หลักการสื่อสารข้อมูล (Introduction

Download Report

Transcript หลักการสื่อสารข้อมูล (Introduction

โปรโตคอลในชันสื
้ ่อสารทรานสปอร์ ต
และแอปพลิเคชัน่
(TRANSPORT AND APPLICATION
LAYER PROTOCOLS)
1
วัตถุประสงค์
2
1. สามารถอธิบายการส่งมอบข้ อมูลจากโปรเซสถึงโปรเซสชันบนสื
้
่อสารทรานสปอร์ ตได้
2. บอกความแตกต่างระหว่างการส่งมอบข้ อมูลแบบ Node-to-Node, Host-to-Host และ
Process-to-Process ได้ อย่างถูกต้ อง
3. เห็นความสาคัญของพอร์ ตแอดเดรส ที่นามาใช้ เป็ นหมายเลขกากับช่องสื่อสารระหว่าง
โปรเซส
4. สามารถบอกส่วนประกอบของซ็อกเก็ตได้ อย่างถูกต้ อง
5. อธิบายรายละเอียดและคุณสมบัติของโปรโตคอล UDP TCP และ SCTP ได้
6. อธิบายหลักการของ Multi-Stream และ Multi-Homing ในโปรโตคอล SCTP ได้
7. บอกคุณสมบัติและหน้ าที่ของโปรโตคอลต่างๆ ที่อยูใ่ นชันสื
้ ่อสารแอปพลิเคชัน่ ได้
การส่ งมอบข้ อมูลจากโปรเซสถึงโปรเซส
3
 ชันสื
้ ่อสารทรานสปอร์ ตจะส่งมอบข้ อมูลจากโปรเซสถึงโปรเซส ซึง่ โปรเซสหมายถึง
โปรแกรมแอปพลิเคชัน่ ต่างๆ ที่อยูบ่ นโฮสต์
 โดยทาการส่งมอบข้ อมูลแบบ Process-to-Process ด้ วยการส่งมอบแพ็กเก็ตของข่าวสาร
จากโปรเซสหนึง่ ไปยังโปรเซสอื่นๆ ซึง่ ทังสองโปรเซสจะสื
้
่อสารกันในรูปแบบความสัมพันธ์แบบ
Client/Server
 โปรเซสที่รันอยูบ่ นโลคัลโฮสต์ จะเรี ยกว่า Client ซึง่ ต้ องการร้ องขอบริการจากโปรเซสที่
อยูบ่ นรี โมตโฮสต์ เรี ยกว่า Server
แบบตัวอย่ าง Client / Server
4
โดยโปรเซสที่รันอยูบ่ น Local host จะเรี ยกว่า Client ซึง่ ต้ องการร้ องขอบริการจาก
โปรเซสที่อยูบ่ นรี โมตโฮสต์ที่เรี ยกว่า Server ปั จจุบนั โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ ล้ วนสนับสนุน
การทางานแบบ multiuser และ multiprogramming รี โมตคอมพิวเตอร์ สามารถรันโปรแกรม
บน Server ได้ หลายโปรแกรมในขณะเดียวกัน และ Local computer ก็สามารถรันโปรแกรม
บน Client ได้ หลายโปรแกรมได้ เช่นกัน
จากการสื่อสารระหว่างเครื่ อง Client และ Server จึงประกอบด้ วย
1. Local host
2. Local Process
3. Remote Host
4. Remote Process
การกาหนดตาแหน่ งที่อยู่ (Addressing)
5
 โปรโตคอลในชันสื
้ ่อสารทรานสปอร์ ตเป็ นกลุม่ ของชุด TCP/IP ที่กาหนดการเชื่อมต่อใน
แต่ละโปรเซส เรี ยกว่า พอร์ ต (port)
 พอร์ ต เป็ นหมายเลขกากับช่องสื่อสารที่ใช้ เป็ นจุดเชื่อมต่อเพื่อการส่งข้ อมูลระหว่าง
โปรแกรม ดังนัน้ พอร์ ตจึงเปรี ยบเสมือนแอดเดรสบนโปรโตคอลระดับแอปพลิเคชัน่
Telnet
(client)
(51001)
TCP or UDP
IP
Data Link
Physical
Telnet
(Server)
(23)
TCP or UDP
IP
Data Link
Physical
Port Address
เมื่อมีการรวม IP Address
กับ Port เข้ าด้ วยกันแล้ วจะเรี ยกว่า
Socket
การกาหนดตาแหน่ งที่อยู่ (Addressing)
6
พอร์ ตแต่ละหมายเลขจะถูกกาหนดด้ วยแอดเดรสที่เป็ นเลขจานวนเต็มขนาด 16 บิต
ซึง่ สามารถสนับสนุนพอร์ ตได้ มากถึง 65,536 พอร์ ตด้ วยกัน (0 ถึง 65535) หมายเลขพอร์ ต
เหล่านี ้ถูกกาหนดขึ ้นโดยหน่วยงาน IANA (Internet Assigned Numbers Authority)
โดยแบ่งพอร์ ตเป็ น 3 กลุม่ ดังนี ้
1. Well-Known Ports คือหมายเลขพอร์ ตที่อยูร่ ะหว่าง 0 – 1023 สงวนไว้ เพื่อการบริการ
มาตรฐานของโฮสต์ฝั่ง Server กลุม่ ที่สามารถใช้ งานพอร์ ต Well-Known จะมีเพียงระบบปฏิบตั ิ
การ โปรเซสระบบหรื อซอฟท์แวร์ ที่ได้ รับสิทธิพิเศษเท่านัน้
2. Registered Ports คือหมายเลขพอร์ ตที่อยูร่ ะหว่าง 1024 – 49151 เป็ นพอร์ ตที่ไม่ได้ ถกู
กาหนดหรื อควบคุมโดย IANA แต่สามารถนาไปจดทะเบียนกับ IANA เพื่อป้องกันการซ ้าได้
3. Dynamic Ports อาจเรี ยกอีกชื่อหนึง่ ว่า Private Ports เป็ นหมายเลขพอร์ ตที่อยูร่ ะหว่าง
49152 – 65535 ไม่ได้ ควบคุมหรื อจดทะเบียน สามารถนาไปใช้ งานได้ ในทุกๆ โปรเซส และเป็ น
หมายเลขพอร์ ตที่ไม่คงที่
การกาหนดตาแหน่ งที่อยู่ (Addressing)
7
โปรโตคอลบนชัน้ สื่อสารทรานสปอร์ ต
8
 User Datagram Protocol (UDP)
- เป็ นโปรโตคอลที่ให้ บริ การแบบ Connectionless คือ จะไม่สร้ าง Connection กับเครื่ อง
ปลายทางก่อนการส่งข้ อมูล
- ดังนัน้ เมื่อมีข้อมูลที่ต้องการส่ง ก็จะทาการส่งข้ อมูลทันที และไม่รับประกันว่า ข้ อมูลจะถูก
ส่งไปถึงปลายทางหรื อไม่
- โปรโตคอล UDP เป็ นโปรโตคอลที่มีความน่าเชื่อถือต่า
โปรโตคอลบนชัน้ สื่อสารทรานสปอร์ ต
9
 Transmission Control Protocol (TCP)
- เป็ นโปรโตคอลที่ให้ บริ การแบบ Connection Oriented
- การส่งข้ อมูลเชื่อถือได้ โดยในการส่งข้ อมูล จะต้ องสร้ างคอนเน็กชัน่ เพื่อการเชื่อมต่อกับ
- ปลายทางก่อน แล้ วจึงดาเนินการส่งข้ อมูล
- โปรโตคอล TCP เป็ นโปรโตคอลที่มีความน่าเชื่อถือสูง
 Stream Control Transmission Protocol (SCTP)
- เป็ นโปรโตคอลที่ให้ บริ การแบบ Connection Oriented
- ทาการแบ่งข้ อมูลออกเป็ นหลายๆ ชุด เรี ยกว่า Chunk โดยข้ อมูลจะส่งแยกกันในแต่ละ Chunk
- เหมาะกับระบบงานแบบ real time โดยเฉพาะระบบออดิโอ และวิดีโอ
โปรโตคอลบนชัน้ สื่อสารแอปพลิเคชั่น
10
เป็ นส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้ งาน หรื อมีการเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ ผา่ นทางแอปพลิเคชัน่ โปรแกรม
ต่างๆ โดยในชันสื
้ ่อสารแอปพลิเคชัน่ ได้ จดั เตรี ยมโปรโตคอลต่างๆ ไว้ มากมาย เพื่อสนับสนุน
การทางานของผู้ใช้ เช่น DHCP, DNS, TELNET, FTP, SMTP, POP, HTTP, WWW
โปรโตคอลบนชัน้ สื่อสารแอปพลิเคชั่น
11
DHCP (Dynamic Host Configuration Protocol)
เป็ นโปรโตคอลที่ทาหน้ าที่กาหนดหรื อจัดสรรหมายเลข IP Address ให้ แก่โฮสต์บน
เครื อข่ายแบบไดนามิก ซึง่ โฮสต์จะได้ รับหมายเลขไอพีไม่ตายตัว
โปรโตคอลบนชัน้ สื่อสารแอปพลิเคชั่น
12
DNS (Domain Name System)
ระบบการตังชื
้ ่อที่ใช้ งานในอินเทอร์ เน็ตจะเรี ยกว่า DNS โดยชื่อคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ องจะ
ประกอบด้ วยลาดับของชื่อในส่วนต่างๆ ที่คนั่ ด้ วยจุด เช่น www.uru.ac.th
โดยการบริ การของ DNS คือ ทาการแปลงชื่อโดเมนมาเป็ นไอพีแอดเดรส
202.29.52.10
DSN
www.uru.ac.th
โปรโตคอลบนชัน้ สื่อสารแอปพลิเคชั่น
13
ประเภทของโดเมน คาย่อขององค์กร โดยประเภทขององค์กรที่พบบ่อย มีดงั ต่อไปนี ้
Domain Name
com
edu
gov
mil
net
org
ความหมาย
เครื อข่ายของเอกชน
เครื อข่ายของหน่วยงานการศึกษา
เครื อข่ายของหน่วยงานรัฐบาล
เครื อข่ายของหน่วยงานทหาร
เครื อข่ายของผู้ให้ บริ การอินเตอร์ เน็ต
เครื อข่ายขององค์การที่ไม่มงุ่ หวังกาไร
โปรโตคอลบนชัน้ สื่อสารแอปพลิเคชั่น
14
โดเมนตัวย่อของประเทศที่ตงขององค์
ั้
กร
Domain Name
au
ca
cn
fr
jp
nz
th
uk
us
ความหมาย
ออสเตรเลีย
แคนาดา
สาธารณรัฐประชาชนจีน
ฝรั่งเศส
ญี่ปนุ่
นิวซีแลนด์
ไทย
สหราชอาณาจักร (อังกฤษ)
สหรัฐอเมริ กา
โปรโตคอลบนชัน้ สื่อสารแอปพลิเคชั่น
15
โดเมนเนมในประเทศไทย
ประเทศไทยใช้ .th เป็ นโดเมนประจาประเทศ โดยมีโดเมนย่อย (Subdomain) 5 โดเมน ได้ แก่
.or, .ac, .go, .co และ .net ดังตารางดังต่อไปนี ้ คือ
Domain Name
or
ac
go
co
net
ความหมาย
องค์การไม่แสวงผลกาไร
สถาบันการศึกษา
หน่วยงานราชการ
หน่วยงานเอกชน
องค์การที่ให้ บริ การเครื อข่าย
โปรโตคอลบนชัน้ สื่อสารแอปพลิเคชั่น
16
Telnet (Telecommunication Network)
เป็ นโปรโตคอลที่ใช้ สาหรับล็อกอินเพื่อเชื่อมต่อกับเครื่ องศูนย์กลางหรื อเซิร์ฟเวอร์ ผา่ นเครื อข่าย
แบบระยะไกล (Remote Login)
การเข้ าใช้ ระบบใด ๆ ด้ วยเทลเน็ตให้ เรี ยกใช้ โดยการพิมพ์คาสัง่ Telnet ตามด้ วยชื่อโฮสต์ หรื อ
เลขที่อยูไ่ อพีของโฮสต์นนตามรู
ั้
ปแบบคาสัง่
telnet [ชื่อโฮสต์ หรือ เลขที่อยู่ไอพี]
โปรโตคอลบนชัน้ สื่อสารแอปพลิเคชั่น
17
FTP (File Transfer Protocol)
เป็ นโปรโตคอลที่บริ การโอนถ่ายแฟ้มข้ อมูลระหว่างโฮสต์ ด้ วยการสร้ างคอนเน็กชัน่ เพื่อ
ติดต่อกันระหว่างเครื่ องไคลเอนท์กบั เซิร์ฟเวอร์
โปรโตคอลบนชัน้ สื่อสารแอปพลิเคชั่น
18
SMTP (Simple Mail Transfer Protocol)
เป็ นโปรโตคอลที่สนับสนุนระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรื ออีเมล์บนอินเทอร์ เน็ต ที่ไว้ บริการ
การส่งข้ อความระหว่างเครื่ องด้ วยอีเมล์แอดเดรส
POP (Post Office Protocol)
เป็ นโปรโตคอลที่อนุญาตให้ เครื่ องไคลเอนท์ติดต่อกับเมล์เซิร์ฟเวอร์ เพื่อเข้ าไปยังเมลบ็อกซ์ของ
ตนเอง เมื่อติดต่อหรื อล็อกอินได้ แล้ ว ก็จะสามารถดาเนินรายการต่างๆ ในเมล์บ็อกซ์ของตนได้
เช่น การดาวน์โหลดอีเมล์จากเซิร์ฟเวอร์
มาเก็บไว้ ที่เครื่ องของตน
โปรโตคอลบนชัน้ สื่อสารแอปพลิเคชั่น
19
HTTP (Hypertext Transfer Protocol)
เป็ นข้ อกาหนดที่ใช้ สาหรับเรี ยกดูเอกสารจาก WWW ซึง่ จัดเป็ นตัวกลางในการรับส่งข้ อมูล
ระหว่างโปรแกรม Browser และ Web Server
โปรโตคอลบนชัน้ สื่อสารแอปพลิเคชั่น
20
HTTPS (Hyper Text Transfer Protocol Secure) คือ ระบบความปลอดภัยของ HTTP
protocol สาหรับการแลกเปลี่ยนข้ อมูลระหว่างเครื่ อง server และ client ที่คิดค้ นขึ ้นโดยบริษัท
Netscape เมื่อปลายปี ค.ศ. 1994 โดยมีจดุ ประสงค์เพื่อรักษาความลับของข้ อมูลขณะรับ-ส่ง
และเพื่อให้ แน่ใจว่า ข้ อมูลนันถู
้ กรับ-ส่งระหว่างผู้รับและผู้สง่ ตามที่ระบุไว้ จริง โดยที่ข้อมูล
จะต้ องไม่ถกู เปลี่ยนแปลงแก้ ไขไปจากเดิมด้ วย HTTPS จะทางานอยูบ่ นพอร์ ต 443 (ค่าปกติ)
ด้ วยการเพิ่มข้ อมูลในส่วนการระบุตวั ผู้สง่ (Authentication) และการเข้ ารหัสข้ อมูล
(Encryption) ภายใน HTTP กับ TCP
โปรโตคอลบนชัน้ สื่อสารแอปพลิเคชั่น
21
URL (Uniform Resource Locator)
เป็ นกลุม่ ข้ อความที่ใช้ แทนแอดเดรส เพื่อใช้ ระบุตาแหน่งของเอกสารหรื อเว็บเพจบน WWW
การอ้ างอิงตาแหน่งด้ วย URL จะทาให้ จดจาได้ ง่าย แทนที่จะเป็ นชุดของหมายเลข ดังนัน้
หากต้ องการไปยังเว็บไซต์ใดก็ให้ กรอกข้ อความลงในช่อง Address ของเบราเซอร์ ได้ ทนั ที
โปรโตคอลบนชัน้ สื่อสารแอปพลิเคชั่น
22
WWW (World Wide Web)
เป็ นระบบไฮเปอร์ มีเดียที่ใช้ บนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตเพื่อการเข้ าถึงเว็บเพจ ซึ่งสามารถบรรจุได้
ทังข้
้ อความ รูปภาพ เสียง คลิปวีดีโอ และรวมถึงไฮเปอร์ ลงิ ค์ที่ใช้ สาหรับอ้ างอิงไปยังเว็บเพจ
อื่นๆ โดยเว็บที่เขียนขึ ้นเพื่อเผยแพร่บนอินเทอร์ เน็ต จะทาให้ ผ้ คู นทัว่ ไปบนโลกสามารถเข้ าชมได้
ผ่านทาง www
โปรโตคอลบนชัน้ สื่อสารแอปพลิเคชั่น
23
HTML (Hypertext Markup Language)
เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ กาหนด content และรูปแบบของเอกสารเว็บด้ วยรหัสแท็ก (Tag)
ซึง่ สามารถอธิบาย รวมทังจั
้ ดวางองค์ประกอบต่างๆ ของเว็บเพจให้ แสดงออกมาอย่างไรผ่าน
ทางจอภาพ ภาษา HTML จาเป็ นต้ องทางานร่วมกับ Browser โดย Browser จะทาหน้ าที่แปล
รหัส Tag ให้ แสดงออกทางจอภาพทังส่
้ วนข้ อความ และรูปภาพ
โปรโตคอลบนชัน้ สื่อสารแอปพลิเคชั่น
24
HTML (Hypertext Markup
Language)
OSI Model (7 Layer)
25
อ้ างอิง :: http://gargasz.info/index.php/osi-model-how-internet-works/
สรุป
26
ชัน้ สื่อสารทรานสปอร์ ต จะรับผิดชอบการส่งข้ อมูลจากโปรเซสถึงโปรเซส โดยที่โปรเซสในที่
นี ้หมายถึง โปรแกรมแอปพลิเคชัน่ ที่รันอยูบ่ นโฮสต์
โปรโตคอลภายในชันสื
้ ่อสารทรานสปอร์ ตสามารถเป็ นได้ ทงแบบ
ั้
Connectionless หรื อ
Connection Oriented
ชันสื
้ ่อสารทรานสปอร์ ตมีการผนวกเฮดเดอร์ เพิ่มเข้ าไปตามชนิดของแอดเดรส ที่เรี ยกว่า
“Service Point Address”
พอร์ ต เป็ นหมายเลขกากับช่องสื่อสาร ที่ใช้ เป็ นจุดเชื่อมต่อเพื่อการส่งข้ อมูลระหว่าง
โปรแกรม
ดังนัน้ พอร์ ตจึงเปรี ยบเสมือนแอดเดรสบนโปรโตคอลระดับแอปพลิเคชัน่ และการอินเตอร์ เฟซ
ระหว่างโปรเซสกับพอร์ ต จะดาเนินการโดยระบบปฏิบตั ิการของโฮสต์
สรุป
27
ซ็อกเก็ต คือการรวมไอพีแอดเดรส โปรโตคอลชันสื
้ ่อสารทรานสปอร์ ต และหมายเลขพอร์ ต
เข้ าด้ วยกัน
พอร์ ตแต่ละหมายเลขจะถูกกาหนดด้ วยแอดเดรสที่เป็ นเลขจานวนเต็มขนาด 16 บิต จึง
สามารถสนับสนุนพอร์ ตได้ มากถึง 65,536 พอร์ ตด้ วยกัน
Well-Known Ports คือหมายเลขพอร์ ตที่อยูใ่ นช่วงระหว่าง 0 – 1023 ที่สงวนไว้ เพื่อการ
บริ การมาตรฐานของโฮสต์ฝั่งเซิร์ฟเวอร์ และเป็ นหมายเลขพอร์ ตที่ถกู กาหนดและควบคุมโดย
IANA
Registered Ports คือหมายเลขพอร์ ตที่อยูใ่ นช่วง 1024 – 49151 ที่มิได้ ถกู กาหนดและ
ควบคุมโดย IANA แต่สามารถนาไปจดทะเบียนกับ IANA เพื่อป้องกันการซ ้าได้
สรุป
28
Dynamic Ports คือหมายเลขพอร์ ตที่อยูใ่ นช่วง 49152 – 65535 โดยพอร์ ตเหล่านี ้เป็ นพอร์ ต
ที่มิได้ จดทะเบียน สามารถนาไปใช้ งานโดยแอปพลิเคชัน่ โปรแกรมทัว่ ไปได้ และเป็ นหมายเลข
พอร์ ตแบบไม่คงที่
UDP เป็ นโปรโตคอลชนิด Connectionless จะไม่มีการสร้ าง connection กับ สถานี
ปลายทางก่อนการส่งข้ อมูล และไม่รับประกันถึงข้ อมูลที่สง่ ไป ว่าจะถึงปลายทางหรื อไม่ ทังนี
้ ้
หากข้ อมูลไปไม่ถงึ ปลายทางหรื อเกิดข้ อผิดพลาดขึ ้น ชันสื
้ ่อสารที่อยูเ่ หนือกว่าจะต้ องเป็ นผู้
ดาเนินการแก้ ไขเอง
TCP เป็ นโปรโตคอลที่มีความน่าเชื่อถือสูง การส่งข้ อมูลเป็ นไปในรูปแบบ connectionoriented ซึง่ จะสร้ าง connection เพื่อการเชื่อมต่อกับฝั่ งปลายทางก่อน จึงดาเนินการส่งข้ อมูล
จริ ง สาหรับการสร้ าง connection เพื่อกาหนดเส้ นทางการเชื่อมต่อนี ้ TCP จะมีการสร้ างวงจร
เสมือนระหว่างฝั่ งส่งและฝั่ งรับเพื่อให้ เกิดความคล่องตัวในระหว่างการส่งข้ อมูล
สรุป
29
SCTP เป็ นโปรโตคอลตัวใหม่บนชันสื
้ ่อสารทรานสปอร์ ตที่มีความน่าเชื่อถือ ถูกออกแบบมา
เพื่อใช้ งานกับแอปพลิเคชัน่ บนอินเทอร์ เน็ต และมีความทันสมัยกว่า TCP
SCTP เป็ นโปรโตคอลที่นาข้ อดีของ UDP และ TCP มาใช้ และได้ บวกคุณสมบัติเฉพาะตัว
เพิ่มเติมเข้ าไปคือ คุณสมบัติของ Multi-Stream และ Multi-Homing
ชันสื
้ ่อสารแอปพลิเคชัน่ จัดเป็ นส่วนที่ผ้ ใู ช้ ได้ อินเตอร์ เฟซกับคอมพิวเตอร์ โดยตรง โดยชัน้
สื่อสารแอปพลิเคชัน่ ได้ มีการจัดเตรี ยมโปรโตคอลต่างๆ มากมายเพื่อสนับสนุนงานบริการให้ แก่
ผู้ใช้
DHCP เป็ นโปรโตคอลที่ทาหน้ าที่จดั สรรหมายเลขไอพีให้ แก่โฮสต์บนเครื อข่ายแบบไดนามิก
ซึง่ เป็ นแบบไม่ตายตัว สาหรับหลักการทางานของ DHCP จะเป็ นแบบ Client/Server โดยเมื่อ
เครื่ อง Client ได้ ร้องขอหมายเลขไอพีมายัง DHCP Server เครื่ อง Server ก็จะแจกจ่าย
หมายเลข IP แบบอัตโนมัติไปให้
สรุป
30
DNS คือระบบการตังชื
้ ่อที่ใช้ งานในอินเทอร์ เน็ต โดยชื่อคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ องจะประกอบ
ด้ วยลาดับของชื่อในส่วนต่างๆ ที่คนั่ ด้ วยจุด
TELNET เป็ นโปรโตคอลที่ใช้ สาหรับการล็อกอินเพื่อเชื่อมต่อเครื อข่ายแบบระยะไกล
FTP เป็ นโปรโตคอลที่ใช้ บริ การโอนถ่ายแฟ้มข้ อมูลระหว่างโฮสต์
SMTP เป็ นโปรโตคอลสนับสนุนระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์บนอินเทอร์ เน็ต
POP เป็ นโปรโตคอลที่อนุญาตให้ เครื่ อง Client ติดต่อกับ Mail Server เพื่อเข้ าไปยัง Mail
Box ของตนเอง
SNMP เป็ นโปรโตคอลที่ใช้ เพื่อการจัดการเครื อข่าย และควบคุมอุปกรณ์บนเครื อข่าย
HTTP เป็ นข้ อกาหนดที่ใช้ สาหรับเรี ยกดูเอกสารจากเวิลด์ไวด์เว็บ ซึง่ จัดเป็ นตัวกลางในการ
รับส่งข้ อมูลระหว่างโปรแกรม Browser และ Web Server
สรุป
31
URL เป็ นกลุม่ ข้ อความที่ใช้ แทน Address เพื่อใช้ ระบุตาแหน่งของเอกสารหรื อ
เว็บเพจบน WWW
WWW เป็ นระบบไฮเปอร์ มีเดีย ที่ใช้ บนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตเพื่อการเข้ าถึงเว็บเพจ ซึง่
สามารถบรรจุได้ ทงข้
ั ้ อความ รูปภาพ เสียง คลิปวีดีโอ และรวมถึงไฮเปอร์ ลงิ ก์ที่ใช้ สาหรับอ้ างอิง
ไปยังเว็บเพจอื่นๆ
HTML เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ กาหนดคอนเท็นต์ และรูปแบบของเอกสารเว็บด้ วยรหัส
แท็ก สามารถอธิบายและจัดวางองค์ประกอบต่างๆ ของเว็บเพจให้ แสดงออกมาอย่างไรทาง
จอภาพ ซึง่ ภาษา HTML จาเป็ นต้ องใช้ งานควบคูไ่ ปกับโปรแกรม Browser
แบบฝึ กหัดครั้งที่ 9
32
จากโจทย์
1. /18 , /24 , / 25 จงหา Subnet Mask
2. กาหนดให้ IP Address 192 .168.5.33/20 จงหา
Network IP และ Broadcast IP
3. จากข้ อ 2 IP address ใดบ้ างที่สามารถนามาใช้ งานได้