ดร.พรศรี เหล่ารุจิสวัสดิ์ - คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Download Report

Transcript ดร.พรศรี เหล่ารุจิสวัสดิ์ - คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

การบริโภคไข่ไก่ในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ:
โอกาสและอุปสรรค
ดร.พรศรี เหล่ารุจสิ วัสดิ ์
สมาคมผูผ้ ลิตผูค้ า้ และส่งออกไข่ไก่
[email protected]/ [email protected]
Tel. 085-801-7744 / 081-826-1800
การบริโภคไข่ไก่ในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ: โอกาสและอุปสรรค
1
สถานการณ์ไก่ไข่ในภาคอีสาน
2
สถานการณ์ ไก่ไข่โลก
3
พฤติกรรมการบริโภคของชาวอีสาน
4
สารอาหารบารุงสมองด้วยไข่ไอโอดีน
5
การส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่จากประเทศต่างๆ
6
การส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ของประเทศไทย
สถานการณ์ ไก่ไข่ในภาคอีสาน
สถานการณ์การเลี้ยงไก่ไข่ของภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ปี 2551
จังหวัด
นครราชสีมา
บุรีรมั ย์
ศรีสะเกษ
สุรินทร์
อุบลราชธานี
ยโสธร
ชัยภูมิ
อานาจเจริญ
ร้อยเอ็ด
ขอนแก่น
จานวนประชากร รายได้เฉลี่ยต่อหัว
(คน)
(บาท/คน)
2,565,117
56,872
1,541,650
34,312
1,441,412
31,172
1,375,560
33,452
1,795,453
39,089
539,284
34,477
1,122,647
38,426
369,476
31,131
1,307,212
38,612
1,756,101
74,487
ที่มา: www.dld.go.th กรมปศุสตั ว์ , www.nesdb.go.th/
จานวนไก่ไข่
(ตัว)
จานวนครัวเรือน
1,474,915
71,892
29,928
12,008
703,095
30,087
1,464,336
413
320,139
4,802,221
3,515
957
886
971
738
626
1,207
32
1,397
1,175
จานวนไก่ไข่ (ตัว)
/ ครัวเรือน
420
75
34
12
953
48
1,213
13
229
4,087
สถานการณ์การเลี้ยงไก่ไข่ของภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ปี 2551 (ต่อ)
จังหวัด
หนองบัวลาภู
อุดรธานี
เลย
หนองคาย
มหาสารคาม
กาฬสินธุ์
นครพนม
มุกดาหาร
สกลนคร
เฉลี่ย หรือ
รวม ทัง้ ภาค
จานวนประชากร รายได้เฉลี่ยต่อหัว
(คน)
(บาท/คน)
499,520
30,918
1,535,629
46,517
618,423
55,552
906,877
37,354
936,854
35,725
978,583
40,400
699,364
32,422
337,497
40,845
1,116,034
36,369
21,442,693
42,968
ที่มา : www.dld.go.th กรมปศุสตั ว์ , www.nesdb.go.th/
จานวนไก่ไข่
(ตัว)
7,267
451,758
83,901
406,510
145,820
35,727
614,309
939
141,287
10,796,552
272
842
66
319
691
1,404
257
175
275
จานวนไก่ไข่ (ตัว)/
ครัวเรือน
27
537
1,271
1,274
211
25
2,390
5
514
15,805
683
จานวนครัวเรือน
สถานการณ์การเลี้ยงไก่ไข่ของแต่ละภาค ปี 2551
ภาค
จานวนประชากร รายได้เฉลี่ยต่อหัว
(คน)
(บาท/คน)
จานวนไก่ไข่
(ตัว)
จานวน
ครัวเรือน
จานวนไก่ไข่
(ตัว) / ครัวเรือน
เหนื อ
ตะวันออก
เฉี ยงเหนื อ
กลาง
6,214,846
69,773
4,349,092
2,722
1,598
21,442,693
42,968
10,796,552
15,805
683
20,222,923
284,523
13,192,957
3,577
3,688
ตะวันออก
3,594,002
332,798
6,657,903
1,153
5,774
ตะวันตก
3,174,449
105,851
2,003,976
1,324
1,514
ใต้
10,117,105
98,743
3,860,622
3,918
985
รวมหรือเฉลี่ยทัง้
ประเทศ
64,766,018
136,511
40,861,102
28,499
1,434
ที่มา : www.dld.go.th, www.nesdb.go.th
จานวนไก่แยกเป็ นจานวนที่เลี้ยงและเกษตรกรแสดงเป็ นรายภาค
ภาค
ไก่ไข่ ปี 2552
ไก่ร่นุ (ตัว)*
ไก่ยืนกรง(ตัว)*
จานวน(ตัว)
ยอดรวม
9,622,404
36,500,000
46,122,404
เหนื อ
857,150
3,251,369
4,108,519
ตะวันออกเฉี ยงเหนื อ
1,650,381
6,260,276
7,910,657
กลาง
6,236,290
23,655,689
29,891,979
ใต้
878,583
3,332,666
4,211,249
ที่มา: www.dld.go.th
ปริมาณปศุสตั ว์ในของไทย และภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ
ปริมาณการเลี้ยงปศุสตั ว์ของไทย ปี 2552
โคเนื้ อ
อื่นๆ 1%
6%
เป็ ดเนื้ อ
4%
ไก่ไข่
4%
หมู
1%
ไก่เนื้ อ(936
ล้านตัว)
84%
เลี้ยงทัง้ หมด 1,444,961,735 ตัว
ที่มา: www.dld.go.th
ปริมาณการเลี้ยงปศุสตั ว์ของ
ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ปี 2552
อื่นๆ
38%
เป็ ดเนื้ อ
ไก่ไข่
2%
9%
โคเนื้ อ หมู
6% 2%
ไก่เนื้ อ
43%
เลี้ยงทัง้ หมด 85,982,036 ตัว
(ราคา ณ วันที ่ 2 มิถนุ ายน 2553)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทวประเทศ
ั่
ภาค
ไข่ไก่ (ราคาต่อฟอง)
• ราคาไข่ไก่หน้ าฟาร์ม จาก สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
เหนื อ
2.68
กลาง
2.60
ตะวันออกเฉี ยงเหนื อ
2.48
ใต้
2.78
• ราคาขายปลีก จาก กรมการค้าภายใน
3.10
จากปัญหาภัยแล้ง ทาให้ลดปริมาณการเลี้ยงไก่ลง ทาให้ปัจจุบนั ปริมาณแม่ไก่ไข่ยืนกรงทัวประเทศแหลื
่
อเพียง
ประมาณ 35-36 ล้านตัว ลดลงจากช่วงเดียวกับปี ทีแ่ ล้วกว่า 20% ทัง้ หมดนี้ ทาให้ปริมาณไข่ไก่ลดลงเหลือเพียง
25-26 ล้านฟองต่อวัน จากปกติทีม่ ีปริมาณผลผลิตราว 28-30 ล้านฟองต่อวัน
รายได้ของประชาชนในแต่ละภาค
รายภาค
2549
2550
2551
ภาคตะวันออก
295,725
328,863
332,798
กรุงเทพและปริมณฑล
296,657
316,138
327,321
ภาคกลาง
186,782
205,711
241,297
ภาคตะวันตก
91,589
97,239
105,851
ภาคใต้
89,968
92,700
98,743
ภาคเหนื อ
58,171
62,921
69,773
ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ
36,160
40,165
42,968
ที่มา: www.nesdb.go.th
สถานการณ์ ไก่ไข่โลก
ประเทศผูผ้ ลิตไข่ไก่ที่สาคัญของโลก
หน่ วย : ล้านฟอง
ลาดับที่
1
2
3
4
5
6
ประเทศ
จีน
ยุโรป (27)
สหรัฐอเมริกา
อินเดีย
ญี่ปนุ่
ไทย
อื่น ๆ
รวมทัง้ โลก
เปลี่ยนแปลง (%)
2549
2550
2551
2552(p)
430,641
112,289
91,120
44,268
42,443
9,974
323,357
1,054,092
4.5
439,387
109,710
90,236
45,390
42,925
10,688
323,686
1,062,022
0.8
448,311
111,939
89,361
46,540
43,412
11,258
319,535
1,070,356
0.8
462,792
111,900
89,629
48,554
43,495
10,585
327,611
1,094,566
2.3
สัดส่วน ปี 53
(%)
477,740
42.7
10.0
111,900
89,897
8.0
50,656
4.5
43,577
3.9
10,219
0.9
335,451
30.0
1,119,440
100.0
2.3
2553(f)
หมายเหตุ: (p) ข้อมูลเบือ้ งต้น, (f) ข้อมูลคาดคะเน และ สหภาพยุโรป ตัง้ แต่ 1 มกราคม 2549 สมาชิ กทัง้ หมด 27 ประเทศ
ที่มา : FAO , ของไทยจากสมาคมผูผ้ ลิ ต ผูค้ ้าและส่งออกไข่ไก่
ประเทศผูส้ ่งออกไข่ไก่ที่สาคัญของโลก
หน่ วย : ล้านฟอง
ลาดับที่
1
2
3
4
5
6
7
ประเทศ
2549
2550
2551 (p)
2552(p)
2553(f)
จีน
อเมริกา
มาเลเซีย
บราซิล
อินเดีย
ยุโรป (27)
ไทย
อื่นๆ
รวมทัง้ โลก
เปลี่ยนแปลง (%)
1,337
1,256
1,099
241
834
8,281
259
12,323
25,630
7.5
1,311
1,258
1,177
406
697
9,032
308
13,844
28,033
9.4
1,286
1,260
1,260
683
583
9,422
475
16,058
31,027
10.7
1,234
1,320
1,285
592
567
9,786
403
17,870
33,057
6.5
1,184
1,383
1,290
835
552
10,304
400
19,716
35,664
7.9
หมายเหตุ: (p) ข้อมูลเบือ้ งต้น, (f) ข้อมูลคาดคะเน และ สหภาพยุโรป ตัง้ แต่ 1 มกราคม 2549 สมาชิ กทัง้ หมด 27 ประเทศ
ที่มา : FAO , ของไทยจากสมาคมผูผ้ ลิ ต ผูค้ ้าและส่งออกไข่ไก่
สัดส่วน ปี 53
(%)
3.3
3.9
3.6
2.3
1.6
28.9
1.1
55.3
100.0
ประเทศผูน้ าเข้าไข่ไก่ที่สาคัญของโลก
หน่ วย : ล้านฟอง
ลาดับที่
1
2
3
4
5
ประเทศ
2549
2550
2551 (p)
2552(p)
2553(f)
ฮ่องกง
สิงคโปร์
แอฟริกา
ยุโรป (27)
UAE
อื่น ๆ
รวมทัง้ โลก
เปลี่ยนแปลง (%)
1,426
987
801
1,400
1,049
923
1,375
1,114
1,063
1,366
1,198
1,232
1,358
1,289
1,427
8,003
485
8,919
20,621
9.6
9,873
479
8,879
22,603
9.6
10,570
474
10,179
24,775
9.6
11,463
488
13,784
29,531
19.2
12,439
502
15,155
32,170
8.9
หมายเหตุ: (p) ข้อมูลเบือ้ งต้น, (f) ข้อมูลคาดคะเน และ สหภาพยุโรป ตัง้ แต่ 1 มกราคม 2549 สมาชิ กทัง้ หมด 27 ประเทศ
ที่มา : FAO
สัดส่วน ปี 53
(%)
4.2
4.0
4.4
38.7
1.6
47.1
100.0
การบริโภคไข่ไก่ของประเทศที่สาคัญ
หน่ วย : ล้านฟอง
ประเทศ
2549
2550
2551 (p)
2552(p)
2553(f)
จีน
ยุโรป (27)
สหรัฐอเมริกา
อินเดีย
ญี่ปนุ่
ไทย
อื่น ๆ
รวมทัง้ โลก
% การเปลี่ยนแปลง
429,304
112,011
89,864
43,434
42,443
9,715
217,516
944,287
3.9
438,076
110,551
88,978
44,693
42,925
10,380
213,294
948,897
0.5
447,025
113,087
88,101
45,957
43,412
10,783
204,742
953,107
0.4
461,558
113,577
88,309
47,987
43,495
10,182
207,197
972,305
2.0
476,556
114,035
88,514
50,104
43,577
9,819
208,905
991,510
2.0
หมายเหตุ: (p) ข้อมูลเบือ้ งต้น, (f) ข้อมูลคาดคะเน และ สหภาพยุโรป ตัง้ แต่ 1 มกราคม 2549 สมาชิ กทัง้ หมด 27 ประเทศ
ที่มา : FAO , ของไทยจากสมาคมผูผ้ ลิ ต ผูค้ ้าและส่งออกไข่ไก่
สัดส่วน ปี 53
(%)
48.1
11.5
8.9
5.1
4.4
1.0
21.1
100.0
อัตราการบริโภคไข่ไก่ต่อคนต่อปี ของบางประเทศ
หน่ วย : ฟองต่อคนต่อปี
ประเทศ
จีน
ยุโรป - 27
อินเดีย
บราซิล
สหรัฐฯ
ญี่ปนุ่
ไทย
มาเลเซีย
2549
329
236
40
157
304
333
2550
333
233
40
148
298
337
2551
338
238
41
139
292
341
2552 (p)
347
239
42
138
290
342
156
273
166
288
166
305
161
313
หมายเหตุ: (p) ข้อมูลเบือ้ งต้น, และ สหภาพยุโรป ตัง้ แต่ 1 มกราคม 2549 สมาชิ กทัง้ หมด 27 ประเทศ
ที่มา : FAO , ของไทยจากสมาคมผูผ้ ลิ ต ผูค้ ้าและส่งออกไข่ไก่
เปรียบเทียบปริมาณการบริโภค และอัตราบริโภคต่อคนต่อปี ของปี 2553
อัตราการบริโภคไข่ไก่ของประเทศที่สาคัญ ปี 2552 (ฟอง/คน/ปี ))
400
290
300
347
239
200
100
313
342
138
161
42
0
ที่มา : USDA, ของไทยจากสมาคมผูผ้ ลิ ตผูค้ ้าและส่งออกไข่ไก่
2552(p)
พฤติกรรมการบริโภคของชาวอีสาน
การบริโภคในภาวะปกติ
การบริโภคอาหารในภาวะปกติของคนอี สาน อาหารหลักของคนอี สานคือ ข้าว
โดยเฉพาะกลุ่มชาวอีสานที่พดู ภาษาลาว ผูไ้ ทบริโภคข้าวเหนี ยว ซึ่งกลุ่มคนที่อาศัย
อยู่ในภาคอีสานมีความสัมพันธ์กบั ข้าวมาเป็ นเวลานาน
อาหารหลักอี กประเภทคือ ปลา ซึ่ งชาวอี สานสามารถจับปลาได้ตามฤดูกาลตาม
แหล่งน้าธรรมชาติ รวมถึงมีการถนอมอาหารไว้เพื่อบริโภคตลอดปี
นอกจากนี้ ชาวอี สานยังรับประทานอาหารประเภทแมง สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ า และ
สัตว์เลื้อยคลานที่ ให้ คุณค่าทางอาหารที่ มีโปรตี นสูง เช่ น แมงกุดจี่ แมงกระชอน
แมงจี่นูน แมงตับเต่า ตักแตน
๊
กบ เขียด อึ่งอ่าง งู แย้ กระปอม(กิ้งก่า) ตุก๊ แก
สาหรับพืชผัก จะบริโภคตามฤดูกาล เช่น ฤดูร้อน-ส้มป่ อย ผักกูด มะระขี้นก, ฤดู
หนาว-ยอดพริก โหระพา ยี่หร่า ผักแพว เป็ นต้น
ที่มา : www.siamsouth.com
การบริโภคขนมหวานในโอกาสพิเศษ
การบริโภคอาหารหวานหรือขนมหวานของชาวอีสานส่วนใหญ่กท็ าในโอกาสที่ มี
งานสาคัญของชุมชน ของครัวเรือน สาหรับเลี้ยงพระ เลี้ยงคนที่ มากินมาทาน การปรุงขนม
หวานของอีสานที่รบั ประทานเป็ นประจามีน้อย
ส่วนประกอบจากข้าว
ข้ า วโคบ (หรื อ ข้ า วแตน
ห รื อ ข น ม น า ง เ ล็ ด )
ข้ า ว ต้ ม มั ด ข้ า ว ต อ ก
แตก ข้าวเม่า ข้าวหลาม
ฯลฯ
ส่วนประกอบจาก
ไม้ผลและพืชลงหัว
บวดหมากอึ ( ฟั ก ทอง)
บ ว ด เ ผื อ ก บ ว ด มั น
นึ่ งกลอย กล้วยบวดชี
การบริโภคเนื้ อในโอกาสพิเศษ
สมัยอดีต
ไม่นิยมซื้อเนื้ อจากตลาดส่ วน
ใหญ่ จ ะล้มวัวเอง เพราะเกรงว่ า
จะมี เ นื้ อ กระบื อ ปนหรื อ เนื้ อไม่
สด ชาวอี ส านนิ ยมบริ โ ภคเนื้ อ
สดๆ บริโภคสุกๆ ดิบๆ ถือว่ ามี
รสอร่ อ ยให้ ก าลั ง ดี และเป็ น
สัญลักษณ์ความเป็ นลูกผูช้ าย
ปัจจุบนั
การจัดหาและได้ ม าของเนื้ อ
จะเกิดจากผู้ประกอบการค้าเนื้ อ
โคกระบือ ชาแหละเพื่อจาหน่ าย
และชาวบ้านสามารถบริโภคเนื้ อ
โ ค ก ร ะ บื อ ไ ด้ ต ล อ ด ทั ้ง ปี ไ ม่
เฉพาะแต่ในโอกาสพิเศษเท่านัน้
การบริโภคเนื้ อปลา
ทาไมชาวอีสานถึงนิยมบริโภคเนื้ อปลา
เนื่ องจากปลามีพนั ธุ์ต่างๆ หลากหลาย ทาให้มีโอกาสได้เลือกว่าจะ
เอาปลาอะไร หลายอย่างจะต้องถูกใจบ้างจนได้ และสามารถหมุนเวียนเปลี่ยน
กันไปได้ตามฤดูกาลที่ จบั ได้ด้วย เหมือนผลไม้ที่ออกตามฤดูกาลเช่ นกัน อี ก
อย่างหนึ่ งคือ รสชาติ ของปลาย่อมแตกต่ างกัน ทาให้กินไม่เบื่อ กินกันได้ทุก
วัน เปลี่ยนทัง้ ชนิดปลาและการปรุงแต่งก็ต่างกันไปด้วย
ที่มา : “วัฒนธรรมและวิ ถีชีวิตของชาวอีสาน” , ผศ.น.สพ.ดร.วรพล เองวานิ ช
นักวิชาการเผยเด็กอีสานมีโปรตีนไมเพี
่ ยงพอตอการ
่
เลีย
้ งเซลลสมอง
์
เด็กอี สานทุกวันนี้ เป็ นเด็กที่ สุขภาพ
ไม่ ดี อ้ ว น เตี้ ย ไอคิ ว ต่า เพราะขาดไอโอดี น
ธาตุ เ หล็ก และโปรตี น ที่ เ พี ย งพอในการหล่ อ
เลี้ย งเซลสมอง จะเห็น ได้ จ ากภาวการณ์ ข าด
สารอาหารเด็กไทย อายุ 0-5 ปี ภาคอีสานมาก
สุด ร้อยละ 28.1 รองลงมา คือ ภาคใต้ ร้อยละ
26.1 ภาคเหนื อ ร้อยละ 19 และภาคกลาง ร้อย
ละ 17.3
ที่มา : หนังสือพิ มพ์มติ ชน ฉบับวันพุธที่ 12 ตุลาคม 2548 หน้ า 10
มข.เผยคนอีสานเสี่ยงเกิดโรคสูงเพราะการบริโภค
รศ.พิษณุ อุตตมะเวทิน คณบดีคณะสาธารสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
กล่าวว่า ได้ทาการวิจยั มานานกว่า 19 ปี ครอบคลุมทัง้ 19 จังหวัด ในภาคอี สาน พบว่า
พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมของคนอีสาน ก่อให้เกิดสภาวการณ์ เจ็บป่ วยสูง
กว่าประชาชนในภูมิภาคอื่นๆ
บริโภคอาหารไม่ได้สดั ส่วน
ไม่นิยมบริโภคไขมันหรือกะทิ
พฤติกรรมความเชื่อในการ
บริโภคอาหาร
สุขอนามัยในการบริโภค
อาหารไม่เหมาะสม
การให้อาหารที่ไม่เหมาะสมกับวัย
การบริโภคอาหารที่เป็ นพิษ
ต่อร่างกาย
ที่มา : http://www.newswit.net
สารอาหารบารุงสมองด้วยไข่ไอโอดีน
ไข่ + ไอโอดีน
ไข่ไอโอดีน ได้จากแม่ไก่ที่ได้รบั อาหารเสริมไอโอดีนเพื่อให้ไข่ไก่มี
ปริมาณไอโอดี นสูงขึ้นอยู่ที่ ประมาณ 100 ไมโครกรัม ซึ่ งเพี ยงพอต่ อความ
ต้ องการในแต่ ละวันของเด็ก เป็ นที่ ทราบกันดีว่าไอโอดีนมีประโยชน์ ในการ
ป้ องกันโรคคอหอยพอก เสริมไอคิว ป้ องกันการเตี้ยแคระแกร็น
ไข่ไอโอดีนมีขายทัง้ ชนิดไข่สด ไข่เค็ม ไข่ไก่และไข่เป็ ด
ที่มา : หนังสือพิ มพ์ข่าวสด
ประโยชน์ ของไข่ไก่
ประโยชน์ ต่อนักเรียนในด้านคุณค่าทางโภชนาการ
โจอั น ลัน น์ นั ก โภชนาการของมู ล นิ ธิ
โภชนาการอังกฤษขานรับว่า ไข่อุดมด้วยคุณค่าทาง
โภชนาการ โดยมีสารอาหารครบครันถึง 13 ชนิด ซึ่ ง
ทัง้ หมดรวมอยู่ในไข่แดง ขณะที่ ในไข่ขาวมีอลั บูเมน
ซึ่งเป็ นแหล่งโปรตีนสาคัญ และไม่มีไขมัน
ไข่อุดมด้วยวิตามินบี ซึ่ งมีความสาคัญต่อ
กระบวนการท างานในร่ างกาย รวมถึ ง วิ ต ามิ น เอที่
ช่ ว ยเรื่ อ งการเติ บ โตและพัฒ นาการ, วิ ต ามิ น อี ช่ ว ย
ต่ อต้ านโรคหัวใจและมะเร็งบางประเภท, วิ ตามิน ดี
ช่ ว ยให้ ร่ า งกายดู ด ซั บ เกลื อ แร่ แ ละท าให้ ก ระดู ก
แข็งแรง
ไข่ยงั มีไอโอดี น กระตุ้นการผลิตไทรอยด์
ฮอร์โมน และฟอสฟอรัส ซึ่งจาเป็ นต่อกระดูกและฟัน
ประโยชน์ ต่อนักเรียนในด้านคุณค่าทางโภชนาการ
ประโยชน์ ของไข่ไก่
ไข่แดง – สารอาหารครบ 13
ชนิด มีวติ ามิน A ช่วย เรื่อง
การเติ บ โต พัฒ นาการของ
เยาวชน
ไข่ขาว – มีอลั บูมนี ซึ่งเป็ น
แ ห ล่ ง โ ป ร ตี น ส า คั ญ +
ไอโอดีน เพื่อกระตุ้นการผลิต
ไ ท ร อ ย ด์ ฮ อ ร์ โ ม น แ ล ะ
ฟอส ฟอรั ส ซึ่ ง จ ะ เป็ นต่ อ
กระดูกและฟนั
ไอโอดีน คือ อะไร
สารไอโอดี น เป็ นธาตุเคมีท่ีเกิดขึ้น เองใน
ธรรมชาติแต่ไม่สม่าเสมอ และมีมากน้อยแตกต่าง
กันในแต่ละพืน้ ที่ พบมากในดินและแถบที่ราบลุ่ม
แม่น้ า ชายทะเล และทะเลซึง่ เป็ นผลให้พชื ผักและ
สัตว์จากทะเลมีสารไอโอดีนมากด้วย
ประโยชน์ ของไอโอดีน
สารไอโอดีน เป็ นสารอาหารที่จาเป็ นต่อร่างกาย ใช้ใน
การสร้างฮอร์โมนของต่อมไทรอยด์ ซึ่งฮอร์โมนนี้ จะเข้าสู่
กระแสเลือดทาหน้ าที่ควบคุมอวัยวะต่างของร่างกายให้ดาเนิน
ไปอย่างปกติ โดยกระตุ้นให้เกิดการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ของร่างกายโดยเฉพาะระบบสมองและประสาท นอกจากนี้ ยงั มี
ผลต่อการสร้างโปรตีนของกล้ามเนื้ อของร่างกาย และมีผลต่อ
การเปลี่ยนแปลงและเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ไขมันและ
วิตามินอีกด้วย
ประโยชน์ ของไข่ไอโอดีน
1. มี ป ริ ม าณของไอโอดี น ประมาณ 100 ไมโครกรัม ซึ่ ง
เพียงพอต่อความต้องการในแต่ละวัน ของเด็ก
2. ใช้ วิธีการตามธรรมชาติ โดยการผสมสารไอโอดีนให้ แม่
ไก่กิน เพื่อถ่ายทอดเข้าสู่ฟองไข่ อีกขัน้ ตอนหนึ่ ง
3. ไข่ไอโอดีนเป็ นอาหารที่ มีประโยชน์ มาก เพราะประโยชน์
จากไอโอดีน และประโยชน์ อื่นๆ จากไข่ไก่ เช่ น ไวตามินเอ
ธาตุเหล็ก ธาตุสงั กะสี และธาตุซีลิเนี ยม เป็ นต้น
4. สามารถเก็บรักษาและคงความสดได้นานเนื่ องจากนวล
ไข่ไม่ถกู ทาลาย
5. สามารถผลิตได้เป็ นจานวนมาก โดยมีวิธีการไม่ยุ่งยาก
และมีต้นทุนการผลิตที่ตา่
ไข่ไก่ช่วยเสริมธาตุไอโอดีน
ไข่ไก่ ที่ผลิตจากฟาร์มไก่ ในชุมชน ที่ ได้รบั อาหารเลี้ยงแม่ไก่ ไข่ และเสริม
อาหารด้วยสารโปแตสเซียมไอโอไดด์ เข้มข้นสูง จะทาให้ไข่ไก่มีปริมาณไอโอดีนเพิ่ม
สูงขึ้น และนาไข่ไปต้ มให้ อาสาสมัครในชุมชนตาบลนาพู่ จังหวัดอุดรธานี จานวน
124 คน กินกับอาหารเช้า 5 วันต่อเนื่ องกัน พบว่าค่าระดับไอโอดีนในปัสสาวะมีสูงขึน้
จากค่าปกติก่อนที่จะเริ่มทดลอง ซึ่งจุดเด่นของนวัตกรรม นี้ คือความคงตัวของธาตุ
ไอโอดีน ที่ อยู่ในรูปของสารประกอบทางอินทรียใ์ นเซลล์ของไข่แดง มีความคงตัว
และไม่เสื่อมสลายเมื่อถูกความร้อน จากการนาไปต้มให้สกุ
ที่มา : ไข่ไก่-ผักสดเสริ มไอโอดีนลดโรคเอ๋อ, กรุงเทพธุรกิ จ, 2009
อาหารภาคอีสาน ที่ทาจากไข่
• ไข่เจียวแหนม
• ไข่คลุกปลาร้า
• ก้อยไข่มดแดง !?
(ไข่เหมือนกัน)
กินไข่ กับ การพัฒนาทุนมนุษย์ในอนาคตชองอีสาน
อาหารดี มีคณ
ุ ประโยชน์
การเติบโตของเยาวชน
ทัง้ ทางร่างกาย และ
มันสมอง
(ไข่ไอโอดีน)
รายได้ / คน / ปี
ของชาวอีสานสูงขึน้
มันสมองของชาวอีสาน
ทุนมนุษย์
อีสานพัฒนา
EGG BOARD กับนโยบายการส่งเสริมบริโภคไข่ไก่
นโยบายส่งเสริมบริโภคไข่ จาก EGG BOARD
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่ม
การบริโภคและขยาย
ตลาดส่งออกไข่ไก่
เป้ าหมาย
• เพิ่มการบริโภคจาก
160 เป็ น 200 ฟอง/คน/
ปี
มาตรการดาเนินงาน
• รณรงค์การบริโภค
ไข่ไก่ในประเทศ
• พัฒนาระบบตลาด
ไข่ไก่เพื่อรองรับการ
ผลิต
• วิจยั และพัฒนาการ
แปรรูปไข่ไก่
มติครม. นายสมัคร สุทรเวช วันที่ 29 ก.ค 51
เรือ่ ง ขอปรับเพิ่มงบประมาณค่าอาหารกลางวันนักเรียน
คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการปรับเพิ่มงบประมาณ
เงินอุดหนุนค่าอาหารกลางวันนักเรียน ตามโครงการอาหาร
กลางวันในโรงเรียนประถมศึกษา จากอัตราคนละ 10 บาทต่อ
วัน เป็ นอัตราคนละ 13 บาทต่อวัน จานวน 200 วัน ตัง้ แต่
ปี งบประมาณ 2552 ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการเสนอ เพื่อ
แก้ปัญหาการขาดสารอาหารและภาวะทุพโภชนาการในเด็ก
นักเรียน
การส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่จากประเทศต่างๆ
การส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ในอเมริกา
รัฐบาล USA และ
AEB (American Egg
Board) ดาเนินการตาม
แผนการกระตุ้นการ
บริโภคไข่ไก่ ในเดือน
ตุลาคม ของทุกปี
เพื่อให้สอดคล้องกับ
งานวันไข่ไก่โลก
(World egg day) ซึ่งจะ
มีขึน้ ในช่วงเดือน
ตุลาคมของทุกปี โดย
มุ่งเน้ นในเรื่อง
การให้ความรู้ในเรื่องคุณประโยชน์ ของไข่
การให้ ค วามรู้เ รื่ อ งกระบวนการผลิ ต ซึ่ งจะเสริ ม ให้
ผู้บ ริ โ ภคทราบว่ า เกษตรกรผู้ผ ลิต ไข่ ไ ก่ จะต้ องดูแ ล
และจัด การฟาร์ม อย่ า งไร เพื่ อ ให้ ไ ด้ ไ ข่ ไ ก่ คุณ ภาพดี
และมีความปลอดภัยต่อการบริโภคของมนุษย์.
กระตุ้นผู้บริโภคให้เข้ามามีส่วนร่วมกับ
ผู้ผลิตไข่ไก่ในการต่อสู้กบั ความอดอยาก
และความหิวโหยของมวลมนุษยชาติ
การส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ในอังกฤษ
การส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ในอังกฤษ
ปัญหาของธุรกิจการเลี้ยงไก่ไข่ คือ เรื่องที่ไข่ไก่ไม่มีความแตกต่างกัน
(ไข่ไก่มองภายนอกเป็ นไข่เหมือนกัน ไม่แตกต่างกัน)
ดังนัน้ รัฐบาลอังกฤษและผู้ผลิตไข่ไก่ของอังกฤษจึงต้องสร้างความแตกต่างระหว่างไข่ไก่ของพวกเขากับไข่ไก่
ของประเทศอื่นๆ และกระตุ้นให้สาธารณชนหันมาบริโภคไข่ไก่ของอังกฤษ
ก่อตัง้ สภา
อุตสาหกรรม
ไข่ไก่แห่ง
อังกฤษ กับ
กิจกรรม
รณรงค์การ
บริโภคไข่ไก่
เต็มรูปแบบ
2529
ก่อตัง้
คณะกรรมก
ารไข่ไก่
อังกฤษ
พัฒนาการ
อีกขัน้ หนึ่ ง
ขององค์กรที่
ดูแลไข่ไก่
2514
ก่อตัง้
คณะกรรมก
ารตลาดไข่
ไก่แห่ง
อังกฤษ เพื่อ
ทาให้ตลาด
ไข่ไก่มี
เสถียรภาพ
2500
สงครามโลก
ครังที
้ ่ 2 กับ
การจัดสรร
ผลผลิตไข่ไก่
ให้กบั
ผูบ้ ริโภค
2482 - 2488
2471
เริ่มต้นใช้
เครื่องหมาย
การค้า
แห่งชาติ เพื่อ
สร้างความ
แตกต่างใน
คุณภาพของ
ไข่ไก่
การส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ในญี่ปนุ่
US Grain Council ได้จดั กิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ และสร้างความเติบโต
ให้กบั อุตสาหกรรมสัตว์ปีกของญี่ปนุ่ และนาไปสู่ความต้องการอาหารสัตว์จาก
สหรัฐอเมริกาเพิ่มขึน้
โครงการบริโภคไข่วนั ละ 1 ฟอง
โครงการบริ โภคไข่ ว นั
ละ 1 ฟอง โดยท าการ
ติ ด ป้ ายโฆษณาบนรถ
โดยสารสาธารณะ
เพื่ อ ให้ ผู้บ ริ โ ภคทราบ
ถึงสารอาหารที่ ได้จ าก
ไข่
จัดกิจกรรมแจกกล่องใส่ไข่
จัดกิ จกรรมแจกกล่ องใส่
ไข่ เมื่ อ ซื้ อ ไข่ ไ ก่ ต ัง้ แต่ 6
ฟองขึ้นไป จะได้รบั กล่อง
ใส่ ไ ข่ฟรี ผลที่ ได้จ ากการ
จั ด กิ จ ก ร ร ม นี้ คื อ
สามารถแจกกล่ อ งไ ป
ทัง้ หมด 1.5 ล้ า นกล่ อ ง
ภายใน 10 โมงเช้า
การส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ในแคนาดา
แคนาดามีตวั แทนตลาดไข่ไก่ (CEMA: The Canadian
Egg Marketing Agency) ซึ่ งเกิดจากการรวมตัวของ
คณะกรรมการการตลาดไข่ ไ ก่ จ ากทุ ก จัง หวัด รับ ผิ ด ชอบ
จัดการด้ านการผลิ ต และการตลาดไข่ ไ ก่ ของ แคนาดา โดย
คณะกรรมการดังกล่าวจะบริหารผลผลิตไข่ไก่ ราคา การตลาด
และส่ ง เสริ ม การบริ โ ภคไข่ ไ ก่ ใ นแคนาดาอย่ า งครบวงจร
คณะกรรมการมีความมันใจว่
่ าวิธีการนี้ จะช่วยให้ผบู้ ริโภคชาว
แคนาดา ได้ บ ริ โภคไข่ ไ ก่ คุ ณ ภาพดี ใ นราคาที่ เ หมาะสม
ขณะเดี ย วกัน ผู้ผ ลิ ต ไข่ ไ ก่ ไ ด้ ร บั ผลตอบแทนทางธุร กิ จ และ
สามารถจ่ า ยผลตอบแทนให้ ก ับ แรงงานในฟาร์ม ได้ อ ย่ า ง
เหมาะสมเช่นกัน
การส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ในออสเตรเลีย
ก ลุ่ ม ผู้ ผ ลิ ต ไ ข่ ไ ก่
ออสเตรเลีย ยังได้จดั ให้
มี ก า ร ป ร ะ ส า น แ ล ะ
ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั น ทั ้ ง
ร ะ บ บ เ พื่ อ พั ฒ น า
คุณภาพไข่ไก่
มี ก า ร ร ณ ร ง ค์ ด้ ว ย
ข้อความ “คุณชอบไข่ไก่
แค่ ไ หน”
กับ อี ก 4
ป ร ะ โ ย ค สั ้ น ๆ ที่
น่ าสนใจ ในนิตยสารชื่ อ
ดังทัวออสเตรเลี
่
ย
การจัดเรียงสินค้าไข่ไก่
ณ จุดขาย ให้เป็ น
หมวดหมู่ เพื่อเพิ่ม
ยอดขาย
การตัง้ The
Heart
Foundation’s Tick เพื่อ
ดูแลสุข ภาพ โดยมู ล นิ ธิ
โ ร ค หั ว ใ จ แ ห่ ง
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียประสบปัญหาไข่ล้นตลาด และราคาตกตา่ อย่างมาก ในปี 2548 และการระบาดของโรคไข้หวัดนกในส่วนต่าง ๆ ของโลก
การส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ในต่างประเทศ
การส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ของประเทศไทย
โครงการไข่โรงเรียนทาให้เกษตรกรรายได้มนคง
ั่
ภาค
กลาง
จานวน
งบประมาณ
จานวน
ปริมาณบริโภคไข่ ปริมาณบริโภคไข่ต่อปี
นักเรียน
ค่าอาหาร
โรงเรียน
ต่อสัปดาห์ (ฟอง)
การศึกษา (ฟอง)
(คน)
กลางวัน (บาท)
6,496 1,993,651
5,980,953
239,238,120
607,664,824.80
ตะวันออก 1,824
566,957
1,700,871
68,034,840
172,808,493.60
เหนื อ
4,030 776,638
ตะวันออก
13,820 3,374,583
เฉี ยงเหนื อ
ใต้
4,505 1,209,227
2,329,914
93,196,560
236,719,262.40
10,123,749
404,949,960
1,028,572,898.40
3,627,681
145,107,240
368,572,389.60
ตะวันตก
413,072
1,239,216
49,568,640
125,904,345.60
32,262 8,334,128
25,002,384
1,000,095,360
2,540,242,214.40
รวม
1,587
ที่มา : กรมการค้าภายใน, สานักการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
หมายเหตุ: 1. งบค่าอาหารกลางวัน คานวนจาก ราคาไข่ขายส่งไข่ไก่ เฉลีย 5 เดือนแรกของปี 2553 ฟองละ 2.54 บาท
2. เวลาเรียน จานวน 200 วัน หรือประมาณ 40 สัปดาห์ ต่อปี การศึกษา
ระบบเศรษฐกิจของประเทศเกิดการหมุนเวียน
4.เ กิ ด ก า ร พั ฒ น า ด้ า น
วิ ชาการและเทคโนโลยี
การผลิ ตการตลาด อย่า ง
ต่อเนื่ อง
3.เกิดการจ้างงาน
มากขึน้
5.สร้างชื่อเสียงให้กบั ประเทศมากขึน้
รัฐ เกษตรกร
และผูผ้ ลิต
ส่งเสริมให้
ประชาชน
บริโภค มากขึน้
ประชากร
บริโภคเสินค้า
เกษตรมากขึน้
เกษตรกร
และผูผ้ ลิตมี
การพัฒนา
สินค้า
คุณภาพ
1.สร้างรายได้ให้กบั
เกษตรกรมากขึน้
2.ส ร้ า ง ร า ย ไ ด้ ใ ห้ กั บ
เศรษฐกิ จมวลรวมกั บ
ประเทศมากขึน้
กรณี ศึกษาธุรกิจไก่ไข่ในภาคอีสาน
1. การขยายตลาดในท้องถื่นอีสาน และเพื่อนบ้านของ
“เครือศรีวิโรจน์”
2. โครงการเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวันนักเรียน ของเครือเจริญ
โภคภัณฑ์
การขยายตลาดในท้องถื่นอีสาน และเพื่อนบ้านของ “เครือศรีวิโรจน์ ”
แนวคิดในการพัฒนาอุตสาหกรรมไก่ไข่ (Ovulation Concept)
“ใช้ระบบการค้าแบบแลกเปลีย่ นสินค้า เนื อ่ งจากภาค
อีสานไกลทะเลก็สามารถนาอาหารทะเลมาจาหน่ าย ซึง่ เป็ น
แนวคิดของผูป้ ระกอบการท้องถิน่ ในการพึง่ พากันและกัน”
ปริมาณไก่ไข่ที่เลี้ยง: 1.6 ล้านตัว
ปริมาณไข่ไก่:
1,200,000 ฟอง / วัน
ช่องทางจัดจาหน่ าย: ตลาดท้องถื่นในภาคอีสานและ
เวียดนาม, ลาว
ที่มา : หนังสือพิ มพ์ข่าวสด
โครงการพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพอากาศและระบบการกระจายอากาศ
• ควบคุมการกระจายลมเข้าออกในโรงเรือนอย่างเหมาะสม
• ควบคุมอุณหภูมิและความชื้นทาให้ไก่ไม่เป็ นโรคลดอัตราการ
ตายและได้ผลผลิตตามมาตรฐาน
• นามูลไก่สดไปผลิตไบโอแก๊ส เป็ นเชื้อเพลิงในการอบปุ๋ยยูเรียเป็ น
เม็ด
โครงการเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวันนักเรียน ของเครือเจริญโภคภัณฑ์
ที่มาของโครงการ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทรงห่ วงใยในภาวะ
โภชนาการของเด็กนักเรียน และเยาวชน ซึ่งเป็ นกาลังสาคัญของประเทศชาติในอนาคต
ทรงมี ด าริ ว่ า “เยาวชนเหล่ า นี้ ค วรจะได้ บ ริ โ ภคอาหารอย่ า งถูก หลัก โภชนาการ โดย
โรงเรียนจัดให้มีการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ขึ้นภายในโรงเรียน หรือสถานที่ ใกล้ เคียง เพื่อให้
โรงเรียนมีรายได้จากการประกอบกิจกรรมดังกล่าว และนามาเป็ นค่าอาหารกลางวัน
นักเรียนตลอดไป”
มูลนิธิพฒ
ั นาชี วิตชนบท สนับสนุนโดยเครือเจริญโภคภัณฑ์ จึงได้น้อมรับแนว
พระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มาดาเนินโครงการ
เลี้ ย งไก่ ไ ข่ เ พื่ อ อาหารกลางวัน นั ก เรี ย น ด้ ว ยการสนั บ สนุ น กิ จ กรรมการเลี้ ย งไก่ไ ข่ ใ น
โรงเรี ย น ซึ่ งเป็ นกิ จ กรรมหนึ่ ง ในโครงการเกษตรเพื่ อ อาหารกลางวัน นั ก เรี ย น เพือ่ น า
ผลผลิตจากกิจกรรมมาประกอบอาหารกลางวันนักเรียน และบางส่วนจาหน่ ายนารายได้มา
จัดสรรเป็ นค่าใช้จ่ายดาเนินโครงการ และกิจกรรมอื่น ๆ ที่ เป็ นประโยชน์ สาหรับนักเรียน
ต่อไป
หลักการของโครงการ
“ส่งเสริมให้โรงเรียนผลิตอาหารโปรตีนในโรงเรียน
เพื่อให้โรงเรียนสามารถพึ่งตนเองได้อย่างยังยื
่ น”
เป้ าหมายของโครงการ
1.ส่งเสริมให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขี้น โดยนักเรียนได้
บริโภคไข่ไก่เฉลี่ยคนละ 3 ฟอง/สัปดาห์
2.โรงเรียนมีรายได้จากการเลี้ยงไก่ไข่ หรือไก่กระทงในรุ่นแรก
และนารายได้จดั ตัง้ เป็ นกองทุนโครงการ เพื่อให้สามารถบริหาร
จัดการโครงการได้อย่างต่อเนื่ องและยังยื
่ น
3. นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมเกษตร เกิดการเรียนรู้และ
ทักษะจากการปฏิบตั ิ จริง ซึ่งเป็ นการบูรณาการศึกษา
4.โรงเรียนเป็ นศูนย์กลางเรียนรู้ของชุมชน เกิดการถ่ายทอด/
ขยายผลสู่ชมุ ชน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของนักเรียน โดยสนับสนุนให้โรงเรียนดาเนิน
กิจกรรมเกษตรในโรงเรียน และนาผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน หรือนา
รายได้มาจัดทาโครงการอาหารกลางวันนักเรียน
2.เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้งานเกษตร และการจัดการเชิงธุรกิจ เพื่อเป็ นแนวทางในการ
ประกอบอาชีพต่อไป
3.เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้การทางานเป็ นหมู่คณะ มีการวางแผนการทางานร่วมกันอย่างมี
ระบบ และเรียนรู้การจัดระบบการทางานของตนเอง
4. เพื่อให้โรงเรียนเป็ นแหล่งวิทยาการกระตุ้นให้ชมุ ชนสนใจเลือกประกอบอาชีพ
เพื่อเพิ่มพูนรายได้ให้กบั ครอบครัวต่อไป
หลักเกณฑ์การพิจารณาโรงเรียนเข้าร่วมโครงการ
ด้าน
กลุ่มเป้ าหมาย
ด้ า น ค ว า ม
พ ร้ อ ม แ ล ะ
ก า ร มี ส่ ว น
ร่ ว ม ข อ ง
โ ร ง เ รี ย น /
ชุมชน
- โรงเรียนที่มีนักเรียนประสบปัญหาภาวะทุพโภชนาการ
นักเรียนมีน้าหนัก หรือส่วนสูงตา่ กว่ามาตรฐาน
- โรงเรียนจัดผูร้ บั ผิดชอบประจา ให้สามารถดูแลได้เต็มที่และดาเนิน
โครงการได้อย่างต่อเนื่ อง
- คณะครูสมัครใจดาเนินโครงการ
- คณะกรรมการสถานศึกษา ผูน้ าชุมชน ชุมชน เห็นชอบดาเนินการ
- โรงเรียนดาเนินการด้านโรงเรือน และอุปกรณ์ การเลี้ยงได้เอง
(มูลนิธิฯ จะสมทบงบประมาณในส่วนที่เกินขีดความสามารถ เช่น
อุปกรณ์การเลี้ยง)
หลักเกณฑ์การพิจารณาโรงเรียนเข้าร่วมโครงการ
ด้านกายภาพ
- พืน้ ที่ที่ใช้สร้างโรงเรือน มีความเหมาะสม คือ สามารถสร้างให้ความ
ยาวโรงเรือนอยู่ในแนวตะวันออก-ตะวันตกได้ , มีแหล่งน้าที่เพียงพอ
จะใช้เลี้ยงไก่ และมีไฟฟ้ าเข้าถึง
-บริเวณโดยรอบโรงเรือน : เป็ นที่ โล่ง ระบายอากาศดี แยกบริเวณ
กับสัตว์ปีกอื่น อยู่ห่างจากชุมชนพอสมควร
- สถานที่ ตงั ้ ของโรงเรี ยนอยู่ในระยะทางที่ เจ้ าหน้ าที่ /สัตวบาลซี .พี .
สาขา จะติดตามดูแล ให้คาแนะนาได้
ด้านความ
พร้อม
สาธารณูปโภค
- มีน้าสะอาดและเพียงพอที่จะเลี้ยงไก่ได้ตลอด
- มีระบบไฟฟ้ า หรือโซล่าเซลล์
หลักเกณฑ์การพิจารณาโรงเรียนเข้าร่วมโครงการ
ด้านความ
พร้อมของ
โรงเรียน
- พิจารณาจานวนนักเรียนในโรงเรียน เพื่อรองรับการจัดการผลผลิต
โดยจานวนไก่ที่จะเลี้ยงจะพิจารณาจากจานวนนักเรียนทัง้ หมดของ
โรงเรียน ในสัดส่วน จานวนนักเรียน : จานวนไก่ คือ 1 : 1 หรือ 1.5
: 1 และพิจาณาขนาดชุมชนที่อยู่ในเขตบริการของโรงเรียนประกอบ
แนวทางการสนับสนุน/ดาเนินโครงการ
 มูลนิธิพฒ
ั นาชีวิตชนบท :
- สนั บสนุ นงบประมาณสาหรับการก่ อสร้างโรงเรือนเลี้ยงไก่ พร้อม
ติดตัง้ อุปกรณ์ และค่าใช้จ่ายหมุนเวียน
สาหรับการเลี้ยงรุ่นแรก ได้แก่ พันธุไ์ ก่ อาหาร และยาสัตว์
* พันธุไ์ ก่ จานวน 100 – 300 ตัว (พิจารณาจากจานวนนักเรียน/ขนาดชุมชน)
* อาหาร จานวน 40 ก.ก./ตัว/รุ่น เช่น 100 ตัว สนับสนุน 4, 000 ก.ก./รุน่
- ประสานงานทุกฝ่ ายที่ ร่วมดาเนินโครงการ เพื่อให้ การดาเนินงาน
บรรลุตามวัตถุประสงค์
- ติดตามผลการดาเนินโครงการของโรงเรียน และภาวะโภชนาการของ
โรงเรียนอย่างต่อเนื่ อง
แนวทางการสนับสนุน/ดาเนินโครงการ
 บริษทั เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน)
- ร่วมพิจารณาคัดเลือกโรงเรียน ถ่ายองค์ควมรู้ด้านวิชาการ การจัดการ
และการตลาดแก่ผร้ ู บั ผิดชอบโครงการ และร่วมติดตามโครงการ
-สนับสนุนพันธุ์ไก่ อาหาร และยาสัตว์ ในราคาโครงการแก่โรงเรียนที่ เข้า
ร่วมโครงการ ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนการผลิตของโรงเรียนในทุกรุ่นของการเลี้ยงไก่ไข่
 หน่ วยงานที่ร่วมดาเนินการ
- เสนอรายชื่อโรงเรียน หรือหน่ วยงานที่มีความเหมาะสมเข้าร่วมโครงการ
- จัดสรรงบประมาณของหน่ วยงานเพื่อดาเนินโครงการร่วมกัน
- จัดอบรมบุคลากรผูร้ บั ผิดชอบโครงการ หรือผูเ้ กี่ยวข้อง เพื่อสร้างความรู้
ความเข้าใจในการดาเนินโครงการ
- ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานโครงการ
แนวทางการสนับสนุน/ดาเนินโครงการ
 โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ
- แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารโครงการ และครูผร้ ู บั ผิดชอบดูแลการเลี้ยงไก่
- ดาเนินการเลี้ยงไก่และดูแลตามหลักวิชาการ ทัง้ ในด้านการให้อาหาร น้า การให้
วัค ซี น การท าความสะอาดโรงเรือ น/อุป กรณ์ รวมทัง้ การบ ารุง รัก ษาอุป กรณ์ หรื อ ซ่ อ มแซม
โรงเรือน
- โรงเรียนต้ องนาผลผลิตจากโครงการมาจัดทาอาหารกลางวันให้ นักเรียนได้บริโภค
อย่างน้ อยสัปดาห์ละ 2-3 วัน
- โรงเรียนนารายได้จากการเลี้ยงรุ่นที่ 1 มาเป็ นกองทุนหมุนเวียนในการดาเนินการรุ่น
ต่อ ๆ ไป กล่าวคือ โรงเรียนจะต้องบริหารกองทุนให้ดาเนินโครงการได้อย่างต่อเนื่ อง
- รายงานผลการเลี้ยงไก่ และภาวะโภชนาการของนักเรียนอย่างต่ อเนื่ อง ให้ มูลนิธิ
พัฒนาชีวิตชนบท และหน่ วยงานร่วมดาเนินการ รวมทัง้ ต้นสังกัดของโรงเรียนได้รบั ทราบ
ผลการดาเนินการ
ด้านโภชนา
นั ก เรี ย นกว่ า
55,000 คน ใน
320 แห่ง มีภาวะ
โภชนาการดีขึ้น
โดยโรงเรียนนา
ไ ก่ ไ ข่ ม า
ประกอบอาหาร
ก ล า ง วั น ใ ห้
นั ก เ รี ย น
รั บ ป ร ะ ท า น
เฉลี่ ยคนละ 3
ฟอง/สัปดาห์
ด้านการบริหาร
โรงเรียน
โรงเรียนมีรายได้
จากการด าเ นิ น
กิ จ ก ร ร ม น า ม า
จัดสรรรายได้เป็ น
ค่าอาหารกลางวัน
นั ก เ รี ย น แ ล ะ
จัดตัง้ เป็ นกองทุน
หมุนเวี ยนสาหรับ
ด า เ นิ น ก า ร
โครงการต่ อไปได้
อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง
รวมทัง้ ขยายผลสู่
กิจกรรมอื่น
ด้านการเรียนรู้
ด้านผลการเลี้ยงไก่
ครูและนักเรียน
เกิ ดการเรี ย นรู้
จากการปฏิ บัติ
จ ริ ง มี ทั ก ษ ะ
อ า ชี พ เ ก ษ ต ร
แ ล ะ โ ร ง เ รี ย น
สามารถบู ร ณา
การกิ จกรรมสู่
ก า ร เ รี ย น ก า ร
สอน
ผลการเลี้ ย งไก่
ข อ ง โ ร ง เ รี ย น
ใ ก ล้ เ คี ย ง กั บ
มาตรฐานของ
บ ริ ษั ท
( เ ป รี ย บ เ ที ย บ
จ
า
ก
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
การเลี้ ย ง และ
% ไข่
เทียบมาตรฐาน)
โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ
โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน 131 แห่ง
โรงเรียนที่
เข้าร่วม
โครงการ
โรงเรียนสังกัด สพฐ. 169 แห่ง
โรงเรียนสอนศาสนาอิสลาม 3 แห่ง
โรงเรียนสังกัด อบต. 3 แห่ง
หน่ วยงานร่วมเจตนารมณ์ 14 แห่ง
โรงเรียนที่ CP สนับสนุนโครงการเลีย้ งไก่ ไข่ เพื่ออาหารกลางวัน
จังหวัด
กาฬสินธุ์
ขอนแก่น
ชัยภูมิ
นครพนม
นครราชสีมา
บุรรี มั ย์
มหาสารคาม
มุกดาหาร
ยโสธร
จานวนไก่ไข่
300
1,200
400
900
14,030
4,288
900
820
1,450
ผลผลิต
84,000
336,000
112,000
252,000
3,928,400
1,200,640
252,000
229,600
406,000
โรงเรียนที่ CP สนับสนุนโครงการเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวัน
ร้อยเอ็ด
เลย
ศรีสะเกษ
สกลนคร
สุรนิ ทร์
หนองคาย
หนองบัวลาภู
อานาจเจริญ
อุดรธานี
อุบลราชธานี
รวม
1,050
800
1,000
1,449
3,000
1,150
600
1,350
2,150
2,550
39,387
294,000
224,000
308,000
433,720
840,000
378,000
168,000
378,000
602,000
714,000
11,140,360