เจรจาต่อรอง

Download Report

Transcript เจรจาต่อรอง

เทคนิควิธีการส่ งเสริมการมีส่วนร่ วมของประชาชน
นางสายพิรณ
ุ น้ อยศิริ
ผูอ้ านวยการสถาบันการ
เทคนิคการเจรจาต่ อรอง
หมายถึง การสื่อสารความคิดระหว่างบุคคล โดยอาศัยการสร้ างสัมพันธภาพที่ดี
อันจะนาไปสูข่ ้ อตกลงร่วมกัน ในปั ญหาความขัดแย้ งต่าง ๆ
หมายถึง การหาข้ อตกลงร่วมกันระหว่าง 2 ฝ่ าย ขึ ้นไป โดยใช้
สันติวิธีเน้ นไปที่การแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ ซึง่ กันและกัน
หมายถึง กระบวนการแก้ ไขปั ญหาหรื อความขัดแย้ ง
ระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้ องมากกว่า 2 ฝ่ ายขึ ้นไปโดยวัตถุประสงค์
ของผู้เข้ าร่วมเจรจาต่อรองนันต้
้ องการที่จะหาข้ อสรุป
เป็ นที่ยอมรับของทุกฝ่ าย
เมื่อไรจะทาการเจรจาต่ อรอง
1.เมื่อมีความขัดแย้งหรื อความเห็นไม่ตรงกันหรื อมีช่องว่าง
ในการสื่ อสารระหว่างผูท้ ี่เข้าร่ วมการเจรจาต่อรอง
2.เมื่อผูเ้ ข้าร่ วมเจรจามีเจตจานงต้องการหาข้อสรุ ปรร่ วมกัน
3.ต้องมองเห็นร่ วมกันว่าผลจากการเจรจาต่อรอง อาจมีผลสรุ ปรออกมาหลายแนวทาง ได้แก่
• ฝ่ ายหนึ่งอาจได้ปรระโยชน์
• อีกฝ่ ายหนึ่งเสี ยปรระโยชน์
• อาจได้ปรระโยชน์ร่วมกันทุกฝ่ าย
แนวทางการเจรจาต่อรองที่นิยม และนามาใช้ในทางปรฏิบตั ิ
ได้แก่ แนวทางจิตวิทยา (Psychological Approach)
การประยุกต์ ใช้ หลักจิตวิทยาในการเจรจาต่ อรอง ซึ่งต้ องคานึงถึง
1) นิสัย (Nature)
หลักการเจรจาต่ อรองนั้นสิ่ งทีส่ าคัญทีส่ ุ ดสาหรับผู้ต่อรอง
ก็คอื การทาความเข้ าใจกับหลักการ “รู้เขารู้ เรา” รู้จุดอ่ อน
รู้ ข้อดีของคู่เจรจา
2) อารมณ์ และเหตุผล (Emotion and Rational Side)
มนุษย์ ทุกคนมีพฤติกรรมทีแ่ สดงออกมาสองด้ าน คือ ด้ านอารมณ์ และเหตุผล
ในการเจรจาต่ อรอง ผู้เจรจาจะต้ องตระหนักถึงข้ อเท็จจริงทั้งสองด้ านของมนุษย์
เช่ น เขากาลังเครียดหรือโมโหการเจรจาด้ วย อาจทาให้ สถานการณ์ ยงิ่ เลวร้ ายลงได้
ในบางครั้ง “ความเงียบ (Silence)” คือปัจจัยสาคัญสู่ ความสาเร็จในการเจรจาต่ อรอง
3) สถานภาพ (Status) และบทบาท (Roles)
มนุ ษย์ ทุก คนจะมีสถานภาพที่แตกต่ า งกันในแต่ ล ะสถานภาพย่ อ มมีบทบาทที่
หลากหลายแตกต่ างกันเช่ น คนที่มีสถานภาพเป็ นเพือ่ นกัน บทบาทในฐานะเพือ่ น
อาจมี สั ม พั น ธภาพที่ ดี ต่ อ กั น มาก่ อ น ผู้ บ ริ ห ารกั บ ผู้ ป ฏิ บั ติ รั ฐ กั บ ประชาชน
สถานภาพทีแ่ ตกต่ างกัน ทาให้ ต้องศึกษาบทบาท ภารกิจ ความรับผิดชอบ
อานาจหน้ าที่ ทีเ่ กีย่ วข้ องกับเรื่องของผลประโยชน์ ทจี่ ะดาเนินการเจรจา
การคิดเชิง
ระบบ
บรรยากาศ
ทีเ่ ป็ นมิตร
เชื่อมั่นใน
ตัวเอง
มีปฏิภาณแก้ ปัญหา
เฉาะหน้ า
มีจริยธรรม
สุขุม
รอบคอบ
คุณสมบัตนิ ัก
ต่ อรองที่มี
ประสิทธิภาพมี
10 อย่ าง
ความสามารถในการ
หาเหตุผล
ชัดเจนในประเด็น
ประนีประนอมประสาน
ประโยชน์
การมีท่าที
อ่อนโยนรับฟัง
การเคารพ
ให้ เกียรติ
ที่เจรจา
ทักษะในการ
ตัดสินใจ
การโน้ มน้ าวใจ
การยอมรับและ
เข้ าใจเงื่อนไข
อคติในการ
ตัดสินใจที่ทาให้
การเจรจาต่ อรอง
ไร้ ประสิทธิภาพ
ความแตกต่ างกัน
ของวัฒนธรรม
กับการเจรจา
ต่ อรอง
ประเด็นที่มีความ
เกี่ยวข้ องที่ต้อง
คานึงถึงในการ
เจรจาต่ อรอง
ความแตกต่ าง
ของเพศกับการ
เจรจาต่ อรอง
บุคลิกลักษณะมี
ผลต่ อการเจรจา
ต่ อรอง
เทคนิคสุนรียสนทนา
“สุ นทรียสนทนา” หรื อ Dialogue เปร็ นการรับฟังวิธีคิด วิธีการให้คุณค่า ความหมาย
ของคนอื่นต่อสิ่ งที่พดู เพื่อเรี ยนรู ้ซ่ ึ งกันและกัน ละทิ้งสิ่ งที่แต่ละคนยึดถือ
เพื่อฝ่ าข้ามพรมแดนแห่งตัวตนไปรพร้อมๆกัน
หลักปฏิบัติ “สุนทรี ยสนทนา”
บรรยากาศ
ปลอดภัย
ฟั งอย่ าง
ลึกซึง้
ยอมรั บและ
เข้ าใจโดย
ปราศจาก
เงื่อนไข
เท่ าเทียม
กัน
ผ่ อนคลาย
การจัดการวงสนทนาที่ดี แบบ “สุนทรียสนทนา”
การจัดการวงสนทนา ควรคานึงถึงปัจจัยต่ างๆ ภายใต้ คาพูดสั้ นๆว่ า SPEAKING
1. S : Setting หมายถึง สถานที่ และเวลา
2. P : Process หมายถึง กระบวนการ
3. E : Ends หมายถึง เปร้าหมาย
4. A : Attitude หมายถึง การมีเจตคติที่ดีต่อคนอื่น
5. K : Key Actor หมายถึง คณะทางานที่อยูเ่ บื้องหลัง
ในการอานวยความสะดวกต่างๆ
6. I : Instrument หมายถึง เครื่ องมือของ
7. N : Norms of Interaction หมายถึงบรรทัดฐานของการปรฏิสัมพันธ์
8. G : Genre หมายถึง ปรระเภทของการพูดคุย
ดังนัน้ การทา“สุนทรี ยสนทนา” จึงควรทาอย่างต่อเนื่อง
และสม่าเสมอ คนในวงสนทนาจะเป็ นกระจกเงาให้ กนั และ
กัน อย่างปราศจากอคติ เพื่อเปิ ดโอกาสให้ แต่ละคนเรี ยนรู้
ตนเอง และแก้ ไขปรับปรุงตนเอง เพื่อให้ สามารถทางาน
ร่วมกัน และอยูร่ ่วมกับคนอื่นได้ อย่างมีความสุข สามารถ
ทางานที่ยากๆที่ไม่สามารถจัดการด้ วยวิธีการธรรมดาได้
ประชาพิจารณ์ (Public Hearings)
ประชาพิจารณ์ หมายถึง รั บฟั งความคิดเห็นของประชาชน
ในเรื่ องที่มีผลกระทบชีวติ ของประชาชนทุกคน
จะต้ องกระทาขึน้ ก่ อนมีการ
ตัดสินใจ
ข้ อสรุ ปจากการประชาพิจารณ์
เป็ นเพียงข้ อเสนอแนะ
หลักการ
ประชา
พิจารณ์
เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูได้ รับ
ผลกระทบแสดงความคิดเห็น
เป็ นไปโดยเที่ยงตรงและเปิ ดเผย
องค์ ประกอบในกระบวนการประชาพิจารณ์
การจัดทา
รายงานผล
การปฏิบัติ
การ
ขับเคลื่อน/
ปฏิบัตติ าม
ผลการ
ประชา
พิจารณ์
ขัน้ ตอนการ
ดาเนินการ
ทาประชา
พิจารณ์
เจ้ าหน้ าที่
ของรั ฐ
ผู้รับผิดชอบ
การประชา
พิจารณ์
งบประมาณ
องค์ ประกอบ
ในกระบวนการ
ประชาพิจารณ์
กระบวนการ
สนับสนุน
ประชา
พิจารณ์
ระยะเวลาใน
การจัดทา
ประชา
พิจารณ์
บุคคลที่เข้ า
ร่ วมในการ
ประชา
พิจารณ์
สถานที่จัด
ประชา
พิจารณ์ เป็ น
กลาง
โพล (Poll)
โพล คือการเก็บรวบรวมข้ อมูลที่ต้องการโดยวิธีการสารวจ
ความคิดเห็นจากผู้ที่ เกี่ยวข้ องทังหมดหรื
้
อบางส่วน
ซึง่ มีเป็ นจานวนมาก
ทาโพลไปทาไม เพื่อทราบและเผยแพร่ สถานการณ์เกี่ยวกับเรื่ องที่สนใจ
และการเปรลี่ยนแปรลงเคลื่อนไหว ให้สาธารณชนทราบและเพื่อใช้
ตัดสิ นใจดาเนินการเรื่ องต่าง ๆ ของหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวกับการ
ได้เสี ยปรระโยชน์ของสาธารณชน
ใครเป็ นผู้ทาโพล สถาบันการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัย
ธุรกิจบัณฑิตย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสติ ABAC ฯลฯ หน่วยงานของรัฐ
เช่น สานักงานสถิติแห่งชาติ รัฐวิสาหกิจต่าง ๆ หน่วยงานอื่น ๆ
เช่น พรรคการเมือง โรงงานอุตสาหกรรม