้ ทันสมัยทันโลก ฯลฯ โดยการเข้ าร่ วม
การประชุ ม วิ ช าการ /เข้ ารั บ การอบรม /ศึ ก ษาบางวิ ช า /ดู ง าน
/แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ภายในและระหว่ างสถานศึกษา ทัง้ ในและ/หรื อ
ต่ างประเทศ
50
เกณฑ์ การประเมิน
๑. แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ (๒ คะแนน)
ร้ อยละของครู/อาจารย์ประจาที่มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ระหว่ างเปิ ดภาคเรียน (นอกเวลาเรียน) อย่ างน้ อย ๕๐ชั่วโมง/ปี /คน
จานวนครู/อาจารย์ประจาที่ได้ รับการพัฒนา
x ๑๐๐
จานวนครู/อาจารย์ประจาทังหมด
้
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๒ คะแนน
51
เกณฑ์ การประเมิน
๒. เพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์ (๓ คะแนน)
ร้ อยละของครู/อาจารย์ประจาที่ได้ รับการเพิ่มพูนความรู้/
ประสบการณ์ ระหว่ างปิ ดภาคเรียนอย่ างน้ อย ๕๐ชั่วโมง/ปี /คน
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๓ คะแนน
จานวนครู/อาจารย์ประจาที่ได้ รับการเพิ่มพูนความรู้ /ประสบการณ์
ระหว่างปิ ดภาคเรี ยน
x ๑๐๐
จานวนครู/อาจารย์ทงหมด
ั้
52
หมายเหตุ การเพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์ระหว่างปิ ดภาคเรี ยน และการ
แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ของครู/อาจารย์ ระหว่างเปิ ดภาคเรี ยน (นอกเวลาเรี ยน ) ต้ อง
สอดคล้ องกับ วิชาที่สอน พร้ อม สรุปเป็ นรายงาน ที่เสนอต่อผู้บงั คับบัญชาด้ วย
เงื่อนไข: คะแนนที่ได้ ในตัวบ่งชี ้นี ้จะลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า
มีครู /อาจารย์ ละทิง้ การสอน
53
๓. ด้ านการบริหารและธรรมาภิบาลของ
สถานศึกษา
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๙ การดาเนินงานของคณะกรรมการสถานศึกษา
คาอธิบาย
คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานมีผลการดาเนิ นงาน
ตามบทบาทหน้ าที่ ซึ่งกาหนดไว้ ในระเบียบกระทรวงศึกษาธิ การว่ า
ด้ วยคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ.๒๕๔๓ โดยมุ่งเน้ น
การกาหนดนโยบาย กากับ ติดตาม และสนั บสนุ นการดาเนินงาน
ของสถานศึ ก ษา และขั บ เคลื่ อ นการด าเนิ น งาน เพื่ อ การพั ฒ นา
ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพการศึ ก ษาให้ บ รรลุ ผ ลส าเร็ จ ตามเป้ าหมายที่
กาหนด
54
เกณฑ์ การประเมิน
๑. ประเด็นการพิจารณา: (๒ คะแนน)
๑.๑ มีการกาหนดนโยบาย แนวทางการดาเนินงานให้ สอดคล้ องกับอัตลักษณ์ ผ้ ูเรียน
เอกลักษณ์ สถานศึกษา และมีผลการพิจารณาแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี ที่ทันสมัยและ
ปฏิบัตไิ ด้
๑.๒ มีผลการพิจารณาให้ ความเห็นชอบหลักสูตรที่สอดคล้ องกับความต้ องการของ
ท้ องถิ่น
๑.๓ มีการปฏิบัตงิ านตามบทบาทหน้ าที่ โดยเน้ นการกากับติดตาม และสนับสนุน
ผู้บริหารในการปฏิบตั งิ านตามแผนที่กาหนด
๑.๔ มีการบริหารจัดการประชุมที่ดี เช่ น มีการกาหนดวันประชุมตลอดปี ไม่ น้อยกว่ า
๔ ครัง้ /ปี จัดส่ งประเด็นการพิจารณาล่ วงหน้ า กากับให้ กรรมการแต่ ละคนเข้ าร่ วม
ประชุม ไม่ น้อยกว่ า ร้ อยละ ๗๐ ของจานวนครัง้ ที่จัดประชุมทัง้ ปี
๑.๕มีการนาผลประเมินตนเองของสถานศึกษา ผลประเมินภายใน (IQA) โดยต้ น
สังกัด และผลประเมินภายนอก (EQA) โดย สมศ. ไปใช้ ปรับปรุ งคุณภาพการศึกษา
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดปฏิบตั ิได้ ๕ ข้ อเท่ากับ ๒ คะแนน
55
เกณฑ์ การประเมิน
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์ : (๓ คะแนน)
ผู้ประเมินสัมภาษณ์บคุ คลต่อไปนี ้
๑. ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา (๑ คะแนน)
๒. ผู้แทนกรรมการ ๑-๒ คน (๑ คะแนน)
๓. ครู/อาจารย์ ๓ – ๔ คน (๑ คะแนน)
เงื่อนไข: คะแนนที่ได้ ในตัวบ่งชี ้นี ้จะลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า
มีการจัดทารายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา โดยไม่มีการจัด
ประชุมจริ ง
56
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๑๐ การดาเนินงานของผู้อานวยการ
คาอธิบาย
ผู้อานวยการมีผลการดาเนินงานตามแผนพัฒนาสถานศึกษา
เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทัง้ ในระยะสัน้ และระยะ
ยาวตามหลักธรรมาภิบาล มีระบบตรวจสอบการทางานตามภารกิจ
ตลอดจนมีการติดตามและประเมินผลอย่ างต่ อเนื่อง
57
เกณฑ์ การประเมิน
ผู้ประเมินตรวจหลักฐาน ในประเด็นต่ อไปนี ้ ( ๕ คะแนน)
๑. มีระบบฐานข้ อมูลสารสนเทศที่เป็ นปั จจุบัน (Regular Data
Monitoring) และตรวจสอบได้ (๑ คะแนน)
๒.ผลการประเมินการปฏิบตั ิงานตามบทบาทหน้ าที่ของผู้อานวยการ โดย
คณะกรรมการสถานศึกษา (๑ คะแนน)
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดย โดยกาหนดคะแนนเต็ม เท่ากับ ๑ คะแนน
58
เกณฑ์ การประเมิน
๓.ร้ อยละการอ่ านออกเขียนได้ ของผู้เรี ยน(ประถมศึกษา) และ/หรื อการ
อ่ านจับใจความ (มัธยมศึกษา) โดยผู้ประเมินสุม่ ทดสอบผู้เรี ยนตาม
หลักการสุ่มตัวอย่ าง (๑ คะแนน)
จานวนผู้เรี ยนที่อา่ นออกเขียนได้ ของผู้เรี ยน (ประถมศึกษา)
และ/หรื อการอ่านจับใจความ (มัธยมศึกษา)
x ๑๐๐
จานวนผู้เรี ยนที่ได้ รับการสุม่ ตรวจ
กรณีมีผ้ เู รี ยนในระดับช่ วงชัน้ เดียว
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๑ คะแนน
กรณีมีผ้ เู รี ยนในระดับ ๒ ช่ วงชัน้
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนด ร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๐.๕ คะแนนในแต่ละช่วงชัน้
(ประถมศึกษา/มัธยมศึกษา)
59
เกณฑ์ การประเมิน
๔.การนาผลการประเมินภายในและภายนอกมาพัฒนาการจัดการเรี ยน
การสอน (๑ คะแนน)
๕.ผู้ประเมินสัมภาษณ์ผ้ บู ริหารสถานศึกษาในประเด็นการปฏิบตั ิงานตาม
รายงานผลการประเมินตนเองและการนาผลการประเมินไปใช้ ใน
การพัฒนาสถานศึกษา (๑ คะแนน)
เงื่อนไข: คะแนนที่ได้ ในตัวบ่งชี ้นี ้จะลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า
๑. มีผ้ บู ริ หารสถานศึกษากระทาการทุจริ ต
๒. มีคะแนน O-NET ของทุกกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ต่ากว่ า
ค่ าเฉลี่ยระดับประเทศ
60
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๑๑ การบริหารความเสี่ยง
คาอธิบาย
สถานศึ ก ษามี ผ ลการบริ ห ารความเสี่ ย งจากกระบวนการ
ประเมินสถานการณ์ จัดลาดับความสาคัญ จัดการ ควบคุม ติดตาม
เฝ้ าระวั ง ป้ องกั น และแก้ ไ ขความเสี่ ย ง ส่ ง ผลให้ ล ดสาเหตุ แ ละ
โอกาสที่จะเกิดความเสียหายต่ อชีวิต ทรัพย์ สิน ชื่อเสียง และสังคม
61
ตัวอย่ างประเภทความเสี่ยง
๑. การ
คุ้มครอง
สิทธิ
เยาวชน
และ
รับผิดชอบ
คุณภาพ
ผู้สาเร็จ
การ
ศึกษา
๒. การคัด
กรอง ดูแล
ผู้เรียนที่เป็ น
กลุ่มเสี่ยง
และผู้ท่ มี ี
ความ
ต้ องการ
พิเศษ
๓. การออก
กลางคัน
ซึ่งมีสาเหตุ
จากปั ญหา
พฤติกรรมผู้เรี ยน
(การตัง้ ครรภ์
ก่ อนวัยอันควร
การทะเลาะ วิวาท
การพนัน การมั่วสุม
การควบคุม
อารมณ์ การเสพ
สิ่งเสพติด
และการ
ติดเกม
เป็ นต้ น)
๔. การเกิด
อุบตั ภิ ยั
ภายในและ
บริเวณรอบ
สถานศึกษา
๕. การ
กาหนด
ความเสี่ยง
อื่นตาม
บริบทของ
สถาน
ศึกษา
62
เกณฑ์ การประเมิน
๑. ประเด็นการพิจารณา: (๒ คะแนน)
๑.๑ มีการระบุและจัดอันดับความเสี่ยงภายใน/ภายนอก ทัง้ เชิง
ปริมาณ/เชิงคุณภาพ
๑.๒ มีการกาหนดกลยุทธ์ และเป้าหมายในการบริหารความเสี่ยง
๑.๓ มีการประเมินโอกาสในการเกิดเหตุการณ์ ความเสี่ยงและ
ประเมินผลกระทบของความเสี่ยงที่จะเกิดขึน้
๑.๔ มีการกาหนดวิธีการ มาตรการ กลไกการควบคุมไม่ ให้ เกิด และลด
ความเสี่ยงให้ น้อยลง
๑.๕ มีการกากับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารความเสี่ยง และรายงาน
ต่ อคณะกรรมการที่เกี่ยวข้ อง
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดปฏิบตั ิได้ ๕ ข้ อ เท่ากับ ๒ คะแนน
63
เกณฑ์ การประเมิน
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์ : (๓ คะแนน)
ผู้ประเมินตรวจหลักฐานที่แสดงผลการบริหารจัดการความเสีย่ ง
ดังต่อไปนี ้
๒.๑ สามารถควบคุมความเสี่ยงลาดับที่ ๑-๕ จากที่กาหนด (๑ คะแนน)
๒.๒ สามารถลดความเสี่ยงได้ ทุกเรื่ องจากที่กาหนด (๑ คะแนน)
๒.๓ ไม่ ปรากฏเหตุการณ์ ท่ อี ยู่นอกเหนือประเภทความเสี่ยงที่กาหนด
(๑ คะแนน)
เงื่อนไข: คะแนนที่ได้ ในตัวบ่งชี ้นี ้จะลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า
มีเหตุการณ์ ท่ ไี ม่ พงึ ประสงค์ เกิดขึน้ โดยพิจารณาจากความรุ นแรง
ความถี่ และละเลย โดยไม่ มีการแก้ ไข ป้องกัน
64
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๑๒ การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน
คาอธิบาย
สถานศึกษามีบุคลากรประจาสายสนั บสนุ น ด้ านวิชาการ/
ธุ ร การที่ไ ด้ รับการอบรมเพิ่มพูน ความรู้ ประสบการณ์ ทัง้ ในและ
ต่ างประเทศ
65
เกณฑ์ การประเมิน
๑. ประเด็นการพิจารณา: (๒ คะแนน)
๑. มีบคุ ลากรสายสนับสนุนอย่างน้ อย ๑ คน (๑ คะแนน)
๒. มีการดาเนินงานให้ บคุ ลากรสายสนับสนุนได้ รับการพัฒนา
อย่ างน้ อย ๕๐ ชั่วโมง/ปี /คน (๑ คะแนน)
66
เกณฑ์ การประเมิน
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์ : (๓ คะแนน)
ผู้ประเมินสุ่มสัมภาษณ์ บคุ ลากรสายสนับสนุนในประเด็นต่อไปนี ้
๑. มีการพัฒนา (๑ คะแนน)
๒. มีการพัฒนาตรงกับงานที่เกี่ยวข้ อง (๑ คะแนน)
๓. มีการแบ่ งเบาภาระงานธุรการของครู /อาจารย์ (๑ คะแนน)
เงื่อนไข: -----
67
๔. ด้ านความสัมพันธ์ กับชุมชน/สังคม
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๑๓ การให้ ความร่ วมมือที่ส่งผลต่ อชุมชน/สังคม
คาอธิบาย
สถานศึกษาสนับสนุนให้ ครู /อาจารย์ มีส่วนร่ วมในกิจกรรม
ของชุมชน/สังคม เพื่อก่ อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี ขึน้ ต่ อ
ชุมชน/สังคมจากความร่ วมมือระหว่ างสถานศึกษากับชุมชน/สังคม
และเกิดการถ่ ายโอนความรู้ระหว่ างสถานศึกษากับชุมชน/สังคม
68
เกณฑ์ การประเมิน
๑. ประเด็นการพิจารณา: (๒ คะแนน)
๑.๑ มีเหตุผลในการกาหนดแผนงานการนาความรู้ และประสบการณ์ เพื่อ
ประโยชน์ ต่อชุมชน/สังคม
๑.๒ มีการกาหนดตัวบ่ งชีแ้ ละระดับความสาเร็จของเป้าหมายไม่ ต่ากว่ า
ร้ อยละ ๘๐
๑.๓ มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสูก่ ารปฏิบตั ิที่ชดั เจนและต่อเนื่อง
๑.๔ การส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของผู้เกี่ยวข้ อง
๑.๕ มีผลประเมินความพึงพอใจของชุมชน/สังคมต่ อสถานศึกษาได้
คะแนนประเมินไม่ น้อยกว่ า ๘๐ จาก ๑๐๐ คะแนน
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดปฏิบตั ิได้ ๕ ข้ อ เท่ากับ ๒ คะแนน
69
เกณฑ์ การประเมิน
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์ : (๓ คะแนน)
ผู้ประเมินตรวจหลักฐานโครงการที่ประสบความสาเร็จที่สดุ อย่างน้ อย
๑ โครงการ ในประเด็นต่อไปนี ้
๒.๑ มีความต่ อเนื่องในการดาเนินงานไม่ น้อยกว่ า ๓ ปี (๑ คะแนน)
๒.๒ มีความยั่งยืน พึ่งพาตนเอง ดาเนินการได้ โดยไม่ ใช้ งบประมาณ
สถานศึกษา (๑ คะแนน)
๒.๓ มีรางวัล/ได้ รับการยอมรั บ/ยกย่ อง จากชุมชน สังคม (๑ คะแนน)
หมายเหตุ อาจเป็ นโครงการเดียวตัวบ่งชี ้ที่ ๑๔ หรื อไม่ก็ได้
เงื่อนไข: ----70
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๑๔ การให้ ความร่ วมมือกับชุมชน/สังคมที่ส่งผลต่ อ
สถานศึกษา
คาอธิบาย
สถานศึ ก ษามี ก ารน าความรู้ และประสบการณ์ ที่ เ กิ ด จาก
กิ จ กรรมความร่ วมมื อ กั บ ชุ ม ชน /สั ง คมไปพั ฒ นาการเรี ย นการ
การสอน และสถานศึกษา เพื่อเป็ นแบบอย่ างที่ดีต่อสถานศึกษาอื่น
71
เกณฑ์ การประเมิน
๑. ประเด็นการพิจารณา: (๒ คะแนน)
๑.๑ มีเหตุผลในการกาหนดแผนดาเนินการความร่ วมมือกับชุมชน/สังคม
ในด้ านต่างๆ
๑.๒ มีการกาหนดตัวบ่ งชีแ้ ละระดับความสาเร็จของเป้าหมายไม่ ต่ากว่ า
ร้ อยละ ๘๐
๑.๓ มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสูก่ ารปฏิบตั ิที่ชดั เจนและต่อเนื่อง
๑.๔ มีสว่ นร่วมของผู้เรี ยน ครู /อาจารย์และบุคลากร
๑.๕ มีการประเมินผลความพึงพอใจของบุคลากรในสถานศึกษาที่มีต่อ
ความร่ วมมือกับชุมชน/สังคม ได้ คะแนนผลประเมินไม่ น้อยกว่ า
๘๐ จาก ๑๐๐ คะแนน
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดปฏิบตั ิได้ ๕ ข้ อ เท่ากับ ๒ คะแนน
72
เกณฑ์ การประเมิน
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์ : (๓ คะแนน)
ผู้ประเมินตรวจหลักฐานโครงการที่ประสบความสาเร็จที่สดุ อย่างน้ อย ๑
โครงการ ในประเด็นต่อไปนี ้
๒.๑ มีผลการวิเคราะห์ ปัจจัยความสาเร็จ ในการร่วมมือกับชุมชน สังคม (๑
คะแนน)
๒.๒ มีการเผยแพร่ และขยายผลในสถานศึกษาอื่น อย่ างน้ อย ๙ แห่ง (๑
คะแนน)
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดปฏิบตั ิได้ อย่างน้ อย ๙ แห่งเท่ากับ ๑ คะแนน
๒.๓ มีรางวัล/ได้ รับการยอมรั บ/ยกย่ องจากชุมชน สังคม (๑ คะแนน)
หมายเหตุ อาจเป็ นโครงการเดียวตัวบ่งชี ้ที่ ๑๓ หรื อไม่ก็ได้
เงื่อนไข: ----73
๕. ด้ านการทานุบารุ งศิลปะและ
วัฒนธรรม
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๑๕ การส่ งเสริมสนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม
คาอธิบาย
ความดีความงามในมิติของศิลปะและวัฒนธรรม คือสิ่งบ่ ง
บอกถึงลักษณะเฉพาะของคนและสังคมนัน้ ๆ ซึ่งมีการสืบทอดและ
ปรับเปลี่ยนไปตามกาลเวลา สถานศึกษาจึงควรเป็ นแหล่ งให้ ความรู้
และส่ งเสริ ม สนั บ สนุ น ให้ นั ก เรี ย นเข้ า ใจ เห็ น คุ ณ ค่ า ศิ ล ปะและ
วั ฒ นธรรม โดยเป็ นส่ วนหนึ่ งของการเรี ย นการสอนและการ
ดารงชีวิต ก่ อให้ เกิดทัศนคติและพฤติกรรมที่ดีงาม
74
เกณฑ์ การประเมิน
๑. ประเด็นการพิจารณา: (๒ คะแนน)
๑.๑ มีกิจกรรมส่งเสริมให้ ผ้ เู รี ยนมีความรัก ความนิยม ความชื่นชมความ
เป็ นไทย
๑.๒ มีกิจกรรมสนับสนุนให้ ผ้ เู รี ยนมีทกั ษะฝี มือ ด้ านศิลปะและวัฒนธรรมไทย
และประเพณีที่ดีงาม
๑.๓ มีการจัดหางบประมาณหรื อทรั พยากรสนับสนุนแหล่ งเงินทุนทัง้
จากภายใน/ภายนอก
๑.๔ มีการส่งเสริมการมีส่วนร่ วมกับชุมชน
๑.๕ มีการจัดให้ สถานศึกษาเป็ นแหล่งเรี ยนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดปฏิบตั ิได้ ๕ ข้ อ เท่ากับ ๒ คะแนน
75
เกณฑ์ การประเมิน
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์ : (๓ คะแนน)
ผู้ประเมินตรวจหลักฐาน ในประเด็นดังต่อไปนี ้
๒.๑ มีการจัดพืน้ ที่เพื่อการดาเนินกิจกรรมส่ งเสริมสนับสนุนศิลปะและ
วัฒนธรรมอย่ างต่ อเนื่อง (๑ คะแนน)
๒.๒ มีความร่ วมมือของผู้เรี ยนและบุคลากรในการจัดกิจกรรม (๑
คะแนน)
๒.๓ มีรางวัล/ได้ รับการยอมรั บ/ยกย่ องจากชุมชน/สังคม (๑ คะแนน)
เงื่อนไข: คะแนนที่ได้ ในตัวบ่งชี ้นี ้จะลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า
มีการดาเนินการเฉพาะกิจเพื่อรองรั บการประเมินภายนอก
เท่ านัน้
76
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๑๖ การพัฒนาสุนทรียภาพ
คาอธิบาย
ความรู้ สึ ก ที่ ดี ง าม อั น เกิ ด จากการได้ เ ห็ น ได้ สั ม ผั ส สิ่ ง ที่ มี
คุ ณ ค่ าทางศิ ล ปะ และวั ฒ นธรรม ทั ้ง ของสากลและของไทย
จึงจาเป็ นต้ องให้ การเรี ยนรู้ ปลูกฝั งพัฒนาแก่ ผ้ ูเรี ยน เพื่อให้ เกิดการ
ชื่นชม ซึมซับ สู่ทักษะทางอารมณ์ ท่ ีสุนทรี ย์ อันเป็ นปั จจัยที่สาคัญ
ประการหนึ่ ง ของการพัฒนาผู้เ รี ยนสู่ ความเป็ นผู้ ใ หญ่ ท่ ีมีคุณภาพ
อย่ างมีรสนิยม
77
โครงการพัฒนาผู้เรี ยนและบุคลากร ให้ มีทัศนคติ และ
ค่ านิยมที่ดีต่อศิลปะและวัฒนธรรม
โครงการพัฒนาโรงเรี ยนให้ น่าอยู่ น่ าเรี ยน
โครงการสืบสานประเพณี ให้ มีส่วนร่ วมในการทานุ บารุ ง
ศิลปะและวัฒนธรรม
78
เกณฑ์ การประเมิน
๑. ประเด็นการพิจารณา: (๒ คะแนน)
๑.๑ มีกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนและบุคลากร
๑.๒ มีกิจกรรมพัฒนาโรงเรี ยน
๑.๓ มีกิจกรรมสืบสานประเพณี
๑.๔ มีกิจกรรมพบปะแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ กับชุมชน
๑.๕ มีการประมวลความรู้ ประสบการณ์ที่ได้ จากการดาเนินโครงการ และ
ผลกระทบที่มีต่อ ผู้เรี ยน สถานศึกษา หรื อชุมชน
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดปฏิบตั ิได้ ๕ ข้ อ เท่ากับ ๒ คะแนน
79
เกณฑ์ การประเมิน
๒.หลักฐานเชิงประจักษ์ :(๓ คะแนน)
ผู้ประเมินตรวจสภาพจริงในประเด็นต่อไปนี ้
๒.๑ อาคารสถานที่เป็ นระเบียบเรี ยบร้ อยเอื ้อต่อการใช้ งาน
(๑ คะแนน)
๒.๒ ภูมิสถาปั ตย์ มีความสอดคล้ องกับธรรมชาติเป็ นมิตรกับ
สิ่งแวดล้ อมอย่างเหมาะสม (๑ คะแนน)
๒.๓ สภาพแวดล้ อมสะอาด สุขลักษณะ และสวยงาม (๑ คะแนน)
เงื่อนไข: คะแนนที่ได้ ในตัวบ่งชี ้นี ้จะลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า
มีการดาเนินการเฉพาะกิจเพื่อรองรั บการประเมินภายนอกเท่ านัน้
80
๖. ด้ านอัตลักษณ์ /เอกลักษณ์
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๑๗ อัตลักษณ์ ผ้ ูเรียน
คาอธิบาย
ผู้เรี ยนมีอัตลักษณ์ ท่ ีเกิดขึน้ ตามปรั ชญา ปณิธ าน วิสัยทัศน์
พันธกิจ และวัตถุประสงค์ การจัดตัง้ สถานศึกษา
81
เกณฑ์ การประเมิน
๑. ประเด็นการพิจารณา: (๒ คะแนน)
๑.๑ มีเหตุผลในการกาหนดอัตลักษณ์ ผ้ ูเรี ยนของสถานศึกษาที่เหมาะสม
และปฏิบตั ิได้
๑.๒ มีการกาหนดตัวบ่ งชีแ้ ละระดับความสาเร็จของเป้าหมายไม่ น้อย
กว่ า ร้ อยละ ๘๐
๑.๓ มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสูก่ ารปฏิบตั ิที่ชดั เจนและต่อเนื่อง
๑.๔ มีสว่ นร่วมของผู้เรี ยน ครู /อาจารย์ บุคลากร และผู้บริหารสถานศึกษา
๑.๕ มีการประเมินผลผู้เรี ยนที่ปรากฏอัตลักษณ์ ได้ คะแนนผลประเมิน
ไม่ น้อยกว่ า ๘๐ จาก ๑๐๐ คะแนน
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดปฏิบตั ิได้ ๕ ข้ อ เท่ากับ ๒ คะแนน
82
เกณฑ์ การประเมิน
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์ :(๓ คะแนน)
ผู้ประเมินสุ่มตรวจเพื่อยืนยันอัตลักษณ์ ของผู้เรียน ตามหลักการ
สุ่มตัวอย่ าง
จานวนผู้เรี ยนที่ปรากฏอัตลักษณ์เป็ นไปตามที่สถานศึกษากาหนด
x ๑๐๐
จานวนผู้เรี ยนที่ได้ รับการสุม่ ตรวจ
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๓ คะแนน
เงื่อนไข: ----83
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๑๘ เอกลักษณ์ สถานศึกษา
คาอธิบาย
สถานศึ ก ษามี เ อกลั ก ษณ์ ที่ ส ะท้ อ นความโดดเด่ น /ความ
ชานาญ/ความเชี่ยวชาญ ตามพันธกิจ/วัตถุประสงค์ และบริ บทของ
สถานศึกษา
84
เกณฑ์ การประเมิน
๑. ประเด็นการพิจารณา: (๒ คะแนน)
๑.๑. มีเหตุผลในการกาหนดเอกลักษณ์ สถานศึกษาที่เหมาะสมและ
ปฏิบัตไิ ด้
๑.๒. มีการกาหนดตัวบ่ งชีแ้ ละระดับความสาเร็จของเป้าหมายไม่ น้อย
กว่ าร้ อยละ ๘๐
๑.๓. มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสูก่ ารปฏิบตั ิที่ชดั เจนและต่อเนื่อง
๑.๔ มีการดาเนินงานตามแผนที่กาหนด
๑.๕ มีผลการประเมินที่สะท้ อนการเปลี่ยนแปลงที่ดีขนึ ้ จากประชาคม
ได้ คะแนนผลประเมิน ไม่ น้อยกว่ า ๘๐ จาก ๑๐๐ คะแนน
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดปฏิบตั ิได้ ๕ ข้ อ เท่ากับ ๒ คะแนน
85
เกณฑ์ การประเมิน
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์ :(๓ คะแนน)
ผู้ประเมินตรวจหลักฐาน ประเด็นต่อไปนี ้
๒.๑ เป็ นแหล่งเรี ยนรู้ในการศึกษาดูงานที่เกี่ยวกับเอกลักษณ์
สถานศึกษา (๑ คะแนน)
๒.๒ มีรางวัล/ได้ รับการยอมรับ/ยกย่ องในมิตติ ่ างๆ (๑ คะแนน)
๒.๓ มีความเป็ น“ต้ นแบบ”วิธีดาเนินการสู่ความสาเร็จ และมี
การถ่ ายโอนความรู้ด้านกระบวนการสู่สถานศึกษาอื่น
(๑ คะแนน)
เงื่อนไข: ----86
๗. ด้ านมาตรการส่ งเสริม
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๑๙ มาตรการส่ งเสริม (ภายในสถานศึกษา)
คาอธิบาย
ผู้ เ รี ย น มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ แ ล ะ ทั ก ษ ะ ก า ร สื่ อ ส า ร ด้ ว ย
ภาษาอังกฤษ เพื่อให้ ทันต่ อการเปลี่ยนแปลง สามารถสื่อสารและ
สัมพันธ์ เชื่อมโยงกับนานาประเทศ
87
เกณฑ์ การประเมิน
๑.ความสามารถด้ านภาษาอังกฤษ ของผู้เรียนก่ อนสาเร็จ
การศึกษา (๒ คะแนน) พิจารณาจาก
๑. ใช้ หลักฐานแรกเข้ าและ/หรื อสาเร็จการศึกษา หรื อ
๒. ใช้ คะแนนจากคะแนนทดสอบภาษาอังกฤษของสถานศึกษา
ระดับประถมศึกษาปี ที่ ๖ ไม่ ต่ากว่ าระดับ A0 ตามมาตรฐาน CEFR
(The Common European Framework of Reference for Languages)
หรื อเทียบเท่ า
ระดับมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ไม่ ต่ากว่ าระดับ A1 ตามมาตรฐาน CEFR
หรื อเทียบเท่ า
ระดับมัธยมศึกษาปี ที่ ๖ ไม่ ต่ากว่ าระดับ A2 ตามมาตรฐาน CEFR
หรื อเทียบเท่ า
พิจารณาจากผู้ท่ ไี ด้ คะแนนในระดับต่ างๆ (A1 A2 B1 B2 C1 และ C2 )
88
กรณีท่ ี
๑
ผู้เรี ยนระดับ
ประถมศึกษาปี ที่ ๖
ร้ อยละของผู้เรี ยนที่
เข้ ารั บการทดสอบที่
ได้ คะแนนระดับ A๐
กรณีท่ ี
๒
ผู้เรี ยน
มัธยมศึกษาปี ที่ ๓
ผลรวมถ่ วงนา้ หนัก
ของผู้สอบได้ ใน
ระดับต่ างๆ
หมายเหตุ ถ้ าเศษเกิน ๑ ให้ นบั เป็ น ๑
89
กรณีท่ ี
๓
ผลรวมถ่ วงนา้ หนักของ
ผู้สอบได้ ในระดับต่ างๆ
๒
หมายเหตุ ถ้ าเศษเกิน ๒ ให้ นบั เป็ น ๒
หมายเหตุ การคิดคานวณให้ คิดตามที่สถานศึกษาจัดการเรี ยน
การสอนหากมีมากกว่ า ๑ กรณีให้ คิดค่ าเฉลี่ย
90
เกณฑ์ การประเมิน
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์ :(๓ คะแนน)
ผู้ประเมินทดสอบผู้เรียนก่ อนสาเร็จการศึกษา ตามกลุ่มตัวอย่ างที่
สถานศึกษานาเสนอตามเกณฑ์ที่กาหนด
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้ อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๓ คะแนน
เงื่อนไข: -----
91
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี ๒๐ มาตรการส่ งเสริม (ภายนอกสถานศึกษา)
คาอธิบาย
สถานศึกษามี การดาเนิ นงานในการช่ วยเหลือชุ มชนสังคม
รอบสถานศึกษา เช่ น การชีแ้ นะ ป้องกัน และ/หรื อแก้ ปัญหาสั งคม
ที่สอดคล้ องกับนโยบายภาครั ฐ สภาพเศรษฐกิจ ชุมชนสังคม และ
จังหวัด
92
เกณฑ์ การประเมิน
๑. ประเด็นการพิจารณา: (๒ คะแนน)
๑.๑ มีเหตุผลในการกาหนดความร่วมมือ และ/หรื อช่วยเหลือชุมชน สังคม
รอบสถานศึกษา
๑.๒ มีการกาหนดตัวบ่ งชีแ้ ละระดับความสาเร็จของเป้าหมายไม่ น้อย
กว่ า ร้ อยละ ๘๐
๑.๓ มีแนวปฏิบัตแิ ละกระบวนการที่ชัดเจนและต่ อเนื่อง
๑.๔ มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสูก่ ารปฏิบตั ิ และสร้ างการมีสว่ นร่ วมจาก
ผู้เกี่ยวข้ อง
๑.๕ มีผลการประเมินการแก้ ปัญหาที่มีสมั ฤทธิผลตรงตามความต้ องการ
ของชุมชน ได้ คะแนน ผลการประเมินไม่ น้อยกว่ า ๘๐ จาก ๑๐๐
คะแนน
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดปฏิบตั ิได้ ๕ ข้ อ เท่ากับ ๒ คะแนน
93
เกณฑ์ การประเมิน
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์ :(๓ คะแนน)
ผู้ประเมินตรวจหลักฐานในประเด็นดังนี ้
๒.๑ มีผลการช่วยเหลือ/ความร่วมมือกับสถานศึกษาอื่นในการพัฒนาวิชาการ
อย่างน้ อย ๙ แห่ง (๑ คะแนน)
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดปฏิบตั ิได้ อย่างน้ อย ๙ แห่ง เท่ากับ ๑ คะแนน
๒.๒ มีผลความร่วมมือกับท้ องถิ่น/ชุมชน/สังคม/จังหวัด ในการป้องกัน
แก้ ปัญหา และ/หรื อการ พัฒนาตามบริบทของพื ้นที่ อย่างน้ อย ๓
ประเด็น (๑ คะแนน)
ใช้ บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดปฏิบตั ิได้ อย่างน้ อย ๓ ประเด็น เท่ากับ ๑ คะแนน
๒.๓ มีรางวัล/ได้ รับการยอมรั บ/ยกย่ องระดับชาติ/นานาชาติ (๑ คะแนน)
หมายเหตุ ต้ องไม่ เป็ นโครงการเดียวกับตัวบ่ งชี ้ ๑๓ และ ตัวบ่ งชี ้ ๑๔
เงื่อนไข: ----
94
สรุ ปการเตรียมความพร้ อมรับการประเมินคุณภาพ
ภายนอกรอบ 4 จาก สมศ.
1. บทบาทของผู้ประเมินคุณภาพภายนอกจะเพิ่มขึ ้นในการสุม่
ตรวจหลักฐาน/ผู้เรี ยน/ผู้สอน/ผู้ปกครอง/กรรมการสถานศึกษา
และชุมชน ดังนัน้ ผู้บริ หารโรงเรี ยนต้ องเน้ นการเตรี ยม
หลักฐาน เอกสาร ตัวผู้สอน และผู้เรี ยนเพิ่มขึ ้น
2. คณะกรรมการสถานศึกษาต้ องเพิ่มบทบาทให้ ชดั เจนในการ
สนับสนุน ส่งเสริ ม การดาเนินงานทุกด้ านของโรงเรี ยนให้ เป็ น
รูปธรรม
95
3. ผู้บริ หารต้ องมุง่ เน้ นให้ ชุมชนโดยรอบโรงเรียนต้ องมีสว่ น
ร่วมในการโครงการแก้ ปัญหาที่มีผลกระทบต่อนักเรี ยนและ
โรงเรี ยนอย่างเป็ นรูปธรรม
4. เพิ่มการส่งเสริ มนักเรี ยนให้ เป็ นพลโลก (Global Citizen) ด้ วย
การสอนและการสอบภาษาอังกฤษ ด้ วยรูปแบบที่จดั ให้
นักเรี ยนได้ รับการทดสอบ โดยสานักทดสอบด้ านภาษาตาม
มาตรฐาน CEFR (The Common European Framework
of Reference for Languages) ที่กระทรวงศึกษาธิการ หรื อ
สมศ. ยอมรับ/รับรอง
96
5.
6.
7.
8.
ทังครู
้ อาจารย์และเจ้ าหน้ าที่ฝ่ายสนับสนุนทุกคน ต้ องได้ รับ
การพัฒนาฝึ กอบรมระหว่างปิ ดภาคเรี ยน ไม่น้อยกว่า ๕๐
ชัว่ โมง/ปี /คน ทังนี
้ ้ให้ ลดภาระงานธุรการของครู /อาจารย์
ครู/อาจารย์ต้องมีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ระหว่างเปิ ดภาค
เรี ยน ไม่น้อยกว่า ๕๐ ชัว่ โมง/ปี /คน
ครู/อาจารย์ต้องมีการผลิตผลงานที่นาไปใช้ ประโยชน์ในการ
เรี ยนการสอนได้ เช่น คูม่ ือการสอน สื่อการสอน ฯลฯ
เพิ่มการวางระบบบริ หารความเสี่ยงในโรงเรี ยน เพื่อลด
สาเหตุและโอกาสที่จะเกิดความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สิน
ชื่อเสียง และสังคม
97
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กร
มหาชน) 2556. คุณภาพศิษย์สะท้ อนคุณภาพครู . กรุงเทพฯ:
แม็กช์พอยท์
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กร
มหาชน) 2557. ร่างตัวบ่งชี ้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพ
ภายนอกรอบสี่ ปี 2559-2563 ระดับการศึกษาขันพื
้ ้นฐาน
98
God Bless us all.
Good Luck!
99