บทที่ 8 B2B E

Download Report

Transcript บทที่ 8 B2B E

บทที่ 8 B2B E-Commerce
้
• ความรู ้พืนฐานแบบ
E-Commerce
แบบ B2B
• ตลาดกลางฝั่ งผู ซ
้ อและผู
ื้
ข
้ าย
• EDI : Electronic Data Interchange
• การจัดการห่วงโซ่อป
ุ ทาน
1
บทที่ 8 B2B E-Commerce
้
ความรู ้พืนฐานแบบ
E-Commerce แบบ B2B
• B2B เป็ นรู ปแบบการค้าผ่านระบบออนไลน์ทได้
ี่ ร ับความ
่ ดในปั จจุ บน
่ รกิจบางประเภทสามารถ
นิ ย มมากทีสุ
ั ซึงธุ
้ั
้ ้
จัดเป็ น E-Commerce ได้ทงแบบ
B2B และ B2C ทังนี
เนื่ องมาจากการค้าทัง้ 2 แบบมีความคล้ายคลึงกัน
่ าธุรกิจแบบ B2C อาจมีลูกค้าทังที
้
้ ่
์กรทีท
• นอกจากนี องค
่
่
เป็ นบุ คคลทัวไปหรื
อเป็ นองค ์กรก็ไ ด้ อย่า งไรก็ต าม เมือ
B2B เป็ นการค้าระหว่างองค ์กร จึงต้องมีความซ ับซ อ
้ น
และมีคุณลักษณะพิเศษกว่าการค้าแบบ B2C
2
บทที่ 8 B2B E-Commerce
• E-Commerce แบบ B2B (Business-to-business ECommerce) คือ การทาธุรกรรมทางการค้าระหว่าง
่ เล็กทรอนิ กส ์ เช่น
องค ์กรธุรกิจด้วยก ันเองผ่านสืออิ
เครือข่ายอินเทอร ์เน็ ต (Internet) หรือเอ๊กซ ์ทราเน็ ต
(Extranet) เป็ นต้น
้
• E-Commerce แบบ B2B เกิดขึนจากแรงผลั
กดันของผู ้
จ าหน่ ายวัต ถุ ด ิ บ (Supplier) ก บ
ั ลู กค้า ที่ ต้อ งการลด
้
ค่ า ใช้จ่ า ย และระยะเวลาในการจัด ซือลง
ตลอดจน
ปร ับปรุงการดาเนิ นงานระหว่างองค ์กรให้มป
ี ระสิทธิภาพ
่
และมีค วามปลอดภัยในการติด ต่ อ สือสารบนเครื
อ ข่ า ย
่ น
้
มากยิงขึ
3
บทที่ 8 B2B E-Commerce
คุณลักษณะสาคัญของ B2B
1. ลักษณะของการทาธุรกรรม ทาได้ 2 วิธ ี คือ
1 . 1 ข า ย ต ร ง จ า ก เ ว็ บไ ซ ต ์ ข อ ง ผู ้ ผ ลิ ต
( Manufacturer) ไ ป ยั ง ลู ก ค้ า ( Customer) ที่ เ ป็ น
องค ์กรธุรกิจ
1.2
ข า ย ผ่ า น ท า ง เ ว็ บไ ซ ต ์ข อ ง ค น ก ล า ง
่ นตัวแทนจาหน่ ายได้
(Intermediary) ทีเป็
4
บทที่ 8 B2B E-Commerce
2. ประเภทของการทาธุรกรรม มี 2 ชนิ ด ได้แก่
่ ค านึ ง ถึง ผู ข
• Spot
Buying
เป็ นการท าธุ ร กรรมทีไม่
้ าย
่ น
(Supplier) แต่จะพิจารณาจากราคาของสินค้าและบริการทีผั
้ น ค้า
แปรไปตามกลไกตลาดเป็ นหลัก เช่น หากมีผู ต
้ อ
้ งการซือสิ
้
มาก แต่มผ
ี ูข
้ ายน้อยราย สินค้าก็จะมีราคาแพง เป็ นต้น การซือ่
่
ขายวิธน
ี ี ้นิ ยมทาแบบเปิ ด (Public Exchange) ทีองค
์กรทัวไป
สามารถเข้าทาธุรกรรมได้
่ อง
• Strategic (Systematic) Sourcing เป็ นการทาธุรกรรมทีต้
คานึ งถึงผู ข
้ าย โดยผู ซ
้ อจะน
ื้
ากลยุทธ ์ต่างๆมาใช้เจรจาต่อรองกับ
่
้ นค้า การ
ผู ข
้ าย เพือให้
ได้ร ับเงื่อนไขหรือราคาพิเศษในการซือสิ
้
้ ยมทาแบบปิ ด (Private Exchange) โดยจากัดการ
ซือ-ขายวิ
ธน
ี ี นิ
ท าธุ ร กรรมเฉพาะบางองค ก
์ ร และมี ก ารท าส ญญาระยะยาว
่
(Long-Term Contract) ภายหลังจากทีตกลงท
าธุรกรรมกัน
5
บทที่ 8 B2B E-Commerce
่ อ-ขาย
้
3. ประเภทของสินค้าทีซื
มี 2 ชนิ ด ได้แก่
้ วนหรือ
• วต
ั ถุดบ
ิ ทางตรง (Direct Material) เป็ นชินส่
้
ส่วนประกอบหลักของสินค้าและบริการ การซือ-ขายใน
้ั
แต่ละครงจะกระท
าในปริมาณมากๆ
• วต
ั ถุด บ
ิ ทางอ้อม (Maintenance,
Repair
and
่ ใช่ส่วนประกอบ
Operation: MRO) เป็ นวต
ั ถุดบ
ิ ทีไม่
ห ลักใ น ก า ร ผ ลิ ต แ ต่ ใ ช้ เ พื่ อ ก า ร บ า รุ ง ร ก
ั ษ า ห รื อ
สนับสนุ นการดาเนิ นงานขององค ์กร
6
บทที่ 8 B2B E-Commerce
4. แนวทางในการทาการค้า มี 2 ลักษณะ ได้แก่
่
• Vertical Marketplace เป็ น B2B ทีขายสิ
นค้าหรือ
้
บริการเฉพาะอุตสาหกรรมนันโดยตรง
เช่น ขายวต
ั ถุดบ
ิ
่ ผลิตรถในอุตสาหกรรมรถยนต ์ เป็ นต้น
ทีใช้
่
• Horizontal Marketplace เป็ น B2B ทีขายสิ
นค้าและ
้ ้ เนื่ องจากสิน ค้า
บริก ารให้ก บ
ั หลายอุ ต สาหกรรม ทังนี
่
หรือ บริการทีองค
์กรมีอ ยู ่ สามารถนาไปใช้ไ ด้ก บ
ั หลาย
่
่
อุตสาหกรรม เช่น ขายเครืองคอมพิ
วเตอร ์ ซึงสามารถ
นาไปใช้ในการดาเนิ นงานของทุกองค ์กรได้ เป็ นต้น
7
บทที่ 8 B2B E-Commerce
ประเภทของ B2B
B2B
จ าแนกตามจ านวนของผู ซ
้ อ
ื ้ (Buyer) ผู ข
้ าย
(Seller) แ ละ กิ จ ก รร ม ที่ เกี่ ย ว ข้ อ ง ( Activity) ไ ด้ 4
ประเภท ดังนี ้
- ตลาดกลางอิเล็กทรอนิ กส ์ฝั่ งผู ข
้ าย (Sell-Side EMarketplace)
- ตลาดกลางอิเล็กทรอนิ กส ์ฝั่ งผู ซ
้ อ
ื ้ (Buy-Side EMarketplace)
- การแลกเปลี่ยนผ่ า นสื่ออิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส ์ (Electronic
Exchange)
- การจัดการห่วงโซ่อป
ุ ทาน และการพาณิ ชย ์เชิงร่วมมือ
(Supply Chain Management and Collaborative
8
Commerce)
บทที่ 8 B2B E-Commerce
• ตลาดกลางอิเล็กทรอนิ กส ์ฝั่ งผู ข
้ าย (Sell-Side E่
Marketplace) เป็ นรู ปแบบการค้าผ่านสือ
่ ผูข
อิเล็กทรอนิ กส ์ทีมี
้ าย (Seller) เพียงรายเดียว ขาย
สินค้าหรือบริการให้กบ
ั ผู ซ
้ อ
ื ้ (Buyer) หลายราย (One่ ยมทาใน B2B แบบนี ้
to-many) ตัวอย่างการค้าทีนิ
เช่น การขายตรงผ่านทางแคทตาล็อก การขายผ่านคน
กลาง และการประมู ลขาย
9
บทที่ 8 B2B E-Commerce
• ตลาดกลางอิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส ์ฝั่ งผู ซ
้ อ
ื ้ (Buy-Side
EMarketplace) เ ป็ น รู ป แ บ บ ก า ร ค้ า ผ่ า น สื่ อ
อิ เ ล็ ก ทรอนิ กส ท
์ ี่ มี ผู ้ข ายหลายราย ขายสิ น ค้า หรือ
้ เ พี ย ง ร า ย เ ดี ย ว ( Many-to-One)
บ ริ ก า รใ ห้ ก ับ ผู ้ ซ ือ
่ ยมทาใน B2B แบบนี ้ เช่น การจัดซือ้
ตัวอย่างการค้าทีนิ
จัดจ้างอิเล็กทรอนิ กส ์ และการประมู ลซือ้
10
บทที่ 8 B2B E-Commerce
• การแลกเปลี่ ยนผ่ า นสื่ ออิ เ ล็ ก ทรอนิ กส ์ (Electronic
่ ผูซ
Exchange) เป็ นรู ปแบบการค้าทีมี
้ อและผู
ื้
ข
้ ายหลาย
้
ราย (Many-to-Many) มาซือ-ขายสิ
น ค้า ก น
ั ผ่ า นสื่อ
อิ เ ล็ ก ทรอนิ กส ์ ดัง นั้ น วิ ธ ี นี้ จึ ง เป็ นการค้า แบบ เปิ ด
่ กองค ์กรสามารถเข้าร่วม
(Public E-Marketplace) ทีทุ
่
ท าธุ ร กรรมได้ ซึงแตกต่
า งจาก 2 แบบข้า งต้น ที่เป็ น
่
การค้าแบบปิ ด (Private E-Marketplace) ซึงอนุ
ญาต
้ มี
่ สท
์ าร่วมทาธุรกรรม
ให้บางองค ์กรเท่านันที
ิ ธิเข้
11
บทที่ 8 B2B E-Commerce
• การจัดการห่วงโซ่อุปทาน และการพาณิ ชย ์เชิงร่วมมื อ
(Supply Chain Management and Collaborative
่ ยวข้
่
Commerce) เป็ นการจัดการกิจกรรมทีเกี
องกบ
ั ผู ม
้ ี
้
ส่วนร่วมทางธุ รกิจทังหมด
อน
ั ได้แก่ ผู จ
้ าหน่ ายวต
ั ถุดบ
ิ
(Supplier) โรงงานผู ้ผ ลิ ต (Manufacturer) ร า้ นค้า
ปลีก (Retailer) ผู บ
้ ริโภค (Customer) ตลอดจนองค ์กร
่ มี
่ ส่ ว นเกียวข้
่
อืนที
อ งก บ
ั การท าธุ ร กรรมของบริษ ท
ั ให้
สามารถดาเนิ นงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
12
บทที่ 8 B2B E-Commerce
13
บทที่ 8 B2B E-Commerce
B2B ก ับอุตสาหรรมบริการ เช่น
• บริก ารท่ อ งเที่ยวและการเดิน ทาง (Travel
and
๋
่
Tourism) ใช้จองตัวโดยสาร
เพือวางแผนการเดิ
นทาง
ล่วงหน้า
• บริการอสังหาริมทร ัพย ์ (Real Estate) ใช้คน
้ หาบริการ
้
เปรียบเทียบ และต่อรองราคาหากมีการจัดประมู ลขึน
• บริการด้านการเงิน (Financial Service) เช่น การชาระ
เงิน การโอนเงิน หรือการกูย
้ ม
ื เงิน เป็ นต้น
้
• บริการซือ-ขายหุ
น
้ ออนไลน์ (Online Stock Service)
ใช้อานวยความสะดวกให้ผูล
้ งทุน และช่วยดึงดู ดความ
้ เนื่ องจากบริการชนิ ดนี ้มี
สนใจให้มผ
ี ู ร้ ว
่ มลงทุนมากขึน
้
่
่
าการซือ-ขายหุ
ค่าธรรมเนี ยมตากว่
น
้ ทัวไป
14
• บริก ารให้ค าปรึก ษาผ่ า นระบบออนไลน์ (Consulting
บทที่ 8 B2B E-Commerce
การพัฒ นาระบบ B2B มีมุ ม มองส าคัญ ที่ต้อ งพิจ ารณา
ดังต่อไปนี ้
• ซอฟต ์แวร ์สนับสนุ นระบบงาน B2B เช่น ระบบแคทตาล็
อกอิเ ล็ก ทรอนิ กส ์ (E-Catalog) ระบบขายตรง (Direct
้ ด จ้า ง
Sales) ระบบประมู ล (Auction) และระบบจัด ซือจั
อิเล็กทรอนิ กส ์ (E-Procurement) เป็ นต้น
• เ ค รื อ ข่ า ย เ พื่ อ ก า ร ติ ด ต่ อ สื่ อ ส า ร แ ล ะ ม า ต ร า ฐ า น
โปรโตคอล เช่น เครือข่าย Extranet ระบบ EDI และ
XML เป็ นต้น
่
• เครืองเซิ
ร ์ฟเวอร ์ (Server) ส าหร บ
ั จัด เก็ บ ฐานข้อ มู ล
่ ในการทาธุรกรรม
และโปรแกรมแอปพลิเคช ันทีใช้
• ระบบร ก
ั ษาความมั่นคงปลอดภัย (Security) ส าหร บ
ั
15
ฮาร ์ดแวร ์และซอฟต ์แวร ์
บทที่ 8 B2B E-Commerce
ประโยชน์ทได้
ี่ ร ับจากการพัฒนาระบบ B2B
• ลดต้นทุนการดาเนิ นงานด้านการขาย การจัดการด้าน
่
สินค้าคงคลัง และเพิมประสิ
ทธิภาพในการจัดส่งสินค้า
• ลด ร ะย ะ เ วลา และ ข้ อ ผิ ด พลา ดใน กา รด า เ นิ น ง า น
ตลอดจนปร บ
ั ปรุ ง ประสิท ธิภ าพในการให้บ ริก ารลู ก ค้า
้
มากขึน
• ลู กค้า สามารถค้น หาสิ น ค้า หรือ ผู ้จ าหน่ ายสิ น ค้ า
ตลอดจนเป รีย บเที ย บคุ ณ สมบัต ิ และราคาสิน ค้า ได้
้
สะดวกมากขึน
16
บทที่ 8 B2B E-Commerce
ตลาดกลางอิเล็กทรอนิ กส ์ฝั่ งผู ข
้ าย
• ตลาดกลางอิเล็กทรอนิ กส ์ฝั่ งผู ข
้ าย (Sell-Side
EMarketplace
หรือ Sell-Side
B2B) คือ รู ปแบบ
่ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ์ทีมี
่ ผู ข
การค้า ผ่ า นสืออิ
้ ายหรือ ผู บ
้ ริโ ภค
เพี ย ง 1 ราย แต่ ม ี ผู ซ
้ อหลายราย
ื้
(One-to-Many)
โดยผู ข
้ ายอาจเป็ นผู ผ
้ ลิต (Manufacturer) และขาย
้ ที่ เ ป็ น ร ้า น ค้ า ส่ ง ( Wholesaler)
สิ น ค้ า ใ ห้ ก ับ ผู ้ ซ ื อ
่
ร ้านค้าปลีก (Retailer) หรือองค ์กรทัวไปก็
ได้
้
• การซือ-ขายสิ
นค้าและบริการแบบ Sell-Side B2B ทา
ได้ 3ลักษณะ คือ
(1) การขายตรงผ่าน E-Catalog (Direct Sales from
E-Catalog)
17
(2) การประมู ลขาย (Forward Auction)
บทที่ 8 B2B E-Commerce
ตลาดกลางอิเล็กทรอนิ กส ์ฝั่ งผู ข
้ าย
18
บทที่ 8 B2B E-Commerce
ตลาดกลางอิเ ล็ ก ทรอนิ กส ฝ
์ ่ ั งผู ข
้ าย 1. การขายตรงผ่ า น E-
Catalog
• เป็ นวิธท
ี ผู
ี่ ข
้ ายสร ้างแคทตาล็อกสินค้าให้ผูซ
้ อเลื
ื ้ อกชมผ่าน
่ าได้ 2 แบบ คือ
ระบบออนไลน์ ซึงท
1. “Buyer-Neutral (Public)” เป็ นการจัดทาแคทตาล็อก
้
้ ข้อมู ลทีผู
่ ซ
สินค้าเพียงชุดเดียวสาหร ับผู ซ
้ อทั
ื ้ งหมด
ดังนัน
้ อ
ื้
ไม่ว่าจะเป็ นชนิ ดของสินค้า หรือราคาขายจะเป็ นมาตรฐาน
เดียวกัน
2. “Buyer-Specific (Private)” เป็ นการปร ับแต่งแคทตาล็
อกสิน ค้า ไปตามผู ซ
้ อแต่
ื้
ล ะราย โดยจะแสดงข้อ มู ล สิน ค้า
่ ซ
้นสินใจ เคยสังซื
่ อมาก่
้
เฉพาะทีผู
้ อรายนั
ื้
อน หรือเป็ นราคา
่ เศษกว่าผู ซ
่
ทีพิ
้ อรายอื
ื้
น
อย่างไรก็ตาม การใช้ E-Catalog กับระบบงานแบบ B2B
่ 19อ้
ในทางปฎิบต
ั ิ อาจทาให้ไม่สะดวกนัก เนื่ องจากสินค้าทีซื
บทที่ 8 B2B E-Commerce
ตลาดกลางอิเ ล็ ก ทรอนิ กส ฝ
์ ่ ั งผู ข
้ าย 1. การขายตรงผ่ า น E-
Catalog (ต่อ)
ข้อดีของวิธน
ี ี ้ คือ
่ องจัดทาเอกสารเพือ
่
• ช่วยลดค่าใช้จ่ายและระยะเวลาทีต้
เสนอขายสินค้า
• ประหยัดเวลาค้นหาข้อมู ลของผู ซ
้ อ
ื้
่
• ผู ซ
้ อสามารถเลื
ื้
อกดู สน
ิ ค้าเฉพาะทีตนสนใจได้
ส่วนข้อเสีย คือ
• ผู ข
้ ายบางรายอาจขาดทัก ษะในการค้น หาผู ซ
้ อผ่
ื้ าน
ระบบออนไลน์ ทาให้การดาเนิ นธุรกิจไม่ประสบผลสาเร็จ
่
เท่าทีควร
• นอกจากนี ้ ในบางองค ก
์ รที่ชิน ก บ
ั การด าเนิ น งานด้ว20ย
บทที่ 8 B2B E-Commerce
ตลาดกลางอิเล็กทรอนิ กส ์ฝั่ งผู ข
้ าย 2. การประมู ลขาย
• การประมู ลขาย (Forward Auction) ทาได้โดยผู ข
้ ายจะกาหนด
่
ความต้อ งการไว้ เพือให้
ซ อเข้
ื้
า มาเสนอราคาแข่ ง ขัน กัน ผู ซ
้ อที
ื้ ่
เสนอราคาสู งสุด ก็จะเป็ นผู ช
้ นะราคาการประมู ล และได้ร ับสิน ค้า
้
่ น้อยชืน
้ หรือเป็ นของ
นันไป
การประมู ลขายนิ นมใช้กบ
ั สินค้าทีมี
หายาก ทาให้ผูซ
้ อสนใจเข้
ื้
ามาแข่งขันกันเสนอราคา
• การจัดประมู ลขายทาได้ 2 วิธค
ี อ
ื
่ ด
(1) ผู ข
้ ายได้เปิ ดเว็บไซต ์เพือจ
ั การประมู ลเอง วิธผ
ี ูข
้ ายไม่ตอ
้ งเสีย
ค่ า นายหน้ า ให้ก บ
ั คนกลางเพื่อจ ด
ั การประมู ล แต่ จ ะต้อ งเสี ย
่
ค่าใช้จา
่ ยในการดาเนิ นงาน เช่น ค่าฮาร ์ดแวร ์และซอฟต ์แวร ์ทีใช้
ดาเนิ นงาน
(2) ใช้คนกลางจด
ั การประมู ล เนื่ องจากคนกลางมีศก
ั ยภาพและ
่
ความเชียวชาญมากกว่
า จึงสามารถควบคุมระยะเวลา และต้นทุน
่ ในการประมู ล บรรลุ ผลส าเร็จ ตามทีผู
่ ข
ทีใช้
้ ายต้อ งการได้ดก
ี ว่า
่ อ งทางสร า้ งรายได้ใ ห้ก21 บ
ส าหร ับข้อ ดีข องวิธ น
ี ี ้ เช่น ช่ว ยเพิมช่
ั
บทที่ 8 B2B E-Commerce
ตลาดกลางอิเ ล็ก ทรอนิ กส ์ฝั่ งผู ข
้ าย 3. การขายผ่า นคนกลาง
และตวั แทนจาหน่ าย
• เป็ นวิธท
ี ช่
ี่ วยให้ผูผ
้ ลิตสามารถกระจายสินค้าไปยังผู ซ
้ อ
ื้
กลุ่มใหญ่ข น
ึ ้ โดยอาศย
ั “คนกลาง (Intermediaries)”
่
หรือ “ตัวแทนจาหน่ าย (Distributors)” ซึงจะเป็
นผู ซ
้ อ
ื้
สินค้าจากผู ผ
้ ลิตแต่ละแห่ง จากนั้นจึงรวบรวมรายการ
่ มาจัดทาเป็ นแคทตาล็อกสินค้า เพือเสนอขาย
่
สินค้าทีมี
ให้ก ับผู ซ
้ อผ่
ื ้ านระบบออนไลน์ตอ
่ ไป
22
บทที่ 8 B2B E-Commerce
ตลาดกลางอิเล็กทรอนิ กส ์ฝั่ งผู ซ
้ อ
ื้
• ตลาดกลางอิเล็กทรอนิ กส ์ฝั่ งผู ซ
้ อ
ื ้ (Buy-Side E-Marketplace
่ เล็กทรอนิ กส ์ที่
หรือ Buy-Side B2B) คือ รู ปแบบการค้าผ่านสืออิ
้
มีผูข
้ ายสินค้าหรือบริการหลายราย แต่มผ
ี ูซ
้ อเพี
ื้
ยง 1 รายเท่านัน
(Many-to-One) โดยผู ซ
้ อมั
ื ้ กเป็ นองค ์กรขนาดใหญ่ทมี
ี่ ศ ก
ั ยภาพ
้ น ค้า จ านวนมาก จนท าให้
หรือ ขีด ความสามารถในการซือสิ
ผู ข
้ ายสนใจเข้ามาเสนอขายสินค้า
่ เหมาะสมกับองค ์กร
• เนื่องจาก Buy-Side B2B เป็ นแบบจาลองทีไม่
่ องการจ ัดซือสิ
้ นค้าปริมาณมาก เพราะผู ซ
้
ทีต้
้ อ
ื ้ (แผนกจด
ั ซือของ
่
องค ์กร) ต้องเสียเวลาค้นหาเว็บไซต ์ของร ้านค้า เพือเปรี
ยบเทียบ
่ ข
สินค้า ราคา และเงื่อนไขทีผู
้ ายแต่ละรายเสนอมาเอง (แม้ว่าจะมี
่
เครืองมื
อ ช่ ว ยอ านวยความสะดวกก็ ต าม) จึงได้ม ีก ารพัฒ นา
่
แบบจาลอง Buy-Side B2B เพือแก้
ปัญหาดงั กล่าว โดยเปิ ดโอกาส
ให้ผูซ
้ อสามารถเปิ
ื้
ดตลาดกลางอิเล็กทรอนิ กส ์ เชิญชวนให้ผูข
้ าย
ให้เข้ามาเสนอขายสินค้าแทนนั่นเอง
23
บทที่ 8 B2B E-Commerce
24
บทที่ 8 B2B E-Commerce
้ จัด จ้า ง
้ 1 . ก า ร จัด ซือ
ต ล า ด ก ล า ง อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส ฝ
์ ่ ั ง ผู ้ ซ ื อ
อิเล็กทรอนิ กส ์
• ก า ร จั ด ซื ้ อ จั ด จ้ า ง อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส ์ ( Electronic
้ ด จ้า งขององค ์กรผ่ า น
Procurement) เป็ นการจัด ซือจั
่
ทางเว็บไซต ์บนเครือข่ายอินเทอร ์เน็ ต ซึงในกระบวนการ
่ ยวข้
่
นี ้จะประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ทีเกี
อง เช่น การตก
ลงราคา การสอบราคา การประกวดราคา และการ
ประมู ลอิเล็กทรอนิ กส ์ เป็ นต้น
• โดยรายละเอีย ดของแต่ ก ิจ กรรมของแต่ ล ะองค ก
์ รก็ จ ะ
้ ่กบ
แตกต่างกน
ั ออกไปขึอยู
ั ลักษณะของสินค้าและบริการ
่ อ้ เงื่อนไขหรือนโยบายทีองค
่
จานวนทีซื
์กรผู ซ
้ อก
ื ้ าหนด
ไว้
25
บทที่ 8 B2B E-Commerce
ต ล า ด ก ล า ง อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส ์ฝ่ ั ง ผู ้ ซ ื ้อ 1 . ก า ร จั ด ซื ้อ จั ด จ้ า ง
อิเล็กทรอนิ กส ์ (ต่อ)
้ ดจ้างอิเล็กทรอนิ กส ์สามารถทาผ่านทางเว็บไซต ์
• การจัดซือจั
ขององค ์กรผู ซ
้ อเอง
ื้
หรือ ผ่ า นทางผู ใ้ ห้บ ริก ารตลาดกลาง
อิเล็กทรอนิ กส ์ (Electronic Market Service Provider)
เช่ น บริษ ัท พัน ธวณิ ช จ ากัด (www.pantavanij.com)
ห รื อ บ ริ ษั ท ก ส ท โ ท ร ค ม น า ค ม จ า กั ด ม ห า ช น
(www.catprocurement.com) ก็ได้
• ข้อดีของการใช้วธ
ิ น
ี ี ้มีหลายประการ เช่น ผู ช
้ อสามารถลด
ื่
ระยะเวลาและค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นงานลง มีทางเลือกใน
้ ส่วนผู ข
่ น
้
การคัดเลือกผู ข
้ ายมากขึน
้ ายก็มย
ี อดขายเพิมขึ
และยังสามารถขยายตลาดไปยังลู กค้าหลุ่มใหม่ผ่านนระบบ
ออนไลน์ได้ เป็ นต้น
• สาหร ับตัวอย่างการนาระบบ E-PROCUREMENT
ไปใน
26
บทที่ 8 B2B E-Commerce
ร ัฐบาลอิเล็กทรอนิ กส ์กับการให้บริการทางอิเล็กทรอนิ กส ์
• เน้ น การบริก ารที่ เกี่ ยวข้อ งก บ
ั หลายหน่ วยงานใน
ลั ก ษ ณ ะ บ ริ ก า ร เ บ็ ด เ ส ร็ จ จ า ก จุ ด เ ดี ย ว ( One-Stop
Service)
ประโยชน์ทได้
ี่ ร ับนอกจากร ัฐบาลแล้ว ยังมี
ประชาชนและภาคธุ ร กิ จ ที่ สามารถเข้า ถึ ง ข้อ มู ลและ
่ งและเท่าเทียม
บริการของร ัฐได้อย่างทัวถึ
้ นฐาน
้
• ต ัวอย่างการบริการทางอิเล็กทรอนิ กส ์ขันพื
ได้แก่
1. เผยแพร่ขอ
้ มู ล
้
2. บริการพืนฐาน
อาทิ ทาบัตรประชาชน จดทะเบียน ขอใบอนุ ญาต
เสียภาษี ฯลฯ
่
่
่
3. ติดต่อสือสารกั
บผู ร้ ับบริการทางอีเมล ์ เครืองมื
อสือสารไร
้สาย ฯลฯ
่
4. ร ับเรืองราวร
้องทุกข ์
5. ประมวลผลข้อมู ลระหว่างหน่ วยงาน
27
6. บริการร ับชาระเงิน
บทที่ 8 B2B E-Commerce
้ ดจ้างอิเล็กทรอนิ กส ์ E-Procurement
ระบบจัดซือจั
• ร ะ บ บ จั ด ซื ้ อ จั ด จ้ า ง อ อ นไ ล น์ ห รื อ ที่ รู ้ จ ั ก กั น ว่ า EProcurement ได้นาเอาเทคโนโลยีดา้ นอินเทอร ์เน็ ตมาใช้ ใน
้
กระบวนการจัดซือของวงจรห่
วงโซ่อุปทาน (Supply Chain)
่
่
ตราบเท่าทีการด
าเนิ นธุรกิจยังต้องการทีจะปร
ับปรุงการจัดการ
และบริหารการเงิน ตลอดจนลดค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ
่ าเป็ นทีเดียว ทีจะท
่
แล้วล่ะก็ E-Procurement นับเป็ นสิงจ
าให้
้
เราบรรลุจุดประสงค ์เหล่านันได้
28
บทที่ 8 B2B E-Commerce
กระบวนการของ E-Procurement
่
่
โดยทัวไปแล้
วจะเริมจาก
1.การคัดเลือกผู ผ
้ ลิต/ผู จ
้ าหน่ าย
2.ติดต่อขอใบเสนอราคา
่ อ้
3.ขออนุ มต
ั ใิ นการสังซื
่ อให้
้ ผูผ
4.ออกใบสังซื
้ ลิต/ผู จ
้ าหน่ าย
5.ระบุจานวนและกาหนดระยะเวลาส่งมอบ
6.การจัดส่งสินค้า
7.การออกใบเรียกเก็บเงิน
8.การชาระค่าสินค้าและบริการ
29
บทที่ 8 B2B E-Commerce
ประโยชน์ของ E-Procurement
้
• สามารถช่ ว ยให้อ งค ก
์ รลดค่ า ใช้จ่ า ยได้ ทังทางตรงและ
ทางอ้อม
้
้ ดจ้างได้ โดยเป็ นผลจาก
• สามารถควบคุมขันตอนการจั
ดซือจั
การจัดการในการเลือก ผู ผ
้ ลิต /ผู จ
้ าหน่ ายสินค้าและบริการ ที่
่ าพอใจ
ให้สน
ิ ค้าคุณภาพดี และราคาเป็ นทีน่
่
• การลดต้นทุนจากการเพิมประสิ
ทธิภาพในการทางาน ของ
่
เจ้าหน้าทีในแผนกจั
ดซือ้
่
่ นกระดาษออกไป
• การลดกระบวนการทีอาศ
ัยระบบเอกสารทีเป็
• ระบบบัญ ชี และระบบรายงานนั้ น สามารถตรวจสอบ และ
่ อสิ
้ นค้าและบริการต่า งๆ ได้แ บบออนไลน์ ซึง่
ติด ตามการสังซื
่
ช่ว ยให้ม ีค วามถู ก ต้อ งมากกว่ า การท างานในอดีต ทีอาจเกิ
ด
ความผิดพลาดจากการใช้ระบบเอกสารได้
30
• ความสะดวกรวดเร็ว
บทที่ 8 B2B E-Commerce
้
ตลาดกลางอิเล็กทรอนิ กส ์ฝั่ งผู ซ
้ อ
ื ้ 2. การประมู ลซือ
่ ้
• การประมู ลซือ้ (Reverse Auction) เป็ นการประมู ลทีผู
้
่
ซือจะก
าหนดความต้องการไว้ เพือให้
ผูข
้ ายเข้ามาเสนอ
ราคาแข่ ง ขัน ก น
ั ผู ข
้ ายที่เสนอราคาต่ าสุ ด ก็ จ ะเป็ นผู ้
้ น ค้า ชนิ ด นั้ นไป
ชนะการประมู ล และผู ซ
้ อจะต้
ื้
อ งซือสิ
่ วธ
ตัวอย่างสินค้าและบริการทีใช้
ิ น
ี ี ้ เช่น วต
ั ถุดบ
ิ ในการ
ผลิต อุปกรณ์สานักงาน และงานก่อสร ้างต่างๆ เป็ นต้น
้
• การจัดประมู ลซือใน
Buy-Side B2B จะกระทาได้ 2
ลัก ษณะเช่ น เดีย วก บ
ั การประมู ล ขาย กล่ า วคือ ผู ซ
้ อ
ื้
่ ดประมู ลเอง หรือใช้คนกลาง
สามารถเปิ ดเว็บไซต ์เพือจั
่ ดการประมู ลก็ได้
เพือจั
31
บทที่ 8 B2B E-Commerce
่
่ เล็กทรอนิ กส ์ (B2B
การแลกเปลียนผ่
านสืออิ
Electronic Exchange)
• หมายถึง รู ปแบบการค้า ที่มี ผู ้ซ อและผู
ื้
้ข ายจ านวนมาก
้
(Many-to-Many) มาซือ-ขายสิ
นค้าและบริการผ่านตลาด
กลางอิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส ์ (E-Marketplace) โดยมีค นกลางท า
่ ากับดู แลการซือ-ขายให้
้
่
หน้าทีก
เป็ นไปอย่างถู กต้อง เพือให้
ผู ้
้
่
่
้ เรียกคนกลางทีท
่ า
ซือและผู
ข
้ ายเกิดความมันใจเพิ
มมากขึ
น
่ ว่
้ า “Market Maker” โดยทัวไป
่
หน้าทีนี
Market Maker ก็
คือเจ้าของเว็บไซต ์ตลาดกลางอิเล็กทรอนิ กส ์นั่นเอง
• จะเห็นว่า B2B Electronic Exchange เป็ นการค้าแบบเปิ ด
่ กองค ์กรสามารถเข้าร่วมทา
(Public E-Marketplace) ทีทุ
่
ธุรกรรมได้ ซึงแตกต่
างกับ Sell-Side และ Buy-Side B2B ที่
่ ญาตให้
เป็ นการค้าแบบปิ ด (Private E-Marketplace) ทีอนุ
้ มี
่ สท
์ าร่วมทาธุรกรรม
32
เฉพาะบางองค ์กรเท่านันที
ิ ธิเข้
บทที่ 8 B2B E-Commerce
ประเภทของ Exchange
จ าแนกตามปั จ จัย ส าค ญ
ั 2
ประการ
• ชนิ ดของวต
ั ถุดบ
ิ (Types of Material) คือ direct กบ
ั
indirect (MRO)
้ ว นหรือ
- วต
ั ถุ ด ิบ ทางตรง (Direct
Material) เป็ นชินส่
้
ส่วนประกอบหลักของสินค้าและบริการ การซือ-ขายในแต่
ละครง้ั
จะกระทาในปริมาณมากๆ
- วต
ั ถุดบ
ิ ทางอ้อม (Maintenance, Repair and Operation:
่ ใ ช่ส่ ว นประกอบหลักในการผลิต แต่ ใ ช้
MRO) เป็ นวัต ถุ ด บ
ิ ทีไม่
่
เพือการบ
ารุงร ักษา หรือสนับสนุ นการดาเนิ นงานขององค ์กร
• วิธจ
ี ด
ั หาวัตถุดบ
ิ (Sourcing Strategies) คือ spot กบ
ั
strategic
่ ค านึ งถึงผู ข
- spot sourcing
เป็ นการท าธุ รกรรมทีไม่
้ าย
33 ่
(Supplier) แต่จ ะพิจ ารณาจากราคาของสิน ค้าและบริก ารที
บทที่ 8 B2B E-Commerce
34
บทที่ 8 B2B E-Commerce
้
1. Vertical Distributors เป็ นการซือ-ขายว
ต
ั ถุดบ
ิ ทาง
่ านึ งถึงผู ข
ตรงทีค
้ ายเป็ นหลัก โดยคนกลางจะทาหน้าที่
่ อยู ่ในตลาดทังหมด
้
รวบรวม ผู ซ
้ อและผู
ื้
ข
้ ายทีมี
กาหนด
วิธเี จรจาต่อรองราคา และการทาสัญญาภายหลังจากที่
้
้
มีการซือ-ขายเกิ
ดขึน
้
2.Horizontal Distributors เป็ นการซือ-ขายวั
ตถุดบ
ิ แบบ
่ านึ งถึงผู ข
MRO
ทีค
้ ายเป็ นหลัก โดยคนกลางจะทา
่
หน้าทีรวบรวมแคทตาล็
อกของผู ข
้ ายแต่ละอุตสาหกรรม
มาจัด เป็ นแคทตาล็ อ กสิน ค้า เพีย ง 1 แคทตาล็ อ ก และ
่
้
เชือมโยง
แคทตาล็อกดังกล่าวเข้ากบ
ั ระบบซือขายสิน ค้า เพื่อให้ผู ซ
้ อในแต่
ื้
ล ะอุ ต สาหกรรมสามารถ
เลือกชม และเจรจาต่อรองราคากันได้
35
บทที่ 8 B2B E-Commerce
้
3. Vertical Exchanges เป็ นการซือ-ขายว
ต
ั ถุดบ
ิ ทาง
่
ตรงทีราคาของสิ
นค้าจะแปรผันไปตามกลไกตลาด โดย
่ องการซือ-ขายสิ
้
คนกลางจะจับคู ่ผูซ
้ อและผู
ื้
ข
้ ายทีต้
นค้า
่
ชนิ ดเดียวกน
ั ด้วยกน
ั เพือให้
ทง้ั 2 ฝ่ายต่อรองราคา โดย
วิธเี สนอราคาหลายครง้ั (Dynamic Pricing) จนกว่าจะ
ได้ร าคาที่ตนพึง พอใจ ตัว อย่ า งวิธ ซ
ี อ-ขายลั
ื้
ก ษณะนี ้
เช่น การประมู ลอิเล็กทรอนิ กส ์ เป็ น
้
4.Horizontal Exchanges เป็ นการซือ-ขายว
ต
ั ถุดบ
ิ แบบ
่
MRO ทีราคาของสิ
นค้าจะแปรฝั นไปตามกลไกตลาด
้
โดยการซือ-ขายแบบ
Horizontal
Exchanges
มี
ลักษณะคล้ายกับ Vertical Exchanges กล่าวคือ ใช้
่
การจับคู ่ผูซ
้ อและผู
ื้
ข
้ ายเพือเจรจาต่
อรองราคาเช่นกัน
้
เพีย งแต่ ว ต
ั ถุ ด ิบ ที่ซือ-ขายก
น
ั ในวิธ ีนี้ ถู ก น าไปใช้ใ น
36
บทที่ 8 B2B E-Commerce
การจัดการห่วงโซ่อป
ุ ทาน (Supply Chain
Management) และการพาณิ ชย ์เชิงร่วมมือ
(Collaborative Commerce)
่ วยสนับสนุ นให้ระบบงาน B2B ประสบ
• เป็ นกิจกรรมทีช่
ความสาเร็จ
่
่
• ห่วงโซ่อป
ุ ทาน (Supply Chain) หมายถึง การเคลือนที
ของวต
ั ถุดบ
ิ สารสนเทศ เงิ น และบริการจากผู จ
้ าหน่ าย
วต
ั ถุด บ
ิ
(Supplier)
ผ่านโรงงานอุตสาหกรรม
(Factories) คลังสินค้า (Warehouse) ไปยังผู บ
้ ริโภค
คนสุดท้าย (End Customer)[Turban and King,
2008]
แนวคิดสาคัญ Supply
Chain คือ ต้องการให้องค ์กร
สามารถสรา้ งระบบการไหลเวียนของสารสนเทศ สินค้37า
บทที่ 8 B2B E-Commerce
38
บทที่ 8 B2B E-Commerce
1. Upstream Supply Chain เป็ นการดาเนิ นงานระหว่าง
่
่
องค ์กรกับผู จ
้ าหน่ ายวัตถุดบ
ิ (Supplier) ซึงโดยทั
วไปจะ
่
้ ดจ้าง (Procurement)
เกียวข้
องกบ
ั กิจกรรมการจัดซือจั
่
่ ัตถุดบ
่ ผลิตสินค้าและบริการ
เพือให้
ได้มาซึงว
ิ ทีใช้
2. Internal Supply Chain เป็ นการดาเนิ นงานภายใน
้
้ั
องค ์กรตังแต่
ข นตอนการน
าว ต
ั ถุ ด บ
ิ เข้า สู ่ ก ระบวนการ
่
่
ผลิต (Input)
เพือให้
ไ ด้ส ิน ค้า ละบริก ารทีสมบู
ร ณ์
่
่ าหน่ ายต่อไป
(Output)
ก่อ นทีจะส่
งให้รา้ นค้าเพือจ
สาหร ับกิจกรรมหลักของระบบงานนี ้ คือ การจัดการการ
ผลิต (Production Management) การควบคุมผลิต
(Manufacturing Control) และการจัดการสินค้าคง
คลัง (Inventory Management)
39
บทที่ 8 B2B E-Commerce
3. Downstream Supply Chain เป็ นการดาเนิ นงานที่
่
่
เกียวข้
อ งก บ
ั การเคลือนย้
า ยสิน ค้า และบริก ารจากองค ์
ไปสู ่ผู บ
้ ริโ ภคคนสุ ด ท้า ย กิจ กรรมหลักของระบบงานนี ้
คื อ ก า ร จั ด ก า ร ตั ว แ ท น จ า ห น่ า ย (Distributor
Management) คลังมีสน
ิ ค้า (Warehousing) การ
ขนส่งสินค้า (Transportation)
และบริการหลังการ
ขาย (After-Sale Service)
• ร ะ บ บ ง า น ที่ ก ล่ า ว ม า ข้ า ง ต้ น มี ค ว า ม ซ บ
ั ซอ
้ นและ
่
เกียวข้
องกบ
ั บุคคลหลายฝ่าย องค ์กรจึงจาเป็ นต้องมีการ
่
่
้
บริหารจัดการทีประสิ
ทธิภาพ เพือให้
ทุกขันตอนในการ
่ สอดคล้อง และบรรลุผล
ดาเนิ นงานเป็ นไปอย่างราบรืน
ตามที่วางไว้ โดยแนวทางส าคัญ ที่น ามาใช้ค ือ “การ
จัด การห่ ว งโซ่ อุ ป ทาน (Supply
Chain
40
่
บทที่ 8 B2B E-Commerce
การจัดการห่วงโซ่อป
ุ ทาน
• การจด
ั การห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management:
่ ยวข้
่
SCM) คือกระบวนการบริหารจด
ั การกิจกรรมทีเกี
องกับห่วง
้
โซ่อุปทานทังหมดให้
มป
ี ระสิท ธิภ าพ และมีประสิท ธิผล สู งสุ ดกับ
องค ์กร โดย SCM
จะช่วยองค ์กรให้สามารถลดต้นทุนในการ
จด
ั เก็บสินค้าคงคลังควบคุมระยะเวลาในการผลิตสินค้า และสร ้าง
่ บเป็ นการ
ความสัมพันธ ์อน
ั ดีลูกค้าและตวั แทนจาหน่ ายด้วย ซึงนั
สร ้างความได้เปรียบเหนื อคู ่แข่งขัน องั จะทาให้องค ์กรมีกาไรตอบ
แทนระยะยาว และสามารถดารงอยู ่ตอ
่ ไปได้
่
• ปั จจุบน
ั หลายองค ์กรได้สออิ
ื่ เล็กทรอนิ กส ์มาใช้ เพือปร
ับปรุงการ
ดาเนิ นงานของระบบ SCM ให้สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
้ เราเรียกว่า SCM รู ปแบบนี ว่
้ า
มากขึน
“E-SCM (Electronic
Supply
Chain
Management)” โดยไม่เ พียงแต่เ ป็ นการ
่
เปลียนแปลงเทคโนโลยี
ใ ช้ส าหร ับด าเนิ น งานเท่า นั้น แต่ย งั เป็ น
่
การเปลียนแปลงนโยบาย
(Policies)
41
บทที่ 8 B2B E-Commerce
• วฒ
ั นธรรม (Cultural)
โครงสร า้ งองค ก
์ ร
(Organizational Structure) กระบวนการดาเนิ นธุรกิจ
(Business Process) ตลอดจนการวด
ั ประสิทธิภาพการ
ดาเนิ น (Performance Metric) ของทุกองค ์กรในระบบ
้ ้ เพือให้
่
SCM
ทังนี
สอดคล้องกบ
ั แนวคิดหลักของ E่ องการให้ทุกฝ่ายทีเกี
่ ยวข้
่
SCM ทีต้
องในห่วงโซ่อุปทาน
ได้ร ับประโยชน์สูงสุดร่วมกัน (Win-Win Partnership)
42
บทที่ 8 B2B E-Commerce
บทบาทของ E-SCM ต่อระบบ B2B
่ วยสนับสนุ นระบบงาน B2B ใน
E-SCM นามาใช้เพือช่
กิจกรรมต่อไปนี ้
้ ดจ้างอิเล็กทรอนิ กส ์ (E-Procurement) E-การจัดซือจั
SCM ช่วยอานวยความสะดวกในการค้นหาผู จ
้ าหน่ าย
่ อ้
วัตถุดบ
ิ การเลือกสินค้าผ่านระบบ E-Catalog การสังซื
และการตรวจสอบสถานการณ์จด
ั ส่งสินค้า
- ก า ร จัด ก า ร สิ น ค้ า ค ง ค ลังโ ด ยใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ ไ ร ้ส า ย
(Wireless Device) เช่น การใช้คอมพิวเตอร ์ PDA
่
่
เชือมต่
อกบ
ั เครืองคอมพิ
วเตอร ์เมนเฟรม (Mainframe)
่ ย กดู ข อ
เพือเรี
้ มู ลสินค้า หรือ การใช้เทคโนโลยีบ าร ์โค้ด
่ ดยอดปริมาณสินค้า
(Bar-Coding Technology) เพือตั
่ กขายไปออกจากคลังสินค้า เป็ นต้น
ทีถู
43
บทที่ 8 B2B E-Commerce
บทบาทของ E-SCM ต่อระบบ B2B (ต่อ)
-การตรวจสอบการดาเนิ นงานโดยใช้ RFID (Radio
Frequency Identification) RFID เป็ นแผ่นป้ าย
่
่ ยวข้
่
อิเล็กทรอนิ กส ์ (RFID Tag) ทีบรรจุ
ขอ
้ มู ลทีเกี
องกับ
้
การผลิตสินค้าชนิ ดนันเอาไว้
เช่น ชนิ ดของสินค้า
่ ต เป็ นต้น แผ่นป้ าย
ผู ผ
้ ลิต ว ันเดือนปี และสถานทีผลิ
้
อิเล็กทรอนิ กส ์นี จะถู
กฝั งหรือติดไว้ทสิ
ี่ นค้าและสามารถ
่ ่ภายในโดยใช้อป
่ ทยุ
อ่านค่าทีอยู
ุ กรณ์สาหร ับอ่านคลืนวิ
RFID นับเป็ นอีกหนึ่ งเทคโนโลยีทช่
ี่ วยองค ์กรให้สามารถ
้
ตรวจสอบการดาเนิ นงานได้ดย
ี งขึ
ิ่ น
44
บทที่ 8 B2B E-Commerce
บทบาทของ E-SCM ต่อระบบ B2B (ต่อ)
-ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ท า ง า น ร่ ว ม ก ัน (Collaborative
planning)
E-SCM
ช่วยให้มก
ี ารแบ่งปั นข้อมู ล
(Information Sharing) ร่วมกน
ั ระหว่างผู ซ
้ อและผู
ื้
ข
้ าย
วต
ั ถุ ด ิบ ดัง นั้น แต่ ล ะฝ่ ายจึง สามารถคาดการณ์ค วาม
้
ต้อ งการซือ-ขายสิ
น ค้า ล่ ว งหน้ า และสามารถก าหนด
้
ระดับสินค้าคงคลังได้แม่นยาขึน
- ก า ร พั ฒ น า ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ์ ร ่ ว ม ก ั น (Collaborative
่
Product
Development)
เป็ นแนวคิด ทีจะให้
่
ผู เ้ กียวข้
อ งทุ ก ฝ่ ายในห่ วงโซ่อุป ทานร่วมมือ ก น
ั พัฒ นา
เทคนิ ค หรือ แนวทางที่ช่ว ยสามารถผลิต สิน ค้า ออกสู ่
่ ในการ
ท้องตลาดได้เร็วกว่าคู ่แข่งหรือลดระยะเวลาทีใช้
นาสินค้าออกสู ต
่ ลาด (Time-to-Market) ลง
45
บทที่ 8 B2B E-Commerce
บทบาทของ E-SCM ต่อระบบ B2B (ต่อ)
-ระบบขนส่ ง อิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส ์ (E-Logistics)
โดยใช้
้
อิ น เทอร เ์ น็ ตเป็ นเทคโนโลยี พ ื นฐาน
เพื่ อจัด การก บ
ั
ร ะ บ บ ง า น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ก ับ ก า ร จัด ส่ ง สิ น ค้ า ไ ป ถึ ง มื อ
ผู บ
้ ริโภค เช่น การใช้ระบบตรวจสอบสถานการณ์จด
ั ส่ ง
สิ น ค้า หรือ การตรวจสอบสถานะของสิ น ค้า ที่อยู ่ ใ น
ระหว่างประมู ล เป็ นต้น
-การทางานร่วมกับระบบ Exchange (Use of B2B
่ ายคลึงกน
Exchange) ด้วยลักษณะการทางานทีคล้
ั จึง
ท าให้ E-SCM
ถู ก น ามาใช้เ พื่อสนั บ สนุ นระบบ
้
Exchange
เช่น การซือ-ขายสิ
นค้า หรือการสรา้ ง
ความสัมพันธ ์อน
ั ดีกบ
ั ผู ข
้ ายผ่านระบบอินเทอร ์เน็ ต เป็ น
ต้น
46
บทที่ 8 B2B E-Commerce
• การพาณิ ชย ์เชิงร่วมมือ (Collaborative Commerce:
C-Commerce) หมายถึง การดาเนิ นงานร่วมกน
ั ของ
่ เล็กทรอนิ กส ์ ไม่วา
องค ์กรผ่านสืออิ
่ จะเป็ นการ
ดาเนิ นงานด้านการวางแผน (Planning) การออกแบบ
(design) การจัดการ (Manage) การวิจย
ั ผลิตภัณฑ ์
(Product Research) การให้บริการ (Service)
ตลอดจนการคิดค้นนวัฒกรรมสาหร ับระบบงาน ECommerce (Innovative EC Application)[Turban
and King, 2008]
่
่ การ
• C-Commerce
เป็ นรู ปแบบการติดต่อสือสารที
มี
แบ่ ง ปั นข้อ มู ล เพื่ อการด าเนิ นงานร่ ว มก น
ั ผ่ า นสื่ อ
้ั ้ จะต้อ งอาศ ย
่
อิเ ล็ ก ทรอนิ กส ท
์ งนี
ั เครืองมื
อ ที่ ช่ ว ยให้
ส า ม า ร ถ ด า เ นิ น ง า น ร่ ว ม กันไ ด้ เ ช่ น ซ อ ฟ ต แ
์ วร ์
47
บทที่ 8 B2B E-Commerce
Electronic Data Interchange
• Electronic Data Interchange (EDI) คือ ระบบ
แลกเปลี่ยนข้อ มู ล อิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส ร์ ะหว่ า งองค ก
์ ร โดย
EDI จะก าหนดมาตรฐานของข้อ มู ล ทางธุ ร กิจ ที่แต่ ล่ ะ
องค ์กรใช้เป็ นประจา (Routine Documents) เอาไว้
่ อ้ หรือใบเสร็จร ับเงิน หรือใบจัดส่งสินค้า เป็ น
เช่น ใบสังซื
ต้น
่ ก ารแลกเปลี่ยนข้อ มู ล เกิด ขึน
้ คอมพิว เตอร ์ของ
• เมือมี
องค ก
์ รต้น ทางจะแปลงข้อ มู ล เหล่ า นี ้ ให้อ ยู ่ ใ นรู ปแบบ
มาตรฐาน แล้วส่งผ่านเครือข่าย “VAN (Value-Added
่ นเครือข่ายส่วนตวั ระหว่างพันธมิตร
Networks)” ซึงเป็
ทางการค้าไปยังคอมพิวเตอร ์ขององค ์กรปลายทาง ซึง่
จะเปลี่ ยนแปลงข้อ มู ลดัง กล่ า วให้ก ลับ มาเป็ นข้อ มู48ล
บทที่ 8 B2B E-Commerce
่ วยองค ์กรให้เกิด
EDI
เป็ นระบบการค้าแบบดังเดิมทีช่
ความคล่ อ งตัวในการด าเนิ นงาน เนื่ องจากองค ก
์ ร
สามารถส่ ง ข้อ มู ลแบบอิเ ล็ ก ทรอนิ กส ผ
์ ่ า นเครือ ข่ า ย
คอมพิว เตอร ์ไปยัง บริษ ท
ั คู ่ ค า้ หรือ กลุ่ ม สถาบัน การเงิ น
่ ความล่าช้าและ
โดยไม่ตอ
้ งใช้พนักงานเดินเอกสาร ซึงมี
อาจเกิดข้อผิดพลาดสู ง EDI จึงเป็ นอีกหนึ่ งกลยุทธ ์ที่
้ั
ช่วยลดวงจรธุรกิจให้สนลง
ลดต้นทุนการจัดเอกสาร อ ัน
จะทาให้องค ์กรมีผลิตผล (Productivity)
จากการ
่ นด้
้ วย
ดาเนิ นงานเพิมขึ
49
บทที่ 8 B2B E-Commerce
่ าคัญ คือ เหมาะ
อย่างไรก็ตาม EDI
ยังมีขอ
้ จากด
ั ทีส
สาหร ับองค ์กรขนาดใหญ่ เนื่ องจากต้องใช้เงิ นลงทุนสู ง
่ กบ
และมาตรฐานของข้อ มู ล ทีใช้
ั บริษ ท
ั คู ่ ค า้ แต่ ล ะราย
อาจแตกต่ า งก น
ั ดัง นั้น ใน 1 องค ์กรอาจต้อ งใช้ห ลาย
่
มาตรฐานข้อมู ล จึงนับว่าเป็ นระบบทีขาดความยื
ดหยุ่น
จ า ก ข้ อ จ า กั ด ดั ง ก ล่ า ว จึ งไ ด้ ม ี ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ
้
“Internet-based (WEB) EDI” ขึนในปั
จจุบน
ั ซึง่ EDI
รู ป แบบนี ้จะต้อ งจะใช้เ ครือ ข่ า ยอิน เทอร ์เน็ ตเทคโนโลยี
้
่ ขด
พืนฐานในการร
ับส่งข้อมู ลแทนเครือข่าย VAN ทีมี
ี
ความสามารถจากัด โดย Internet-based EDI มี
ค่าใช้จ่ายในการลงทุน ต่ากว่า EDI แบบเดิม นอกจากนี ้
ยังใช้งานง่ าย สามารถเข้าถึงองค ์กรได้กว้างขวาง และมี
เครื่องมื อ อ านวยความสะดวกในการด าเนิ นงานที่
50
หลากหลายอีกด้วย