หลักสูตรพัฒนาการค้าอาเซียน

Download Report

Transcript หลักสูตรพัฒนาการค้าอาเซียน

หลักสูตรการพัฒนา
ยุทธศาสตร์ การค้ าอาเซียน
โครงการพัฒนาหลักสูตรการค้ าและการพัฒนาระหว่ างประเทศ
สถาบันระหว่ างประเทศเพื่อการค้ าและการพัฒนา
ITD – ASEAN Trade Strategies
1
หลักสูตรยุทธศาสตร์ การค้ าอาเซียน
• วัตถุประสงค์
– ให้ บคุ ลากรทางการค้ าและเศรษฐกิจเข้ าใจสภาพแวดล้ อมด้ านการค้ าและ
การลงทุนภายในประเทศและระหว่างประเทศที่มีผลต่อการกาหนด
ยุทธศาสตร์ การค้ าระหว่างประเทศและการค้ าชายแดน และ
– ให้ บคุ ลากรทางการค้ าและเศรษฐกิจของไทยสามารถกาหนดยุทธศาสตร์
การค้ าระหว่างประเทศและการค้ าชายแดนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
• หลักสูตรขัน้ พืน้ ฐาน 30 ชั่วโมง
– ระยะเวลาฝึ กอบรม 5 วันๆ ละ 6 ชัว่ โมง
– การเรี ยนการสอนครอบคลุมการบรรยาย 21 ชัว่ โมง และการฝึ กปฏิบตั ิการจัดทา
ยุทธศาสตร์ 9 ชัว่ โมง
2
เนือ้ หาหลัก: หลักสูตรยุทธศาสตร์ การค้ าอาเซียน
• ขอบเขตของยุทธศาสตร์ การค้ า
• การจัดทายุทธศาสตร์ การค้ าอาเซียน
• การฝึ กภาคปฏิบัติ
International Trade and Development Curriculum
3
ขอบเขตของยุทธศาสตร์ การค้ า
• วัตถุประสงค์ ของยุทธศาสตร์ การค้ า
–
–
–
–
–
สร้ างความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจการค้ าและการลงทุน
ยกระดับมาตรฐานการดารงชีวิตของประชาชน
รักษาเสถียรภาพด้ านราคา
เพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันของภาคธุรกิจ
ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมและสังคม
• ขอบเขตของยุทธศาสตร์ การค้ า
–
–
–
–
การจัดการความสัมพันธ์ทางการค้ า
การส่งเสริ มการค้ า
การกากับและอานวยความสะดวกทางการค้ า
การพัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐานเพื่อสนับสนุนการค้ า
International Trade and Development Curriculum
4
การจัดการความสัมพันธ์ ทางการค้ า
• มุง่ เน้ นการพัฒนาความสัมพันธ์ทางการค้ ากับต่างประเทศ
• มุง่ เน้ นความสัมพันธ์ในลักษณะรัฐต่อรัฐเพื่อให้ เกิดการแลกเปลี่ยนการค้ าสินค้ า บริการ และ
การลงทุนระหว่างประเทศในลักษณะทวิภาคีหรื อภูมิภาค โดยรูปแบบของการจัดการ
ความสัมพันธ์ทางการค้ าอาจทาได้ หลายลักษณะ
–
–
–
–
–
–
–
การจัดทาความตกลงการค้ าเสรี
การจัดทาข้ อตกลงการค้ าหรื อบันทึกความเข้ าใจ (MOU)
การส่งเสริ มความร่วมมือทางการค้ า
การแลกเปลี่ยนการเยือนของผู้บริ หารระดับสูงระดับประเทศ
การจัดตังคณะกรรมการธิ
้
การร่ วมระหว่างรัฐภาคี
การเข้ าร่วมเวทีการประชุมระหว่างประเทศหรื อองค์การระหว่างประเทศ
การแต่งตังผู
้ ้ ทาหน้ าที่เป็ นทูตพาณิชย์เพื่อรักษาหรื อเพิ่มระดับความสัมพันธ์ทางการค้ า
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
5
ขอบเขตด้ านการจัดการส่ งเสริมการค้ าและการลงทุน
• การส่งเสริมการค้ าระหว่างประเทศของประเทศตนกับประเทศอื่น รวมทังเป็
้ นการส่งเสริม
ให้ ผ้ ปู ระกอบการภาคเอกชนมีโอกาสทางการตลาดเพิ่มขึ ้น เช่น
–
–
–
–
–
–
–
–
–
การจัดงานแสดงสินค้ า (Trade Fairs)
Trade Mission
Business Matching
การโฆษณาประชาสัมพันธ์หรื อสร้ างภาพลักษณ์ที่ดีของสินค้ า/บริ การของประเทศตนเองในกลุม่
ตลาดเป้าหมาย
การร่วมกับห้ างสรรพสินค้ าชันน
้ าในการส่งเสริ มการแสดงและใช้ สินค้ าที่ผลิตจากประเทศตน
การให้ ความรู้แก่ผ้ ปู ระกอบการา
การจัดประกวดรางวัล
การจัดทาข้ อมูลการค้ า
การให้ เงินสนับสนุนการทาวิจยั
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
6
ขอบเขตการกากับและการอานวยความสะดวกทางการค้ า
• การกากับการค้ า (Trade Regulation) เป็ นการออกกฎระเบียบและ
มาตรการขึ ้นเพื่อกากับการค้ าให้ อยูภ่ ายใต้ วตั ถุประสงค์ของการค้ า
• การอานวยความสะดวกทางการค้ า (Trade Facilitation) หมายถึง
การพัฒนาให้ มีกฎหมายและกฎระเบียบที่เอื ้ออานวยให้ การ
ดาเนินการทางการค้ าและลดภาระต้ นทุนค่าใช้ จ่ายที่เป็ นตัวเงินและ
ค่าใช้ จ่ายที่ไม่เป็ นตัวเงิน (ค่าใช้ จ่ายอันเกิดจากระยะเวลาการรอคอย
และภาระเอกสารที่ซ ้าซ้ อน) เป็ นไปโดยมีประสิทธิภาพ
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
7
ขอบเขตด้ านการพัฒนาโครงสร้ างพืน้ ฐานเพื่อสนับสนุนการค้ า
• การพัฒนาโครงสร้ างพืน้ ฐานเพื่อสนับสนุนการค้ า (Trade Infrastructure)
เพื่อให้ สามารถรองรั บปริมาณการค้ าสินค้ าและบริการที่เพิ่มขึน้ เป็ นจานวน
มากได้ เช่น
– ด่านศุลกากรแบบครบวงจร
– ศูนย์กระจายสินค้ า
– นิคมอุตสาหกรรม
– เขตปลอดอากรศุลกากร
– เขตเศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zone)
– ท่าเรื อ ท่าอากาศยาน รถไฟให้ บริการขนส่งสินค้ าและผู้โดยสารระหว่างประเทศ
เส้ นทางถนนเชื่อมโยงการค้ าระหว่างประเทศ
– สถาบันการเงินหรื อกองทุนเพื่อสนับสนุนการทาการค้ า ฯลฯ
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
8
องค์ กรที่มีส่วนกาหนดยุทธศาสตร์ การค้ าของอาเซียน
• หน่ วยงานภาครัฐ
– สภาพัฒน์ฯ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงการคลัง กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ กระทรวงคมนาคม กระทรวง ICT ฯลฯ
• หน่ วยงานภาคเอกชน
– สภาหอการค้ าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรม สภาวิชาชีพ ฯลฯ
• องค์ การระหว่ างประเทศ
– สานักเลขาธิการอาเซียน
– องค์การการค้ าโลก
– องค์การศุลกากรโลก
– องค์การทรัพย์สินทางปั ญญาโลก ฯลฯ
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
9
หน่ วยงานของประเทศในอาเซียนที่มีบทบาทกาหนดยุทธศาสตร์ การค้ า
•
•
•
•
•
มาเลเซีย: Economic Planning Unit of Prime Minister’s Department
สิงคโปร์ : Ministry of Trade and Industry (MTI)
ฟิ ลิปปิ นส์ : National Economic and Development Authority (NEDA)
บรู ไน: Brunei Economic Development Board (BEDB)
กัมพูชา: Ministry of Economy and Finance (MEF)
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
10
กรณีศึกษาการจัดทานโยบายการค้ าของประเทศสมาชิก WTO
• WTO กาหนดให้ สมาชิกทุกประเทศต้ องจัดทานโยบายการค้ า รวมทังทบทวน
้
นโยบายการค้ า (Trade Policy Review) เป็ นประจา
• กรณีของประเทศขนาดใหญ่ เช่น สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป จีน และญี่ปนุ่ มี
ภาระต้ องจัดทาการทบทวนนโยบายการค้ าทุก 2 ปี
• ประเทศอื่นๆ อีก 16 ประเทศที่เป็ นประเทศการค้ าชันน
้ าจะต้ องจัดทาทุก 4 ปี
• ประเทศที่เหลืออื่นๆ จะต้ องจัดทาทุก 6 ปี
• การจัดทานโยบายการค้ าเพื่อแสดงความโปร่งใสของการกาหนดนโยบาย
ตลอดจนเพื่อให้ ประเทศสมาชิก WTO อื่นๆ ได้ รับและเข้ าใจนโยบายการค้ า
ของประเทศสมาชิกที่ได้ รับการทบทวน
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
11
เนือ้ หาใน Trade Policy
• สภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจในภาพรวม
– พัฒนาการเศรษฐกิจ นโยบายเศรษฐกิจมหภาคที่สาคัญ พัฒนาการด้ านการค้ าและการลงทุน
ทางตรงจากต่างประเทศ
• กรอบนโยบายการค้ าและวัตถุประสงค์ เชิงนโยบาย
– โครงสร้ างของการกาหนดนโยบายการค้ า กฎหมายและกฎระเบียบการค้ าที่สาคัญของการค้ าสินค้ า
ความตกลงและข้ อตกลงการค้ าระหว่างประเทศ
• นโยบายและวิธีปฏิบัตขิ องมาตรการทางการค้ า
– มาตรการทางการค้ าที่มีผลกระทบโดยตรงต่อการนาเข้ า มาตรการทางการค้ าที่มีผลกระทบ
โดยตรงต่อการส่งออก มาตรการอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการลงทุนและการค้ า
(มาตรการส่งเสริมการลงทุน การแข่งขัน)
• นโยบายการค้ าจาแนกตามรายสาขา
– สาขาเกษตรกรรม ป่ าไม้ ประมง เหมืองแร่ พลังงาน การเงิน สื่อสาร ขนส่ง จัดจาหน่าย ท่องเที่ยว
บริ การวิชาชีพ ฯลฯ
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
12
กรณีศึกษายุทธศาสตร์ การค้ าไทยตัง้ แต่ ปี 2540-2559
• ยุทธศาสตร์ การค้ าระยะปี 2540-2544
– การพัฒนาศักยภาพของคน ปรับปรุงทักษะฝี มือแรงงานให้ คนไทยทุกคนมีคณ
ุ ภาพ
และ
ประสิทธิภาพสูงขึ ้นในกระบวนการผลิตและสามารถปรับตัวได้ กบั การเปลี่ยนแปลง
ทางเศรษฐกิจและสังคม
– การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจเพื่อสนับสนุนการพัฒนาคนและคุณภาพ
ชีวติ ประกอบด้ วยแนวทางการเสริมสร้ างระบบเศรษฐกิจให้ เข้ มแข็งและเจริญเติบโต
อย่างมีเสถียรภาพ การปรับโครงสร้ างการผลิตให้ เข้ มแข็งเพื่อให้ พร้ อมรับการ
เปลี่ยนแปลงของตลาดโลกและยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทย การพัฒนา
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีเพื่อเป็ นฐานของการพัฒนาที่ยงั่ ยืน ตลอดจนการพัฒนาพื ้นที่
ชุมชน และบริการโครงสร้ างพื ้นฐาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
13
กรณีศึกษายุทธศาสตร์ การค้ าไทยตัง้ แต่ ปี 2540-2559
• ยุทธศาสตร์ การค้ าระยะปี 2545-2549
– การเตรี ยมความพร้ อมของเศรษฐกิจและสังคมภายในประเทศ ให้ มีภมู คิ ้ มุ กันจากผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง
– เพิ่มประสิทธิภาพและยกระดับคุณภาพโครงสร้ างพื ้นฐาน เพื่อเพิ่มสมรรถนะภาคการผลิตและบริการ โดยใช้ ประโยชน์
จากโครงสร้ างพื ้นฐานที่ได้ พฒ
ั นาขึ ้นแล้ วให้ ค้ มุ ค่า และพัฒนาให้ มีคณ
ุ ภาพอยูใ่ นระดับมาตรฐาน
– เน้ นพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และระบบสหกรณ์ ให้ เป็ นฐานรากที่เข้ มแข็งในการสร้ าง
รายได้ ของประเทศ ตลอดจนเน้ นความเชื่อมโยงเครื อข่ายการผลิตและบริการอย่างเป็ นระบบครบวงจร
– ปรับปรุงระบบเจรจาและความร่วมมือในเวทีระหว่างประเทศ เพื่อสร้ างเอกภาพในการเจรจาทางการค้ า และเสริมสร้ าง
อานาจต่อรองของไทยในเวทีเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนระหว่างประเทศ รวมทั ้งส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับ
ประเทศ
เพื่อนบ้ าน เพื่อเป็ นการวางรากฐานการพัฒนาประเทศในระยะยาว
– ส่งเสริมการค้ าบริการที่มีศกั ยภาพเพื่อสร้ างงานและกระจายรายได้ โดยพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อเพิ่มการจ้ างงานและ
กระจายรายได้ สชู่ มุ ชน เน้ นการมีสว่ นร่วมของท้ องถิ่น ในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ และพัฒนาธุรกิจบริการ
ที่มีศกั ยภาพใหม่ๆ ให้ สอดคล้ องกับศักยภาพของท้ องถิ่น ซึง่ รวมถึง วิถีชีวิต สภาพแวดล้ อมตามธรรมชาติ
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีพื ้นบ้ าน ตลอดจนการส่งเสริมไทยเที่ยวไทย และการประสานความร่วมมือกับประเทศ
เพื่อนบ้ าน
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
14
กรณีศึกษายุทธศาสตร์ การค้ าไทยตัง้ แต่ ปี 2540-2559
• ยุทธศาสตร์ การค้ าระยะปี 2550-2554
– การสร้ างความเข้ มแข็งของชุมชนและสังคมให้ เป็ นรากฐานที่มนั่ คงของประเทศ โดยสร้ างความ
มัน่ คงของเศรษฐกิจชุมชนและสนับสนุนให้ ชมุ ชนรวมกลุม่ ในรูปสหกรณ์ กลุม่ อาชีพเพื่อนาภูมิ
ปั ญญาและวัฒนธรรมท้ องถิ่นมาใช้ สร้ างสรรค์คณ
ุ ค่าของสินค้ าและบริ การ สร้ างระบบบ่มเพาะ
วิสาหกิจชุมชนควบคูก่ บั การพัฒนาความรู้ด้านการจัดการ การตลาด และทักษะการประกอบอาชีพ
– ปรับโครงสร้ างการผลิตเพื่อเพิ่มผลิตภาพและคุณค่าของสินค้ าและบริ การบนฐานความรู้ และความ
เป็ นไทย โดยปรับโครงสร้ างภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริ การที่ใช้ กระบวนการพัฒนา
Cluster และห่วงโซ่อปุ ทาน รวมทังเครื
้ อข่ายชุมชนบนรากฐานความรู้สมัยใหม่ ภูมิปัญญาท้ องถิ่น
และวัฒนธรรมไทย เพื่อสร้ างสินค้ าที่มีคณ
ุ ภาพและมูลค่าสูง มีตราสินค้ าเป็ นที่ยอมรับของตลาด
พัฒนาโรงสร้ างพื ้นฐานและระบบโลจิสติกส์
– สนับสนุนการให้ เกิดการแข่งขันที่เป็ นธรรมและกระจายผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเป็ นธรรม
โดยส่งเสริ มการแข่งขันการประกอบธุรกิจในระบบอย่างเสรี เป็ นธรรม และป้องกันการผูกขาด
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
15
กรณีศึกษายุทธศาสตร์ การค้ าไทยตัง้ แต่ ปี 2540-2559
• ยุทธศาสตร์ การค้ าระยะปี 2555-2559
– การปรับโครงสร้ างเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่มีคณ
ุ ภาพและยัง่ ยืน โดยสร้ างความเข้ มแข็งให้ กบั ผู้ประกอบการ โดยเฉพาะ SME
– ผลักดันให้ มีบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศให้ เข้ มแข็งและแข่งขันได้ ด้วยการปรับโครงสร้ างการค้ าและการลงทุนให้
สอดคล้ องกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจของเอเชีย แอฟริกา และเศรษฐกิจภายในประเทศ ปรับโครงสร้ างภาคบริการให้ สามารถสร้ าง
มูลค่าเพิม่ กับสาขาบริการที่มีศกั ยภาพและเป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อมบนฐานความคิดสร้ างสรรค์และนวัตกรรม
– พัฒนาเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ซงึ่ ครอบคลุมถึงการพัฒนาธุรกิจสร้ างสรรค์ และการพัฒนาอุตสาหกรรมสร้ างสรรค์ และพัฒนา
ภาคอุตสาหกรรมที่ม่งุ การปรับโครงสร้ างอุตสาหกรรมให้ มีคณ
ุ ภาพและยัง่ ยืนด้ วยการใช้ ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
ความคิดสร้ างสรรค์ สู่อตุ สาหกรรมฐานความรู้เชิงสร้ างสรรค์และเป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อม
– การสร้ างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ โดยพัฒนาความเชื่อมโยงของระบบโลจิสติกส์ภายใต้
กรอบความร่วมมือในอนุภมู ิภาคต่างๆ และพัฒนาฐานลงทุนโดยในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศให้ เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้ านและ
อาเซียน
– สร้ างความพร้ อมในการเข้ าสู่ประชาคมอาเซียน
– การเร่งรัดการใช้ ประโยชน์จากข้ อตกลงการค้ าเสรี ที่มีผลบังคับใช้ แล้ ว
– ส่งเสริมให้ ประเทศไทยเป็ นฐานการลงทุนและการประกอบธุรกิจในเอเชีย
– ปรับปรุงและเสริมสร้ างความเข้ มแข็งของภาคีการพัฒนาภายในประเทศตังแต่
้ ระดับชุมชนท้ องถิ่น โดยมุ่งเสริมสร้ างศักยภาพชุมชน
ท้ องถิ่นให้ รับรู้และเตรี ยมพร้ อมรับกระแสการเปลี่ยนแปลง
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
16
กรณีศึกษาแผนแม่ บทกระทรวงพาณิชย์ 2555-2564
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
17
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
18
ข้ อมูลที่จาเป็ นต้ องใช้ ในการกาหนดยุทธศาสตร์ การค้ า
• กลุ่มข้ อมูลการค้ า
– การเติบโตของมูลค่าการค้ าการลงทุน ประเทศคูค่ ้ าหลัก การปรับตัวลดลงของภาษี ที่เรี ยก
เก็บ มาตรการกีดกันที่มิใช่ภาษี กฎระเบียบการเข้ าเมืองและการทางาน สิทธิพิเศษที่ให้ แก่
รัฐวิสาหกิจ ฯลฯ
• กลุ่มข้ อมูลสภาพแวดล้ อมภายนอก
– GDP per capita อัตราเงินเฟ้อ อัตราการว่างงาน ค่าแรงขันต
้ ่า ดุลบัญชีเดินสะพัด อัตรา
ดอกเบี ้ย ดัชนีราคาผู้บริ โภค ดัชนีค่าครองชีพ หนี ้สาธารณะ ราคาพลังงาน ผลิตภาพของ
แรงงาน ฯลฯ
• กลุ่มข้ อมูลด้ านการอานวยความสะดวกทางการค้ า
– ความสะดวกในการจดทะเบียนธุรกิจ ความสะดวกในการขอรับสินเชื่อ ความสะดวกในการ
ขออนุญาตก่อสร้ าง ความทันเวลาของการจัดส่งสินค้ า การรักษาข้ อมูลและความลับ
ทางการค้ า ฯลฯ
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
19
การจัดทายุทธศาสตร์ / กลยุทธ์
แนวคิดพืน้ ฐาน
ในการวางแผนกลยุทธ์
2.อนาคตต้ องการเป็ นอย่างไร
(What should we be ?)
วิสัยทัศน์ / เป้าประสงค์
ร
ไ
ย่าง
อ
้
ได
ด
น
ี์ท่กาห
งค )
ส
ะ
ร re ?
ป
า
้
e
์น / เป get th ธ์
ทศั we กลยทุ
ย
ั
สิ can /
ว
ุ
ล
4. จะตรวจวัดความก้าวหน้ า
รร How นั ธกจิ
บ
ะ ( พ
จ
น
และผลสาเร็จได้ อย่างไร
า
ง
ย
น่ว
ห
(How can we track our progress ?)
3.
ปัจจัยหลักแห่ งความสาเร็จ ตัวชี้วดั ผลการ
1. ปัจจุบัน หน่ วยงานทาอะไร
ดาเนินงานหลัก ฯลฯ
อยู่ในสถานการณ์ใด
(Where are we now ? )
ภารกิจ / SWOT
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
20
1. การวางแผนกลยุทธ์
ข้อมูล
ย้อนกลับ
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ภายในองค์กร
จุดแข็ง
วิสัยทัศน์ Vision
พันธกิจ / Mission
Feedback
การวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมภายนอก
โอกาส
Strength
s
Opportun
ities
อุปสรรค
จุดอ่อน
เป้ าประสงค์ Goal
Weakne
sses
Threats
กลยุทธ์ Strategy
กระบวนการ
บริหารเชิง
ยุทธศาสตร์
แผนงาน / งาน / โครงการ / ผลผลิต / กิจกรรม / งบประมาณ
 การจัดทาแผนปฏิบตั ิ
การประจาปี
2. การนาแผนกลยุทธ์ ไปปฏิบัติ
 การพัฒนาองค์กร
 การบริ หารทรัพยากร
บุคคล
 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 วัฒนธรรมองค์กร
 องค์การแห่งการเรี ยนรู้
 การจัดการคุณภาพทัว่
ทั้งองค์กร
 การสั่งการ /
 ฯลฯ
 การจัดทารายงานผลงานประจ
าปี
ประสานงาน
3. การควบคุมและประเมินผล
แผนกลยุทธ์
มภายใน / การตรวจสอบภายใน
 การรายงานผลงาน/การควบคุ
งบประมาณ
 การประเมินผลสาเร็ จของแผนกลยุทธ์ทุก 3-5 ปี
 ฯลฯ
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
21
McKinsey’s 7 S Model ของ R. Waterman
การวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมภายในองค์ การ
Strategy
กลยุทธ์
Skill
ทักษะ
Structure
โครงสร้ าง
Shared
Values
ค่ านิยมร่ วม
System
ระบบ
Style
สไตล์
Staff
บุคลากร
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
22
การสังเคราะห์ สภาพแวดล้ อมภายในและภายนอกองค์ การ
• SWOT Analysis
(Strengths)
1.
2.
3.
(Weaknesses)
? โอกาส
1.
2.
3.
External
Politics
Environment
การเมือง
International
ต่ างประเทศ Operational
Environment
ตลาดแรงงาน
?อุภัปยสรรค
คุกคาม
ชุมชน
องค์กการาร ลูกค้า
ผู้มสี ่ วนได้ ส่วนเสีย องค์
ผู้ส่งวัตถุดบิ
Technology
เทคโนโลยี
Economics
เศรษฐกิจ
ตลาด
คู่แข่ ง
Social
สังคม
1
100
1
100
อ
อ
1.
2.
3.
อ
1.
2.
3.
(Opportunities)
(Threats)
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
23
การกาหนดตาแหน่ งขององค์ การ
O
2000
1500
1000
500
W
2500 2000 1500
1000
500
500
1000 1500
S
500
1000
1500
T
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
24
(1) SO Strategies
สถานการณ์ แบบผู้แสวงหา (Prospector)
คะแนนรวมของ Opportunity
“
อ ออ
(Public sector star)
ของ
”
y
รุ ก
Aggressive
คะแนนรวมของ
Strength
คะแนนรวมของ
Weakness
คะแนนรวมของ Threat
สถานการณ์ แบบผู้เปลี่ยนแปลง (Reactor)
(2) ST Strategies
”
คะแนนรวมของ Opportunity
“
อ
(Cash cows)
คะแนนรวมของ
Strength
คะแนนรวมของ
Weakness
ป้ องกัน
defensive
คะแนนรวมของ Threat
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
25
(3) WT Strategies
สถานการณ์แบบผู้ป้องกัน (Defender)
คะแนนรวมของ Opportunity
“
อ
อ ”
(Back drawer issues)
คะแนนรวมของ
Weakness
(Dog)
คะแนนรวมของ
Strength
ถอย
Regressive
คะแนนรวมของ Threat
(4) WO Strategies
สถานการณ์แบบผู้วเิ คราะห์ (Analyzer)
“
ออ
อ”
(Political hot box)
คะแนนรวมของ Opportunity
อ
พลิกฟื้ น
Turn around
(Question)
คะแนนรวมของ
Weakness
?
คะแนนรวมของ
Strength
คะแนนรวมของ Threat
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
26
ระดับของการกาหนดกลยุทธ์
• กลยุทธ์หลัก
• กลยุทธ์ระดับหน่วยงาน
• กลยุทธ์ในระดับของกิจกรรม
• การทบทวนกลยุทธ์ และการนากลยุทธ์ ไปปฏิ บตั ิ
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
27
เป้าหมายเชิ งยุทธศาสตร์ ของรัฐบาล
ผลลัพธ์
Outcomes
ผลกระทบ (Impacts) ทีม่ ตี ่ อชุมชน
และสิ่งแวดล้ อม
การจัดทาแผน
งบประมาณแบบมุ่งเน้ น
ผลงานตามยุทธศาสตร์
การวัดประสิทธิผล
(ปริมาณ คุณภาพ เวลา)
ผลผลิต
สิ่งของและบริการทีจ่ ดั ทาเพือ่ ประชาชน
Outputs
การวัดประสิทธิภาพ
(ต้ นทุน)
ทรัพยากรทีใ่ ช้ ไป
ทรัพยากรทีใ่ ช้ ไปเพือ่ การผลิตและบริการ
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
28
ขัน้ ตอนหลักการ
จัดทาแผน
งบประมาณแบบ
มุ่งเน้ นผลงานตาม
ยุทธศาสตร์
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
29
การคานวณต้ นทุนกิจกรรม
การคานวณต้ นทุนกิจกรรม ABC
วิเคราะห์ กจิ กรรม
ค่ าใช้ จ่ายของกิจกรรม
ผลการปฏิบัติงาน
(Activity Analysis)
(Activity Costing)
(Performance Measure)
-
พจนานุกรมกิจกรรม
-
(Activity Dictionary)
-
ค่าใช้ จ่ายบุคลากร
ค่าใช้ จ่ายเจาะจง
ค่าใช้ จ่ายปันส่ วน
-
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
ปริ มาณผลงานของ
กิจกรรม
30
การจัดทายุทธศาสตร์ การค้ าอาเซียน: กรณีศึกษาการจัดทายุทธศาสตร์ การเจรจาการค้ าเสรี
• หลักการของไทยในการเจรจาการค้ าเสรี
– การเจรจาระดับพหุภาคี ร่วมผลักดันให้ การเจรจารอบโดฮาสาเร็จโดยเร็ ว
– การเจรจาระดับภูมิภาค ให้ ความสาคัญกับการเจรจาร่วมกับอาเซียนเป็ นลาดับแรก
ทัง้ AEC และการเจรจาการค้ าเสรี ขออาเซียนกับคูเ่ จรจา (ASEAN FTA)
– การเจรจาระดับทวิภาคีจะให้ ความสาคัญกับ
• การเจรจาที่ค้างอยู่โดยประเมินผลประโยชน์และผลกระทบที่อาจเกิดขึ ้นเพื่อเตรี ยมพร้ อม
ปรับตัวรองรับ
• เจรจากับประเทศใหม่ที่มีศกั ยภาพ เช่น GCC Mercosur และชิลี
• สร้ างความสัมพันธ์ทางการค้ ากับประเทศที่มีศกั ยภาพ เช่น รัสเซีย แอฟริ กาใต้ เป็ นต้ น
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
31
กรณีศึกษาการจัดทายุทธศาสตร์ การเจรจา FTA
• หลักการในการจัดทา FTA ของไทย
– การจัดทาความตกลงการค้ าเสรี ควรทาในกรอบกว้ างครอบคลุมการเปิ ดเสรี ทงการค้
ั้
าสินค้ า
บริ การ และการลงทุน รวมทังการขยายความร่
้
วมมือทางเศรษฐกิจอื่นๆ อย่างไรก็ตาม ควรมี
ความยืดหยุ่นให้ สอดคล้ องกับระดับการพัฒนาของประเทศคูเ่ จรจาเพื่อให้ ได้ รับประโยชน์ทงั ้
สองฝ่ าย
– การจัดทาความตกลงการค้ าเสรี ควรให้ สอดคล้ องกับกฎของ WTO ซึง่ มีเงื่อนไขการให้ การ
เปิ ดเสรี ครอบคลุมการค้ าสินค้ าและบริ การอย่างมากพอ สร้ างความโปร่งใส และเปิ ดให้
สมาชิกอื่นตรวจสอบความตกลง
– การจัดทาความตกลงการค้ าเสรี ควรยึดหลักการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ และเกื ้อกูลซึง่ กัน
และกัน โดยคานึงถึงสถานะของไทยทีเ่ ป็ นประเทศกาลังพัฒนาในกรณีทคี่ เู่ จรจาเป็ น
ประเทศที่พฒ
ั นาแล้ ว ไทยควรเรี ยกร้ องความยืดหยุ่นเพื่อให้ มีเวลาในการปรับตัวนานกว่า
หรื อจัดทาข้ อผูกพันในระดับต่ากว่า
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
32
กรณีศึกษาการจัดทายุทธศาสตร์ การเจรจา FTA
• เป้าหมาย
– เพื่อสร้ างพันธมิตรทางเศรษฐกิจ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ดึงดูดการลงทุน
จากต่างประเทศ เพิ่มโอกาสในการส่งออก และปรับโครงสร้ างการผลิตในประเทศให้
มีประสิทธิภาพมากขึ ้น
– เพื่อรักษาตลาดเดิมที่เป็ นตลาดหลักของไทย เช่น สหรัฐฯ และญี่ปนุ่ และและขยาย
ตลาดใหม่ทงในแนวกว้
ั้
างและเจาะลึกในตลาดที่มีศกั ยภาพ เช่น จีน อินเดีย ตลาดที่
เป็ นประตูการค้ าในภูมิภาคอื่นๆ เช่น ชิลี และแอฟริกาใต้ เป็ นต้ น
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
33
กรณีศกึ ษาการจัดทายุทธศาสตร์ การเจรจา FTA: รายสาขา
• เกษตร
– เน้ นอุตสาหกรรมที่ไทยมีศกั ยภาพในการแข่งขันสูง ได้ แก่ อุตสาหกรรมการเกษตร และ
อาหารแปรรูป
– สินค้ าเกษตรที่มีความอ่อนไหว ให้ เจรจาโดยมีเวลาในการปรับตัวที่นาน
– สินค้ าเกษตรและอาหาร จะมีปัญหาเรื่ องมาตรฐานด้ านสุขอนามัยมาก ความปลอดภัยด้ าน
อาหาร และสิ่งแวดล้ อม ให้ เจรจาลด/ยกเลิก หรื อปรับไม่ให้ เป็ นอุปสรรค ขณะเดียวกันให้
พัฒนาการผลิตให้ ได้ มาตรฐานสากล มีความร่วมมือในการแก้ ไขปั ญหาและอานวยความ
สะดวกด้ านการค้ าโดยการทา MRA และ การถ่ายทอดเทคโนโลยี
– กาหนดมาตรฐานการนาเข้ า โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัตถุดิบที่ต้องนาเข้ ามาแปรรู ปเพื่อการ
ส่งออกให้ ได้ มาตรฐาน และปลอดภัย
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
34
กรณีศึกษาการจัดทายุทธศาสตร์ การเจรจา FTA: รายสาขา
• อุตสาหกรรม
– เน้ นอุตสาหกรรมเป้าหมายในการส่งออกของไทย และกลุม่ cluster ที่มีการร่วมลงทุน
ผลิตที่เป็ น production network สาขาที่สาคัญ ที่ไทยมีศกั ยภาพมาก ได้ แก่ แฟชัน่
(เสื ้อผ้ า เครื่ องนุ่งห่ม เครื่ องประดับ รองเท้ า) ยานยนต์และชิ ้นส่วน สินค้ า
อิเล็กทรอนิกส์ เป็ นสินค้ า เฟอร์ นิเจอร์ เครื่ องใช้ ในบ้ าน และของแต่งบ้ าน
– มาตรการที่ไม่ใช่ภาษี เช่น มาตรฐานสินค้ า (TBT) สิ่งแวดล้ อม ให้ เจรจาลด/ยกเลิก
หรื อปรับไม่ให้ เป็ นอุปสรรคต่อการค้ า พัฒนาการผลิตภายในประเทศให้ ได้ มาตรสากล
และจัดทาความตกลงยอมรับร่วมกัน (MRA)
– การเจรจากาหนดเงื่อนไข Rules of Origin ต้ องสะท้ อนสภาพการผลิตในประเทศ
และในประเทศต้ องปรับการผลิตอุตสาหกรรมต้ นน ้าให้ มากขึ ้น
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
35
กรณีศึกษาการจัดทายุทธศาสตร์ การเจรจา FTA: รายสาขา
• บริการ
–เปิ ดเสรี แบบค่อยเป็ นค่อยไป ใช้ positive-list approach
–เน้ นธุรกิจบริ การที่มีความพร้ อม เช่น ท่องเที่ยว สุขภาพ ก่อสร้ าง
ออกแบบ
–สนับสนุนธุรกิจที่มีอนาคต เช่น ICT logistics บันเทิง ซ่อมบารุง
–กลุม่ ธุรกิจบริ การที่ยงั ไม่พร้ อม เช่น ธนาคาร ประกันภัย
โทรคมนาคม ขนส่ง ให้ มี transition period 10 ปี
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
36
กรณีศึกษาการจัดทายุทธศาสตร์ การเจรจา FTA: รายสาขา
• ทรัพย์ สินทางปั ญญาที่เกี่ยวกับการค้ า
– เน้ นระดับการคุ้มครองภายใต้ ความตกลงว่าด้ วยทรัพย์สินทางปั ญญาที่เกี่ยวกับ
การค้ าใน WTO เป็ นหลัก
– ควรแสวงหาความร่วมมือจากประเทศคูเ่ จรจาในการอานวยความสะดวกด้ านการ
ขอรับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปั ญญาของคนไทยในต่างประเทศ เช่น การขอรับการ
คุ้มครองพันธุ์ข้าวหอมมะลิ และเครื่ องหมายรับรองข้ าวหอมมะลิของไทย
– ผลักดันให้ ประเทศคู้เจรจาให้ ให้ การคุ้มครองทรัพย์สินทางปั ญญาที่ไทยมี
ผลประโยชน์ เช่น ภูมิปัญญาท้ องถิ่น แหล่งที่มาทางชีวภาพ
– ส่งเสริมความร่วมมือด้ านการถ่ายทอดเทคโนโลยี การใช้ ประโยชน์ในข้ อมูลสิทธิบตั ร
เพิ่มศักยภาพและทักษะของนักประดิษฐ์ ของไทยในการวิจยั พัฒนาต่อยอด
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
37
ยุทธศาสตร์ การเจรจา JTEPA
• การเจรจาจะต้ องคานึงถึงนโยบาย กฎระเบียบ โครงสร้ างการผลิต ความสามารถทางการแข่ งขัน
ของไทย การพัฒนาเศรษฐกิจ และผลประโยชน์ โดยรวมของผู้บริโภคและประชาชนไทย โดย
ภาครัฐจะต้ องจัดให้ มีมาตรการสร้ างภูมคิ ้ ุมกันผลกระทบจากการค้ าที่เหมาะสม
• แนวทางการเจรจาการค้ าสินค้ า
(1) ไทยควรนำสินค้ ำทุกรำยกำรที่กำหนดไว้ ในรายการที่ต้องทบทวน (R) มาเจรจากันใหม่ โดยสำมำรถเจรจำ
แลกเปลี่ยนผลประโยชน์ระหว่ำงกำรเปิ ดตลำดกำรลดภำษีนำเข้ ำรถยนต์นงั่ ขนำด 3000 ซีซี กับสินค้ ำเกษตรอื่นๆ ของ
ไทย เช่น สตำร์ ชมันสำปะหลัง และไส้ กรอก ส่วนกำรเจรจำเปิ ดตลำดนำเข้ ำรถยนต์นงั่ ขนำด 1,500 – 3,000 ซีซี ควรทำ
ด้ วยควำมรอบคอบเพรำะอำจมีผลกระทบกับผู้ผลิตในไทย
(2) เจรจำแก้ ไขปั ญหำสินค้ ำเดิมที่มีอยู่ ได้ แก่ (ก) กฎถิ่นกำเนิดปลำทูน่ำกระป๋ อง (ข) กำรเจรจำเรื่ องอุปสรรคที่มใิ ช่ภำษี
โดยเฉพำะมำตรกำรสุขอนำมัยที่ใช้ บงั คับกับสินค้ ำอำหำรและเกษตรของไทย และขอให้ พิจำรณำขยำยประเภทของ
ผลไม้ ที่ได้ อนุญำตให้ จำหน่ำยในญี่ปนมำกขึ
ุ่
้น
(3) พิจำรณำให้ ญี่ปนยอมเจรจำเปิ
ุ่
ดตลำดสินค้ ำที่เดิมไม่ผกู พันเปิ ดตลำด (X) เพิ่มเติม เช่น แป้ง และข้ ำว รวมทั ้งเพื่อ
ชดเชยกับกำรที่ไทยยินยอมเปิ ดตลำดสินค้ ำเหล็กให้ กบั ญี่ปนอย่
ุ่ ำงมำก
38
ยุทธศาสตร์ การเจรจา JTEPA
• แนวทางการเจรจาด้ านบริการ
(1) กำรเจรจำเปิ ดตลำดบริ กำรภำยใต้ JTEPA ไม่ควรให้ เกินกว่ำภำยใต้ AFAS โดยในส่วนของกำรค้ ำ
บริ กำรที่ญี่ปนก
ุ่ ำหนดให้ มีกำรทบทวน เช่น ค้ ำส่งค้ ำปลีก นัน้ อำจยังไม่สำมำรถทำได้ เนื่องจำกไทย
อยู่ระหว่ำงจัดทำกฎหมำยค้ ำส่งค้ ำปลีก ตลอดจนไม่ควรนำเงื่อนไขด้ ำนกำรผลักดันให้ คนไทยเข้ ำ
ไปทำงำนเป็ นพนักงำนสปำได้ เพื่อมำแลกเปลี่ยนกับกำรเปิ ดตลำดให้ ญี่ปนเพิ
ุ่ ่มเติม
(2) ให้ ควำมสำคัญกับกำรพัฒนำควำมร่ วมมือด้ ำนกำรบริ กำร เช่น กำรศึกษำ กำรเงิน และ ICT
มำกกว่ำกำรเจรจำเปิ ดตลำด ตลอดจนยังไม่ควรเจรจำเรื่ องกำรรวมข้ อบทกำรจัดซื ้อจัดจ้ ำงโดยรัฐ
ไว้ เนื่องจำกไทยยังไม่มีควำมพร้ อม
• แนวทางการเจรจาความร่ วมมือ
(1) เจรจำจัดทำควำมร่วมมือในเชิงรุก เนื่องจำกที่ผ่ำนมำไม่มีควำมคืบหน้ ำเท่ำที่ควร รวมทังควรให้
้
ควำมสำคัญกับกำรจัดทำโครงกำรควำมร่ วมมือที่ม่งุ ผลกำรยกระดับควำมสัมพันธ์ทำงเศรษฐกิจ
และเป็ นรูปธรรมมำกขึ ้น ตลอดจนสอดคล้ องกับนโยบำยของไทยกับญี่ปนร่
ุ่ วมกัน
(2) เน้ นบทบำทกำรร่วมมือกำรทำงำนของทังสองฝ่
้
ำย
39
ยุทธศาสตร์ การเจรจา JTEPA
• เร่งประชำสัมพันธ์กำรใช้ ประโยชน์จำกกำรค้ ำเสรี และในรูปธรรมที่สอดคล้ องกับควำมต้ องกำรของกลุม่ เป้ำหมำยเพื่อ
กระตุ้นให้ เกิดกำรใช้ สิทธิประโยชน์มำกขึ ้นทังในส่
้ วนกลำงและต่ำงจังหวัด
• ยกระดับ SME ของไทยเข้ ำสูก่ ำรเป็ น Smart Exporter / Smart Trader เพื่อยกระดับควำมรู้และควำมชำนำญในกำรทำ
ตลำดญี่ปนุ่ โดยพิจำรณำใช้ แนวทำงควำมร่วมมือและร่วมค้ ำกับญี่ปนุ่ รวมทังอำจใช้
้
ควำมชำนำญของญี่ปนในกำรท
ุ่
ำ
ตลำดในประเทศอื่นได้
• พัฒนำมำตรฐำนและคุณภำพสินค้ ำและบริ กำร เนื่องจำกตลำดผู้บริ โภคญี่ปนมี
ุ่ ควำมพิถีพิถนั สูงในกำรเลือกซื ้อและ
เลือกใช้ สินค้ ำ/บริ กำร
• พัฒนำตลำด ช่องทำงกำรจำหน่ำย ระบบข้ อมูลเพื่อกำรตัดสินใจของผู้สง่ ออกไปตลำดญี่ปนุ่ กำรวิจยั ตลำด และกิจกรรม
ส่งเสริ มกำรส่งออกที่มีประสิทธิภำพมำกขึ ้น
• สินค้ าส่ งออกหลักของไทยทีม่ ีอัตราการเติบโตสูงในตลาดญี่ปุ่นทีค่ วรเร่ งทาตลาดมากขึน้ ได้ แก่
– ไก่ปรุงสุก ชิ ้นส่วนยำนยนต์ ชิ ้นส่วนจักรยำนยนต์ ปลำกระป๋ อง ผลิตภัณฑ์พลำสติก พลำสติกขั ้นปฐม เครื่ องสำอำง แชมพู อัญ
มณีและเครื่ องประดับ ปลำแช่แข็ง ข้ ำว ดีบกุ เส้ นใยประดิษฐ์
• สินค้ าส่ งออกระดับรองที่มีศักยภาพที่มีอัตราเติบโตสูงในตลาดญี่ปุ่นทีค่ วรเร่ งทาตลาดมากขึน้ ได้ แก่
– กระดำษ ผลิตภัณฑ์จำกข้ ำว หมำกฝรั่ง ยำ ลำโพง ปลำแห้ ง แมงกะพรุน ผลิตภัณฑ์สงั กะสี หมูแช่แข็ง ซิเมนต์
• สินค้ าส่ งออกเดิมแต่ มีแนวโน้ มเติบโตลดลงในตลาดญี่ปุ่น ที่ต้องเร่ งเจาะตลาด / พัฒนาผลิตภัณฑ์ ได้ แก่
– แผงวงจรไฟฟ้ำ เครื่ องจักรกล เครื่ องรับวิทยุ โทรทัศน์ เลนซ์ เฟอร์ นิเจอร์ กล้ องถ่ำยรูป รองเท้ ำ กำแฟ ไอศครี ม
40
ยุทธศาสตร์ การเจรจา JTEPA
• พิจำรณำท่ำทีในกำรยอมรับนำมำตรฐำนสินค้ ำ/บริ กำรของญี่ปนมำใช้
ุ่
กบั
มำตรฐำนสินค้ ำ/บริ กำรภำยในประเทศ
• กำหนดท่ำทีกำรเจรจำเปิ ดตลำดบริ กำรและกำรลงทุนให้ มีควำมชัดเจนว่ำ
ต้ องกำรจะใช้ FTA เป็ นเครื่ องมือในกำรดึงดูดกำรลงทุนต่ำงประเทศให้ เข้ ำมำ
ในประเทศ ขณะที่กฎระเบียบปั จจุบนั ไม่เอื ้อต่อกำรเปิ ดตลำดให้ ต่ำงชำติเข้ ำ
มำลงทุนและทำงำน
• กำหนดมำตรกำรเยียวยำและมำตรกำรรองรับผลกระทบจำกกำรเปิ ดตลำด
กำรค้ ำสินค้ ำ/บริ กำร
• สินค้ านาเข้ าหลักของญี่ปุ่นทีม่ ีอัตราการเติบโตสูงในตลาดไทย ทีค่ วร
พิจารณาให้ ความช่ วยเหลือผู้ประกอบการไทย ได้ แก่
– เหล็กและผลิตภัณฑ์ ชิ ้นส่วนยำนยนต์ เครื่ องประดับเงิน รถบัสและ
รถบรรทุก
• สินค้ านาเข้ าระดับรองทีม่ ีอัตราเติบโตสูงในตลาดไทย ทีค่ วรพิจารณา
ญี่ปุ่นทีค่ วรพิจารณาเฝ้าระวัง ได้ แก่
– ผลิตภัณฑ์นม จักรยำน และชำ
41
กรณีศึกษาการจัดทายุทธศาสตร์ โลจิสติกส์ การค้ า
Trade Logistics
Material
Sourcing
Transport
Logistics
Manufacturing
Logistics
Manufacturing
Transport
Logistics
After-Sales
Services
•การอานวยความสะดวกทาง
การค้ า
•การส่ งเสริมพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์
•การพัฒนาผู้ให้ บริการ
โลจิสติกส์
•การสร้ างเครือข่ ายการค้ า
•การพัฒนาระบบกระจายสินค้ า
•การพัฒนาเครื่องมือลดความ
เสี่ยงการค้ า
•การสร้ างกิจกรรมทางการค้ า
บนโครงสร้ างพืน้ ฐาน
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
ประหยัดต้ นทุน
ตอบสนองความ
ต้ องการตลาด
สร้ างความน่า
เชื่อถือในการ
ส่งมอบสินค้ า
42
Vision –ไทยมีระบบโลจิสติกส์และ LSP ที่มีประสิทธิภาพ สามารถแข่งขันได้ เพื่อสนับสนุนให้ ไทยเป็ นศูนย์กลางทางการค้ า
และการลงทุนของภูมภิ าคอาเซียน โดยเฉพาะอินโดจีนและจีนตอนใต้
ยุทธศาสตร์ 1: พัฒนาระบบอานวยความ
สะดวกทางการค้ า
ยุทธศาสตร์ 2: ยกระดับผู้ให้ บริการ
โลจิสติกส์ และบริการเกี่ยวเนื่อง
ยุทธศาสตร์ 3: เพิ่มศักยภาพการจัดการของ
ผู้ใช้ บริการโลจิสติกส์ และ
ขยายเครื อข่ ายกระจายสินค้ า
ยุทธศาสตร์ 4: เพิ่มศักยภาพการจัดการ
โลจิสติกส์ สินค้ ายุทธศาสตร์ แบบครบวงจร
คณะอนุกรรมการโลจิสติกส์ ทางการค้ า
•
43
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
ยุทธศาสตร์ 1: พัฒนาระบบอานวยความสะดวกทางการค้ า
 พัฒนาการให้ บริการออกหนังสือสาคัญเพื่อการส่ งออกและนาเข้ าด้ วย
ระบบอิเล็กทรอนิกส์

เจ้ าภาพ คือ กรมการค้ าต่างประเทศ
 ทบทวนและปรั บกฎระเบียบการค้ าให้ สอดคล้ องกับโลกาภิวัฒน์ ทางการค้ า
และการลงทุน

เจ้ าภาพ คือ กระทรวง ICT
 พัฒนาระบบใบรั บรองด้ วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ภายในหน่ วยงานของรั ฐ
และเอกชน โดยใช้ ระบบคาขอกลางทางอิเล็กทรอนิกส์ (Single Window
Entry) เพื่อช่ วยลดเวลาติดต่ อขอรั บใบรั บรองการส่ งออก

เจ้ าภาพ คือ กรมส่งเสริ มการส่งออก
44
ยุทธศาสตร์ 2: ยกระดับผู้ให้ บริการโลจิสติกส์
 ยกร่ างกฎหมายส่ งเสริมและพัฒนาธุรกิจให้ บริการโลจิสติกส์

เจ้ าภาพ คือ กรมพัฒนาธุรกิจการค้ า
 พิจารณาให้ สิทธิประโยชน์ ทางการส่ งเสริมการลงทุนในกิจการให้ บริการโลจิสติกส์ ท่ ไี ทยมี
ความต้ องการลงทุนมาก


เจ้ าภาพ คือ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
ธุรกิจที่ต้องการ เช่น เรื อชายฝั่ ง ขนส่งทางบกระหว่างประเทศ สายการบินขนส่งสินค้ า และ Cool / Cold Chain
Logistics
 จัดโครงการ Logistics Clinic เพื่อให้ คาปรึกษาการจัดการของธุรกิจโลจิสติกส์ ไทย

เจ้ าภาพ คือ กระทรวงพาณิชย์ (กรมส่งเสริมการส่งออก และกรมพัฒนาธุรกิจการค้ า)
 ส่ งเสริมการสร้ างเครือข่ ายพันธมิตรโลจิสติกส์

เจ้ าภาพ คือ กระทรวงพาณิชย์ (กรมส่งเสริมการส่งออก และกรมพัฒนาธุรกิจการค้ า)
 จัดโครงการนาร่ องลดต้ นทุนกระจายสินค้ า (ลดต้ นทุนขนส่ งเที่ยวเปล่ า)

เจ้ าภาพ คือ กระทรวงพาณิชย์ (กรมส่งเสริมการส่งออก และกรมพัฒนาธุรกิจการค้ า)
45
ยุทธศาสตร์ 3: เพิ่มศักยภาพการจัดการ
โลจิสติกส์ ทางการค้ าของธุรกิจและเครื อข่ ายกระจายสินค้ า
 จัดโครงการ Logistics Clinic เพื่อให้ คาปรึกษาการจัดการของธุรกิจการค้ าและ
ส่ งออก สินค้ าเกษตร

เจ้ าภาพ คือ กระทรวงพาณิชย์ (กรมส่งเสริ มการส่งออก / กรมพัฒนาธุรกิจการค้ า)
 ส่ งเสริมผู้ส่งออกรายย่ อยรวมยอดการขนส่ งเพื่อต่ อรองอัตราค่ าระวางและ
เงื่อนไขบริการกับผู้ขนส่ งสินค้ า

เจ้ าภาพ คือ สภาผู้สง่ สินค้ าทางเรื อแห่งประเทศไทย
 ปรั บกฎระเบียบสภาผู้ส่งสินค้ าทางเรื อแห่ งประเทศไทย

เจ้ าภาพ คือ สภาผู้สง่ สินค้ าทางเรื อแห่งประเทศไทย
 เพิ่มช่ องทางการส่ งออกด้ วยการใช้ ศูนย์ กระจายสินค้ าในต่ างประเทศ

เจ้ าภาพ คือ กรมส่งเสริ มการส่งออก
46
ยุทธศาสตร์ 6: ยกระดับประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ สินค้ ายุทธศาสตร์ แบบครบวงจร
 โลจิสติกส์ ข้าว







ส่งเสริมให้ นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ในโลจิสติกส์ของข้ าว (คน.)
สนับสนุนการพัฒนารูปแบบการขนส่งที่เอื ้อต่อการลดต้ นทุนขนส่งข้ าว (คมนาคม)
ส่งเสริมให้ คลังสินค้ า / ไซโลวางระบบจัดการคลังให้ สอดรับปริมาณผลผลิตและความต้ องการ (อคส.)
จัดระบบคลังสินค้ าและไซโลให้ สามารรักษาคุณภาพข้ าวได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้ องกับปริมาณผลผลิตและ
ความต้ องการ (คน. / อคส.)
จัดตั ้งศูนย์ให้ บริการโลจิสติกส์ข้าวหอมมะลิเกรดพรี เมี่ยม (อคส.)
จัดระบบ LSP สาหรับข้ าวโดยเฉพาะ (คน.)
ปรับกฎระเบียบคลังสินค้ า ไซโล และห้ องเย็น (คน.)
 โลจิสติกส์ ผักและผลไม้






ส่งเสริมให้ เกษตรและผู้ค้าพัฒนาระบบจัดการคุณภาพทั ้งการผลิต การเก็บเกี่ยว การคัดแยก และบรรจุภัณฑ์ (กรม
วิชาการเกษตร)
พัฒนามาตรฐานกลางสินค้ าผักผลไม้ เพื่อการส่งออก (มกอช.)
พัฒนาเกษตรกรรู้จกั เทคนิคการจัดการโลจิสติกส์เพื่อการส่งออก (สอ.)
พัฒนาศูนย์สนิ ค้ าเน่าเสียง่ายเพื่อสนับสนุนการส่งออ (คน.)
ขยายตลาดและเพิ่มช่องทางจาหน่ายผักผลไม้ ไทยในต่างประเทศ (สอ.)
พัฒนาความร่วมมือกับท่าเรื อ/ท่าอากาศยานในต่างประเทศเพื่อเป็ นประตูการค้ าผักผลไม้ สง่ ออกของไทย
47
ผ
AEC
ผ

AEC

๊
ผ
ฑ

ศ
/
ผ
ษ
ษ
ผ
ผ
ฑ
ฑ
ฟฟ


ผ


ผ
ฑ
ฑ
ฟฟ
ฟฟ

ษ
ผ

ฟ
(


/
ฑผ
ฑ
)
ฟ
/
ษ
กรณีศึกษาการ
จัดทา
ยุทธศาสตร์
การค้ าอาเซียน
ในระดับ
จังหวัด: ระยอง
ษ



 ศ
/
ศ
/
ศ ษ
ฐ
( Curriculum
/
)
ITD – ASEAN Business Development
48
กรณีศึกษาการจัดทายุทธศาสตร์ การค้ าอาเซียนในระดับจังหวัด: ระยอง
• เมืองทีป่ ระชาชนอยู่ร่วมกันอย่ างมีความสุข แหล่ งท่ องเทีย่ วเชิงอนุรักษ์ แหล่ งผลิตสินค้ าเกษตร
ทีม่ ีคุณภาพมาตรฐานสากล แหล่ งผลิตอุตสาหกรรมทีเ่ ป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม กับความพร้ อมสู่
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
• พันธกิจของจังหวัด
– พัฒนาการท่องเที่ยวของจังหวัดให้ มีมลู ค่าทางเศรษฐกิจควบคู่กบั การอนุรักษ์ ทรัพยากรการท่องเที่ยวให้ คงสภาพเดิมไว้ ให้ มากที่สดุ
– ส่งเสริมให้ มีการผลิตสินค้ าเกษตรและอาหารที่มีประสิทธิภาพ เสริมสร้ างความมัน่ คงด้ านอาหารและพลังงานอย่าง
เหมาะสมและยัง่ ยืน สามารถสร้ างมูลค่าเพิ่ม สอดคล้ องกับความต้ องการ และมีมาตรฐานปลอดภัยต่อผู้บริโภคทั ้ง
ภายในและต่างประเทศ พัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรและโครงสร้ างพื ้นฐานการเกษตร
อย่างพอเพียง
– ผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์โดยใช้ องค์ความรู้เพื่อสร้ างความแตกต่างและความโดดเด่น
– พัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้ เป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้ อม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ร่วมกับชุมชนได้ อย่างยัง่ ยืน
– พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและสังคมระยองให้ มคี วามเข้ มแข็งและดารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
– พัฒนาให้ จงั หวัดระยองเป็ นศูนย์กลางการท่องเที่ยว การค้ า การลงทุน การผลิตสินค้ าและบริการในภูมิภาคอาเซียนบน
ฐานปั ญญา นวัตกรรม ความคิดสร้ างสรรค์ และเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้ อม
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
49
กรณีศึกษาการจัดทายุทธศาสตร์ การค้ าอาเซียนในระดับจังหวัด: ระยอง
• กลยุทธ์ ของจังหวัดระยองสู่อาเซียน
– พัฒนาบุคลากรทุกภาคส่วนให้ มีศกั ยภาพในการพัฒนาคุณภาพสินค้ าและบริ การและการอยู่ร่วมกันในสังคม
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
– ยกระดับทักษะฝี มือแรงงานเพื่อตรี ยมความพร้ อมของแรงงานไทยเข้ าสูต่ ลาดแรงงานในภูมิภาคอาเซียน
– ส่งเสริ มการใช้ และการอนุรักษ์ ภาษาท้ องถิ่นและการใช้ ภาษาไทยอย่างถูกต้ องควบคูก่ บั การเรี ยนรู้ภาษาอังกฤษเป็ น
ภาษาต่างประเทศหลัก รวมทังการเรี
้
ยนรู้ภาษาสากลอื่นที่เหมาะสมและภาษาประเทศเพื่อนบ้ าน ตลอดจนการเรี ยนรู้
วัฒนธรรมและสร้ างความเข้ าใจในวิถีชีวิตของคนในกลุม่ ประเทศอาเซียนเพื่อรองรับการเป็ นประชาคมอาเซียน
– ยกระดับการให้ บริ การด้ านสุขภาพและบริ การด้ านสาธารณสุขและความต้ องการอย่างมีประสิทธิภาพ และมาตรฐาน
การให้ บริ การเพื่อก้ าวสูก่ ารเป็ นศูนย์กลางการให้ บริ การสุขภาพของภูมิภาค
– พัฒนาระบบสาธารณูปโภคเพื่อรองรับการพัฒนาและความต้ องการอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทังพั
้ ฒนาการขนส่ง
และโลจิสติกส์ให้ มีประสิทธิภาพและได้ มาตรฐานสากลสามารถเชื่อมโยงอานวยความสะดวกในการเดินทาง การค้ า
และการขนส่งสินค้ าข้ ามแดนและผ่านแดน
– พัฒนาการท่องเที่ยว การค้ า การลงทุน การผลิตสินค้ าและบริ การให้ มีคณ
ุ ภาพและได้ มาตรฐานการเข้ าสู่ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
50
กรณีศึกษาการจัดทายุทธศาสตร์ การค้ าอาเซียนในระดับภาคเอกชน: สภาหอการค้ าฯ
• หอการค้ าไทยได้ จดั ทายุทธศาสตร์ ที่เป็ นของภาคเอกชนเองเพื่อรองรับการรวมกลุ่มประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โดยกาหนดเป็ น
• แผนยุทธศาสตร์ หลัก 6 ยุทธศาสตร์ ได้ แก่ ยุทธ์ ศาสตร์ ท่ ี 1 การปรับโครงสร้ างเศรษฐกิจ
ยุทธ์ ศาสตร์ ท่ ี 2 การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ยุทธ์ ศาสตร์ ท่ ี 3 การพัฒนาทักษะ
และองค์ความรู้ ยุทธ์ ศาสตร์ ท่ ี 4 การส่งเสริ มจริ ยธรรมและธรรมาภิบาล ยุทธ์ ศาสตร์ ท่ ี 5
รักษาสิ่งแวดล้ อมและคุณภาพชีวิต ยุทธ์ ศาสตร์ ท่ ี 6 การป้องกันและเฝ้าระวังปั ญหา
• แผนยุทธศาสตร์ 7 กลุ่มธุรกิจ ได้ แก่ ยุทธศาสตร์ การพัฒนากลุ่มธุรกิจเกษตรและ
อาหาร ยุทธศาสตร์ การพัฒนาธุรกิจบริการสุขภาพ ยุทธศาสตร์ การพัฒนาธุรกิจอัญมณี
และเครื่องประดับ ยุทธศาสตร์ การพัฒนาธุรกิจสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ ม ยุทธศาสตร์ การ
พัฒนาธุรกิจท่ องเที่ยว ยุทธศาสตร์ การพัฒนาธุรกิจก่ อสร้ างและอสังหาริมทรัพย์ และ
ยุทธศาสตร์ การค้ าชายแดน
• แผนยุทธศาสตร์ 18 กลุ่มจังหวัด
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
51
กรณีศึกษาการจัดทายุทธศาสตร์ หอการค้ าฯ: กลุ่มอาหาร
• วิสัยทัศน์ (Vision) “เป็ นผู้นาด้ านการผลิตและจาหน่ายสินค้ าอาหารที่ปลอดภัย มัน่ คง และยัง่ ยืนต่อสังคม
และสิ่งแวดล้ อม”
• เป้าประสงค์ (Goals)
– เพื่อพัฒนาสินค้ าเกษตรและอาหารให้ มีความปลอดภัยและได้ มาตรฐานโลก
– เพื่อส่งเสริ มการผลิตสินค้ าเกษตรและอาหาร เพื่อให้ เกิดความมัน่ คงทางด้ านอาหาร กับประเทศไทย
– เพื่อส่งเสริ มให้ ภาคการผลิตเกษตรและอาหารเติบโตอย่างยัง่ ยืน โดยไม่ทาร้ ายสิ่งแวดล้ อม
• ยุทธศาสตร์ การพัฒนา (Development Strategies)
ศักยภาพที่โดดเด่นคือที่ตงทางภู
ั้
มิศาสตร์ และระบบนิเวศของไทยเหมาะสมต่อการผลิตและการ
ลงทุนทางด้ านเกษตรและอาหาร อีกทังภาคการเกษตรของไทยสามารถผลิ
้
ตอาหารได้ เพียงพอสาหรับการ
บริ โภคทังในประเทศและเพื
้
่อการส่งออกลาดับต้ นๆ ของโลก หอการค้ าไทยจึงได้ กาหนดยุทธศาสตร์ การ
พัฒนากลุม่ ธุรกิจเกษตรและอาหารเป็ น 5 ประเด็นยุทธศาสตร์
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
52
กรณีศึกษาการจัดทายุทธศาสตร์ หอการค้ าฯ: กลุ่มอาหาร
ประเด็นยุทธศาสตร์ 1: การผลิตอาหารปลอดภัยตลอดทัง้ ห่ วงโซ่ อุปทาน เพื่อพัฒนา
สินค้ าเกษตรและอาหารให้ มีความปลอดภัยและได้ มาตรฐานโลก
– บังคับให้ ผ้ ผู ลิต ผลิตตามมาตรฐานขันต
้ ่าที่ทาการบังคับใช้ ในปั จจุบนั ตามข้ อตกลงองค์กร
มาตรฐานสากล
– ส่งเสริ มให้ มีการผลิต ให้ ได้ มาตรฐานของประเทศผู้นาเข้ าและมาตรฐานเอกชน เช่น Thai GAP
เป็ นต้ น (หอการค้ าไทย โดยความร่วมมือของภาครัฐ)
– การผลักดันให้ เกิดกฎหมายใหม่ที่สอดคล้ องกับกฎระเบียบและมาตรฐานความปลอดภัยของโลก
(รัฐร่วมกับเอกชน)
– สร้ างกระบวนการผลิตให้ เกิดการความปลอดภัยทังระบบห่
้
วงโซ่อปุ ทานอาหาร
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
53
กรณีศึกษาการจัดทายุทธศาสตร์ หอการค้ าฯ: กลุ่มอาหาร
ประเด็นยุทธศาสตร์ 2: การสร้ างความมั่นคงด้ านวัตถุดบิ เพื่อรักษาฐานการ
ผลิตสินค้ าเกษตรและอาหารให้ เพียงพอต่อความต้ องการบริโภคภายในประเทศ
– ส่งเสริมระบบ Plantation ให้ มีมากขึ ้น ผ่านการผลิตโดยเกษตรกรรายย่อยมารวมตัว
กันเป็ นกลุม่ เกษตรกร เช่น สหกรณ์การเกษตร บริษัทร่วมทุนระหว่างเกษตรกรกับ
เอกชน เป็ นต้ น
– ส่งเสริมให้ ภาคเอกชนมีความเข้ มแข็งในการจัดหาวัตถุดิบในต่างประเทศ
– ส่งเสริมให้ ความรู้ แก่ประเทศผู้ผลิตวัตถุดิบให้ ไทย ผลิตวัตถุดิบตามมาตรฐาน
– สนับสนุน ด้ านการเงินและการคลังให้ เอกชนสามารถลงทุนในประเทศผู้ผลิต
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
54
กรณีศึกษาการจัดทายุทธศาสตร์ หอการค้ าฯ: กลุ่มอาหาร
ประเด็นยุทธศาสตร์ 3: พัฒนาตลาดสินค้ าเกษตรและอาหาร เพื่อเพิ่มขีด
ความสามารถในการสร้ างรายได้ ให้ แก่กลุม่ ธุรกิจเกษตรและอาหาร
– พัฒนาผู้สง่ ออกให้ เกิดความชานาญในตลาดที่มีความต้ องการแตกต่างกันโดย
แลกเปลี่ยนข้ อมูลซึง่ กันและกันอย่างสม่าเสมอ
– ขยายตลาด
– พัฒนาช่องทางการตลาดโดยเชื่อมโยงกับผู้นาเข้ า
– สร้ างภาพลักษณ์ให้ ประเทศไทยเป็ นแหล่งผลิตอาหารที่มีความปลอดภัย อย่างยัง่ ยืน
พร้ อมประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อทุกชนิดให้ แพร่หลายทัว่ โลก
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
55
กรณีศึกษาการจัดทายุทธศาสตร์ หอการค้ าฯ: กลุ่มอาหาร
ประเด็นยุทธศาสตร์ 4: ปรับปรุ ง และแก้ ไขกฎระเบียบ เพื่อเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขันของภาคธุรกิจการเกษตรและอาหาร ทังใน
้
ปั จจุบนั และอนาคต
– ติดตามมาตรการทางการค้ า (NTM) ให้ ทนั สมัยและทันต่อสถานการณ์
– การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแล ะการบังคับใช้ กฎระเบียบที่เป็ นอุปสรรคต่อ
การดาเนินงาน
– สร้ างแรงจูงใจให้ เกิดการรวมกลุม่
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
56
กรณีศึกษาการจัดทายุทธศาสตร์ หอการค้ าฯ: กลุ่มอาหาร
ประเด็นยุทธศาสตร์ 5: สร้ างสิ่งอานวยความสะดวกทางการผลิต
และการตลาดสาหรับสินค้ าเกษตร และอาหาร เพื่อใช้ เป็ นฐานใน
การขับเคลื่อนภาคธุรกิจเกษตรและอาหารต่อไป
– ส่งเสริ มให้ มีระบบโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพ
– ส่งเสริ มพัฒนาระบบการเงินเพื่อสินค้ าเกษตรและอาหาร
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
57
การฝึ กภาคปฏิบัติ
• การฝึ กปฏิบตั ิการจัดทายุทธศาสตร์ การค้ าอาเซียนสาหรับหน่วยงาน
–
–
–
–
–
–
–
–
–
–
–
หน่วยงานภาครัฐที่ทาหน้ าที่กากับ/ส่งเสริ มด้ านการพาณิชย์
หน่วยงานภาครัฐที่ทาหน้ าที่กากับ/ส่งเสริ มด้ านการคลัง การเงิน ประกันภัย
หน่วยงานภาครัฐที่ทาหน้ าที่กากับ/ส่งเสริ มด้ านการอุตสาหกรรมและการลงทุน
หน่วยงานภาครัฐที่ทาหน้ าที่กากับ/ส่งเสริ มด้ านการขนส่งและโลจิสติกส์
หน่วยงานภาครัฐที่ทาหน้ าที่กากับ/ส่งเสริ มด้ านแรงงาน
หน่วยงานภาครัฐที่ทาหน้ าที่กากับ/ส่งเสริ มด้ านการเกษตรและสหกรณ์
หน่วยงานภาครัฐที่ทาหน้ าที่กากับ/ส่งเสริ มด้ านการพลังงาน
หน่วยงานภาครัฐที่ทาหน้ าที่กากับ/ส่งเสริ มด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยงานที่เป็ นสภาวิชาชีพ / สมาคมการค้ า
หน่วยงานที่เป็ นองค์กรอิสระ
หน่วยงานภาครัฐระดับภูมิภาค (กลุม่ จังหวัด จังหวัด องค์การบริ หารส่วนจังหวัด องค์การบริ หารส่วนตาบล)
• การนาเสนอยุทธศาสตร์ ระยะสั ้น/ระยะยาวของหน่วยงานต่อการรองรับการค้ าอาเซียน
ITD – ASEAN Business Development Curriculum
58