60.สันติศึกษา

Download Report

Transcript 60.สันติศึกษา

สันติศึกษา
Peace Study
------------------
--------------------ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม
Post-Structuralism or Nothing
ประเด็นศึกษา
 บทที่ 1 ความรูเ้ บือ
้ งต้นเกีย
่ วกับสันติศึกษา
 บทที่ 2 ทฤษฎีสมานฉันท์และทฤษฎีความขัดแย้งบทที่ 3
ชีวประวัติบค
ุ คลผูไ
้ ม่ใช้ความรุนแรงในการแก้ปญ
ั หาความ
ขัดแย้ง
 บทที่ 4 หลักจริยธรรมที่สนับสนุนการไม่ใช้ความรุนแรง
 บทที่ 5 หลักการจัดการความขัดแย้งโดยสันติวธ
ิ ี
 บทที่ 6 ความขัดแย้งในสังคมไทย
 บทที่ 7 รูปแบบการจัดการความขัดแย้งโดยสันติวธ
ิ ใ
ี น
สังคมไทย
บทที่ 1
------------------
---------------------
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสันติศึกษา
ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม
ความหมายของความขัดแย้ง
พจนานุกรฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า
ความขัดแย้ง หมายถึง การไม่ลงรอยกัน
ขัด หมายถึง ไม่ทาตาม ฝ่าฝืน ขืนไว้
แย้ง หมายถึง ไม่ตรงหรือลงรอยกัน ดันไว้ ทานไว้
ตีความโดยนัยดังกล่าว ความขัดแย้งประกอบด้วย อาการทัง้ ขัด ทั้งแย้ง ซึ่ง
นอกเหนือจากจะไม่ทาตามแล้ว ยังต้านทานเอาไว้ดวย
คาว่า ความขัดแย้ง ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า Conflict
Webter’s Ninth New Collegate Dictionary อธิบายว่า conflict มาจาก
ภาษาละตินว่า Confligere แปลว่า การต่อสู้ (fight) การสงคราม (warfare)
ความไม่ลงรอยต่อกัน หรือเข้ากันไม่ได้ (incompatible) ตรงข้ามกัน
(opposition) ตลอดจนความแตกต่างระหว่างกลุม
่ หรือเผ่าพันธุ์ สัมพันธภาพที่
แตกต่างกันนีท
้ าให้เป็นชนวนแห่งการต่อสูแ
้ ข่งขันระหว่างกัน
คาที่มีความหมายในชุดเดียวกันกับ ความขัดแย้ง
 ในหนังสือชือ
่ ความขัดแย้ง หลักการและเครือ
่ งมือแก้ปญ
ั หา ของ วันชัย
วัฒนศัพท์ ได้อธิบายว่า ความขัดแย้ง (conflict) และ ข้อพิพาท (dispute)
มักจะใช้ในความหมายทีแ
่ ทนกันหรือสลับไปสลับมาเสมอ
 แต่ในบางกรณีจะมีความหมายเฉพาะเจาะจง ว่า ความขัดแย้งเป็นเรือ
่ งของ
ความเห็นหรือความคิดซึง่ แตกต่างกัน แต่คก
ู่ รณียงั สามารถทางานร่วมกันได้
แต่เมือ
่ ขยายเป็นข้อพิพาท จะกลายเป็นความมุง่ หมายทีจ
่ ะเอาชนะกันให้ได้เพือ
่
เป้าหมายสูงสุดของตนเอง ฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ จะต้องไป
 นักสังคมวิทยา ถือว่า ความขัดแย้งเป็นกระบวนการทางสังคม และเป็น
ปฏิสม
ั พันธ์โดยตรงระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล องค์การระหว่างประเทศ หรือ
ระหว่างตัง้ แต่สองฝ่ายหรือมากกว่าสองฝ่ายขึน
้ ไป โดยฝ่ายหนึง่ พยายามทีจ
่ ะ
ป้องกันหรือบีบบังคับเพื่อผลบางอย่าง ในขณะทีอ
่ ก
ี ฝ่ายหนึง่ พยายามต่อต้าน
 ประเภทของความขัดแย้ง
1. ความขัดแย้งต่อตนเอง
2. ความขัดแย้งในองค์กร
3. ความขัดแย้งระหว่างองค์กร
 ระดับของความขัดแย้ง
1. ความขัดแย้งระดับบุคคล
2. ความขัดแย้งระดับองค์กร
3. ความขัดแย้งระดับประเทศ
4. ความขัดแย้งระหว่างประเทศ หรือความขัดแย้งระดับโลก
Globalization ในความหมายของสังคมไทย

ชัยอนันต์ สมุทวานิช เดิมได้แปลคา Globalization เป็นภาษาไทยว่า “โลกานุวต
ั ร” โดยให้
ความหมายว่า ประพฤติตามโลก ซึ่งเป็นการย่นกาล (Time) เทศะ (Space)

ยุค ศรีอาริยะ ใช้คาว่า “ระบบโลก” และ “โลกาภิวต
ั น์” แทนคาว่า Globalization โดยให้
เหตุผลว่า โลกาภิวต
ั น์ หมายถึง การวิวัฒน์ของระบบโลก ซึ่งประกอบด้วยมิตท
ิ างการเมือง
เศรษฐกิจ วัฒนธรรม รวมทั้งมิตท
ิ างประวัตศ
ิ าสตร์และสิง่ แวดล้อม โดยมีการเคลื่อนตัวของ
ทุนในระดับโลกเป็นหัวใจทีท
่ าให้ระบบนีก
้ ่อตัวขึน
้

ใน การชาระพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน เมื่อปี พ.ศ.2537 ได้ตกลงเลือกคาว่า
“โลกาภิวต
ั น์ ” เป็นศัพท์แทนคาว่า Globalization อย่างเป็นทางการ และให้เพิม
่ คาว่า โลกา
ภิวัตน์ พร้อมด้วนิยามเพิม
่ เติมไว้ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ดังนี้

“โลกาภิวต
ั น์ น. การแพร่กระจายไปทั่วโลก การที่ประชาคมโลกไม่วา่ จะอยู่ ณ จุดใด
สามารถรับรูส
้ ัมพันธ์หรือรับผลกระทบจากสิง่ ที่เกิดขึน
้ อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ซึ่ง
เนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นต้น (ป. โลก + อภิวตตน แปลว่า การแผ่ถึงกัน
ทั่วโลก) (อ. Globalization)
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดกระแสโลกาภิวต
ั น์
 การเชือ
่ มโยงในด้านการค้า การลงทุน และการบริการในรูปแบบต่าง ๆ ทั่วโลก ที่
เรียกว่า Globalization กาลังมีการขยายตัวด้วยอัตราเร่งและด้วยความถีท
่ ส
ี่ งู ขึน
้
ตลอดเวลา โดยมีปจ
ั จัยทีส
่ าคัญดังนีค
้ อ
ื





1. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีโทรคมนาคม
2. การสิ้นสุดของสงครามเย็น และชัยชนะของระบบทุนนิยมภายใต้การนาของอเมริกา
3. การเคลื่อนย้ายของผู้คน วัฒนธรรม ข้อมูลข่าวสาร และเงินทุนข้ามพรมแดนรัฐชาติ
4. ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
5. อิทธิพลของบริษท
ั ข้ามชาติ และทุนนิยมบริโภค
 โดยสรุป การเปลีย
่ นแปลงดังกล่าว มีทงั้ มูลเหตุระยะสัน
้ เฉพาะหน้าในโครงสร้าง
ส่วนบน คือการพังทลายของค่ายคอมมิวนิสต์และการสิน
้ สุดสงครามเย็น ไป
จนถึงมูลเหตุระยะยาวในโครงสร้างส่วนล่าง คือการปฏิวต
ั เิ ทคโนโลยีสารสนเทศ
ยุคสมัยทางประวัตศ
ิ าสตร์
 Globalization ถือเป็นยุคหนึง่ ของพัฒนาการทางประวัตศ
ิ าสตร์ โดยก่อนหน้านี้
นักวิชาการคือ Alvin Toffler ได้แบ่งยุคสมัยทางประวัตศ
ิ าสตร์ ไว้ในหนังสือชือ
่
The Third Wave (1980) ดังนี้
 ยุคแรก คือ ยุคชุมชนบรรพกาล ซึ่งมีระดับพัฒนาการสูงสุดคือระดับชุมชน
หมู่บา้ น ใช้เครือ
่ งมือทีท
่ น
ั สมัย มีความสัมพันธ์ทางสังคม 2 แบบ คือ แบบพ่อเป็น
ใหญ่ และแบบแม่เป็นใหญ่
 ยุคทีส
่ อง คือ ยุคจักรวรรดิทางการเมือง เกิดขึน
้ จากคลืน
่ การปฏิวต
ั ท
ิ าง
เกษตรกรรมทีป
่ ระสานกันกับการปฏิวต
ั ท
ิ างการเมือง คือการกาเนิดรัฐและชน
ชั้น รวมถึงการปฏิวต
ั ท
ิ างวัฒนธรรม
 ยุคทีส
่ าม คือ ยุคโลกาภิวต
ั น์ โดยมี “ทุน” เป็นหัวใจของการวิวฒ
ั น์ เริ่มจากยุค
การปฏิวต
ั ท
ิ างการรับรู้ (การกบฏต่อศาสนา) และการปฏิวต
ั ท
ิ างการค้า ตามด้วย
การปฏิวต
ั ท
ิ างการเมือง การล่มสลายของของศักดินาในยุโรป การปฏิวต
ั ท
ิ าง
อุตสาหกรรม จักรวรรดินม
ิ และการล่าอาณานิคม ความสูงสุดของยุคนีค
้ อ
ื การ
กาเนิดระบบทุนนิยม ที่เรียกว่า “ระบบตลาดโลก”
พัฒนาการของโลกาภิวต
ั น์

พัฒนาการของโลกาภิวต
ั น์ ปรากฏในข้อเสนอของนักวิชาการตะวันตกหลายท่าน ดังนี้

Norbert Elias เสนอว่า โลกกาลังเคลือ
่ นเข้าสู่สภาวะทีศ
่ ว
ิ ไ
ิ ลซ์ (Civilization)

Immanuel Wallerstein เสนอแนวคิดว่า สังคมโลกได้เชือ
่ มโยงเข้าด้วยกันมานานแล้ว
จากระบบย่อยคือ แคว้นเล็ก ๆ สู่ระบบจักรวรรดิ เช่น จักรวรรดิโรมัน จักรวรรดิเปอร์เซีย
จีนหรืออาหรับ สู่ระบบใหญ่ในปัจจุบันคือ ระบบเศรษฐกิจโลก ซึ่งทุนนิยมก่อตัวมาตัง้ แต่
ค.ศ.1500

ฟรานซิส ฟูกูยามา เสนอบทความชือ
่ The End of Ideology เมื่อ 30 ปีที่แล้วว่า ในอีก
25 ปีข้างหน้า (เทียบได้กบ
ั ปัจจุบัน) สังคมจะเป็นสังคมหลังพัฒนาอุตสาหกรรม
(Post3industrial )

Jerald Hage และ Charles H. Powers เขียนหนังสือชือ
่ Post3industrial ได้อธิบายว่า
ปรากฏการณ์ที่จะเกิดขึน
้ ในอนาคตถูกกาหนดด้วยขอบเขตของเทคโนโลยีสมัยใหม่ ซึ่งจะ
ส่งผลกระทบอย่างลึกซึง้ ต่อบทบาทและความสัมพันธ์ทางสังคมในครอบครัว การทางาน
ชีวิตและสังคม
บทที่ 2
------------------
---------------------
ลักษณะของโลกาภิวต
ั น์
ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม
ลักษณะของโลกยุคโลกาภิวต
ั น์
1. การพึง่ อิงร่วมกัน (Interdependence)
2. ความคล่องตัวในการเคลือ
่ นย้ายถ่ายโอน (Mobility)
3. การเกิดขึน
้ ในขณะเดียวกัน (Simultaneity)
4. การมีมาตรฐานเดียวกันทัง้ โลก (Standardization)
5. กระแสสิง่ แวดล้อม (Environmentalism)
6. กระแสวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
7. การปฏิวต
ั เิ ทคโนโลยีการสือ
่ สาร
การปรับเปลี่ยนสังคมเข้าสูย
่ ค
ุ ไร้พรมแดน
John Nasbitt ได้สรุปแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงระดับโลกไว้ 10 ประการ ดังนี้คอ
ื
1. เปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมสู่สังคมข้อมูลข่าวสาร (Industrial Society to Information
Society)
2. เปลี่ยนจากเทคโนโลยีหนักสู่เทคโนโลยีชน
ั้ สูงระบบสัมผัส (Forced Technology to High
Technology)
3. เปลี่ยนจากเศรษฐกิจระดับประเทศสู่ระดับโลก (National Economy to World Economy)
4. เปลี่ยนจากระยะสั้นสูร่ ะยะยาว (Short Term to Long Term)
5. เปลี่ยนจากการรวมอานาจแบบศูนย์กลางสู่การกระจายอานาจ (Centralization to
Decentralization)
6. เปลี่ยนจากการช่วยเหลือของสถาบันสู่การช่วยเหลือตนเอง (Institutional help to Self
help)
7. เปลี่ยนจากประชาธิปไตยแบบมีผแ
ู้ ทนสู่ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (Representative
Democracy to Participatory Democracy)
8. เป็นจากลาดับขั้นสู่การเป็นเครือข่าย (Hierachies to Net working)
9. เปลี่ยนจากเหนือสู่ใต้ (North to South)
10. เปลี่ยนจากข้อจากัดสู่หลายทางเลือก (Either/ or to Multiple Option)
โลกาภิวต
ั น์กับการเมืองโลก
การล่มสลายของลัทธิการเมืองค่ายสังคมนิยม มีผลทาให้ลท
ั ธิการเมืองค่ายเสรี
ประชาธิปไตยกลายเป็นกระแสโลกาภิวต
ั น์ทแ
ี่ พร่กระจายไปทั่วโลก อุดมการณ์ใหม่ที่
เกิดขึ้นคือ การเรียกร้องและปกป้องสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะสิทธิเด็ก สตรี และ
ผู้ด้อยโอกาส
อานาจอธิปไตยใหม่ ๆ มีบทบาททางการเมืองมากยิ่งขึน
้ เช่น องค์การระหว่าง
ประเทศ ชนกลุ่มน้อย ขบวนการก่อการร้ายสากล ทาให้รัฐต่าง ๆ ต้องจากัดอานาจและ
บทบาทลง ดังนี้
1. การลดบทบาทของรัฐ
2. ความไม่ยงั่ ยืนของรัฐอธิปไตย
3. ความไม่ชด
ั เจนในความเป็นรัฐชาติ
4. การครอบงาของมหาอานาจ
แนวโน้มการเมืองโลกในอนาคต
1. ระบบโลกเคลือ
่ นเข้าสูร่ ะบบหลายขัว
้ อานาจ (Multi-polar System)
2. การขยายตัวของกระแสประชาธิปไตย (Democratization) และสิทธิ
มนุษยชน (Human Right)
3. การนิยาม “ความมัน
่ คงของชาติ” (National Security) ในรูปแบบใหม่ และ
การมีบทบาทเพิ่มมากขึน
้ ขององค์การระหว่างประเทศ
4. การก่อการร้ายระหว่างประเทศขยายตัวลุกลามไปยังภูมภ
ิ าคต่าง ๆ ของโลก
โลกาภิวต
ั น์กับเศรษฐกิจโลก
กระแสโลกาภิวต
ั น์ทาให้ตลาดของโลกขยายตัวกว้างขวางขึน
้ มีการเคลื่อนย้าย
ปัจจัยการผลิต และการลงทุนข้ามชาติไปทั่วโลก แนวโน้มเศรษฐกิจโลกในยุคโลกาภิ
วัตน์มห
ี ลายประการ ดังนี้
1. เศรษฐกิจโลกมีเสถียรภาพ
2. มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจสูเ่ ศรษฐกิจใหม่ (New Economy)
3. การเปิดเสรีทางการค้าโลกขยายตัวมากขึน
้
4. การลงทุนระหว่างประเทศชะลอตัว
5. เกิดกระแสการรวมกลุม
่ ทางเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ
(Regional Trade Block)
6. ความเหลือ
่ มล้าทางรายได้ระหว่างประเทศเพิม
่ สูงขึน
้
7. การขยายตัวและเพิ่มบทบาทของบริษท
ั เอกชน
8. ความก้าวหน้าของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสือ
่ สารโทรคมนาคม
9. เงินดอลล่าร์สหรัฐเป็นสกุลหลัก
โลกาภิวต
ั น์กับวัฒนธรรมโลก
สภาพไร้พรมแดนและการเปิดกว้างในมิตข
ิ องการรับรูข
้ อ
้ มูลข่าวสาร การค้าการ
ลงทุนอย่างไร้ขด
ี จากัด และการสือ
่ สารโทรคมนาคม ส่งผลให้เกิดการแพร่กระจาย
วัฒนธรรมข้ามพรมแดนอย่างสะดวกและรวดเร็ว นาไปสู่กรณีเหล่านี้
1. การเปลี่ยนผ่านสภาพสังคมในคลืน
่ ลูกที่ 4 (สังคมแห่งความรู้) สู่สภาพสังคม
ในคลื่นลูกที่ 5 (ปราชญสังคม)
2. เกิดช่องว่างทางสังคมระหว่างประเทศที่รารวยกั
่
บประเทศยากจน
3. เกิดการปะทะกันทางอารยธรรม
4. เกิดความเสือ
่ มโทรมทางศีลธรรมที่มาพร้อมกับเทคโนโลยีที่ทน
ั สมัย
5. ประชากรวัยสูงอายุกลายเป็นกลุ่มที่มบ
ี ทบาทสาคัญ (ยุคขิงแก่)
6. เกิดขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหม่ (New Social Movement)
ขบวนการต่อต้านโลกาภิวต
ั น์
ทั่วโลกรับเอาแนวคิด New Social Movement จากตะวันตก นามาสู่การ
เคลื่อนไหวต่อต้านโลกาภิวต
ั น์ในลักษณะของ “ขบวนการท้องถิ่นนิยม“ หรือที่
เรียกว่า “ม็อบ” ซึ่งขบวนการดังกล่าวมีลก
ั ษณะที่สาคัญ ดังนี้
1. ขบวนการเหล่านีม
้ ไ
ิ ด้ผูกติดกับชนชัน
้ ใดชัน
้ หนึง่ ที่ชด
ั เจน
2. กระบวนการเรียกร้องไม่สนใจที่จะดาเนินการผ่านกลไกของรัฐ ไม่ว่าจะ
เป็นพรรคการเมืองหรือนักการเมือง แต่จะเข้าเรียกร้องด้วยตนเองเป็นหลัก
3. เป้าหมายของการเรียกร้องมิใช่เพื่อช่วงชิงอานาจรัฐ แต่ตอ
้ งการ
สร้างสรรค์กติกาหรือกฏเกณฑ์ใหม่ในการดาเนินชีวต
ิ
ยุทธวิธีที่สาคัญคือ
1. กระบวนสร้างความหมาย (Process of Social Construction)
2. กระบวนการสร้างความเป็นตัวตนหรืออัตลักษณ์ (Process of Identity
Construction)
ความหลากหลายและความซับซ้อนของขบวนการ
เคลื่อนไหวทางสังคม
ขบวนการเคลือ
่ นไหวทางสังคมในปัจจุบน
ั สามารถจาแนกได้เป็น 5 รูปแบบ คือ
1. รูปแบบขบวนการเคลือ
่ นไหวทางสังคมทีผ
่ ูกติดอยู่กบ
ั ชนชั้นใหม่ในสังคม (Middle-Class
Movement) เช่น การเรียกร้องรัฐธรรมนูญ กลุ่มพันธมิตร ฯลฯ
2. รูปแบบขบวนการเคลือ
่ นไหวทางสังคมทีเ่ กีย
่ วข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างกระแสโลกาภิวัตน์
(Globalization) เช่น กระบวนการยุติธรรมของโลก ขบวนการขวาจัด ขบวนการซ้ายจัด ลัทธิ
ก่อการร้าย ฯลฯ
3. รูปแบบขบวนการเคลือ
่ นไหวทางสังคมทีเ่ กีย
่ วข้องกับการเมืองของการพัฒนา (Politics of
Development) เช่น ขบวนการวัฒนธรรมชุมชน สมัชชาคนจน ยายใฮ ขันจันทา ฯลฯ
4. รูปแบบขบวนการเคลือ
่ นไหวทางสังคมทีเ่ กีย
่ วข้องกับการต่อต้านของชาวนาใน
ชีวิตประจาวัน (Everyday Life Resistance) เช่น ขบวนการชาวนาในอดีต James Scott
เรียกวิธก
ี ารของชาวนานีว
้ ่า “อาวุธของผูอ
้ ่อนแอ” (Weapons of the Weak)
5. รูปแบบขบวนการเคลือ
่ นไหวทางสังคมทีเ่ กีย
่ วข้องกับการเรียกร้องสิทธิ (The Rights
Movement) เช่น กลุ่มสตรี กลุ่มชนพื้นเมือง กลุ่มเรียกร้องสิทธิสตรี ฯลฯ
บทที่ 3
------------------
---------------------
แนวคิดโลกาภิวต
ั น์
ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม
1. แนวคิดกระบวนการสร้างสรรค์วฒ
ั นธรรมโลก
แนวคิดนี้ เชื่อว่า พลังทางเทคโนโลยี พลังทางเศรษฐกิจ พลังทางการเมือง และพลังทาง
วัฒนธรรมจากโลกภายนอกที่ไหลบ่ามาท่วมทับคนทัง้ โลก จึงเป็นเรือ
่ งที่หลีกเลีย
่ งไม่ได้วา่ การ
เปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่เกิดขึ้นตามมานั้น ย่อมส่งผลกระทบต่อวัฒนธรรมและวิถช
ี ว
ี ิตของผู้คนทั่วโลกอย่าง
หลีกเลีย
่ งไม่พ้น (นิธิ เอียวศรีวงศ์. 2537)
2. แนวคิดเรือ
่ งการย่นย่อมิตท
ิ างเวลาและพืน
้ ที่
แนวคิดนี้ เชื่อว่า การปฏิวัติระบบสื่อสารคมนาคม เป็นหัวใจของโลกาภิวต
ั น์ในรูปของการหลอม
ละลายเชิงพื้นที่และเวลา ทาให้การติดต่อสัมพันธ์ถย
ี่ บ
ิ และเข้มข้นขึน
้ (Harvey, David. 1995)
3. แนวคิดระบบโลก
ระบบโลก เป็นภาพของอาณาบริเวณที่ถก
ู สร้างขึน
้ จากการไหลเวียนไปทั่วโลกของข่าวสารข้อมูล
ซึ่งทัง้ หมดนีเ้ กิดจากการไหลเวียน “ทุน” ระหว่างชาติ
Immanuel Wallerstein อธิบายว่า การขยายตัวของทุนนิยมโลกเกิดขึน
้ ในอาณาบริเวณ 3
ประเภทคือ รัฐศูนย์กลาง (Core State) เขตรอบนอก (Perphery) และ ระหว่าง 2 บริเวณดังกล่าว
(Semi -perphery) แนวคิดนีเ้ ชื่อว่า ระบบสังคมทีม
่ อ
ี ยูเ่ พียงระบบเดียวในเวลานีค
้ ือ ระบบโลก
8. แนวคิดแบบหลังสมัยใหม่ (Post-Modernism)
ระบบคิด ความรู้ อุดมการณ์ ของผู้คนในยุคโลกาภิวัตน์มาถึงจุดเปลีย
่ นทีส
่ าคัญ คือ ได้เปลีย
่ น
ผ่านจากระบบคิดแบบสมัยใหม่ (Modernism) มาเป็นระบบคิดแบบหลังสมัยใหม่ (Post-modernism)
หรือที่เรียกว่า พวกโพสต์โมเดิรน
์
ไรท์ ซี. มิลล์ ตั้งข้อสังเกตว่า “ยุคหลังสมัยใหม่กาลังก้าวมาแทนที่ยค
ุ สมัยใหม่ อันเป็นยุคที่
สมมุติธรรมเกี่ยวกับความสมานฉันท์ในค่านิยมที่ว่าด้วยความมีเหตุผลตามหลัก “วิทยาศาสตร์” และ
อิสรภาพทาง “การเมือง” กาลังถูกท้าทาย”
ปัจจุบน
ั เริม
่ มีการตั้งคาถามถึงความชอบธรรมของความรู้ 2 ประการที่สาคัญ คือ
ประการแรก ความรูท
้ างวิทยาศาสตร์ทเี่ คยถูกมองว่าเป็นความรูส
้ ูงสุดในยุคสมัยใหม่ ไม่ใช่
ความรูแ
้ บบเดียว แต่ยังมีความรูแ
้ บบอื่น ๆ (Narrative)
ประการทีส
่ อง เกณฑ์ในการตัดสินว่า อะไรเป็นความรู้ หรือว่าไม่เป็นความรู้ เป็นเกณฑ์
เดียวกับที่ผป
ู้ กครองใช้ตัดสินว่า อะไรยุติธรรมในการใช้กฎหมาย ดังนั้น ความรู้ทางด้าน
วิทยาศาสตร์ จึงไม่ใช่ความจริงทีบ
่ ริสุทธิ์
4. แนวคิดวัฒนธรรมมวลชนระดับโลก
Stuart Hall เสนอว่า วัฒนธรรมโลกยุคโลกาภิวต
ั น์ จะถูกควบคุมโดยเครือ
่ งมือสมัยใหม่ทท
ี่ าหน้าที่
ในการผลิต “วัฒนธรรมมวลชนโลก” ซึ่งวัฒนธรรมดังกล่าวมีลก
ั ษณะสาคัญ 2 ประการคือ
- ทุกอย่างรวมศูนย์อยูใ
่ นโลกตะวันตก โดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลในการสื่อสาร
- วัฒนธรรมมวลชนโลกมีลก
ั ษณะเป็นวัฒนธรรมที่เป็นอันเดียวกัน ที่สร้างขึน
้ มาจากตัวแทน
วัฒนธรรมอันหลากหลาย มีการปรับเปลีย
่ น ผสมผสาน คัดเลือก ต่อรอง และซึมซับระหว่างสิง่ เก่ากับสิ่ง
ใหม่ ระหว่างท้องถิ่นกับสากล ไม่มีคาตอบ ไม่สิ้นสุด ทุกอย่างยังคงดาเนินต่อไปไม่ขาดสาย
5. แนวคิดการไหลเวียนของวัฒนธรรม
โลกาภิวต
ั น์ เป็นกระแสที่กอ
่ ให้เกิดการไหลเวียนของวัฒนธรรมมิติต่าง ๆ ข้ามพรมแดนรัฐชาติใน
ระดับทีไ
่ ม่เคยมีมาก่อนในประวัติศาสตร์มนุษย์
Arjun Appadurai เสนอว่า ระบบเศรษฐกิจและวัฒนธรรมโลกสมัยใหม่ จาต้องได้รบ
ั การทาความ
เข้าใจในฐานะที่เป็นระเบียบที่สลับซับซ้อน มีรอยต่อ เหลื่อมกันและกัน แทนที่จะเป็นการพิจารณาตัวแบบ
ที่เน้นความสัมพันธ์ระหว่างศูนย์กลางกับชายขอบ เหมือนที่เป็นมา
ทั้งนี้ กระแสโลกาภิวต
ั น์ได้ก่อให้เกิดการไหลเวียนหรือเคลือ
่ นย้ายของวัฒนธรรมใน 5 มิติ
ที่สาคัญ คือ
1. มิติทางชาติพน
ั ธุ์ (Ethno-scopes) ได้แก่ การย้ายของผูค
้ นไปทั่วโลก เช่น
นักท่องเที่ยว ผู้อพยพ ผู้ลี้ภัย แรงงานข้ามชาติ นักธุรกิจ นักลงทุน นักเรียน นักศึกษา
นักวิชาการ ฯลฯ
2. มิติทางเทคโนโลยี (Techno-scopes) ได้แก่ การเคลื่อนย้ายของเครือ
่ งจักร โรงงาน
การจัดการ สินค้าและบริการ ทั้งที่เป็นของบรรษัทข้ามชาติ บริษัทแห่งชาติ และหน่วยงานต่าง ๆ
ของรัฐบาล
3. มิติทางการเงิน (Finance-scopes) ได้แก่ การไหลเวียนอย่างรวดเร็วของเงินตราใน
ตลาดเงิน ตลาดหุน
้ และการลงทุนข้ามชาติ
4. มิติทางสือ
่ มวลชนและข่าวสารข้อมูล (Media-scopes) ได้แก่ การเดินทางของ
ข่าวสารข้อมูลและภาพลักษณ์ตา่ ง ๆ ข้ามพรมแดนรัฐชาติหรืออาณาเขตทางภูมศ
ิ าสตร์ ผ่านทาง
สื่อมวลชนชนิดต่าง ๆ เช่น เครือข่ายวิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อินเตอร์เน็ต หนังสือพิมพ์ สารสารต่าง ๆ
5. มิติทางอุดมการณ์ (Ideo-scopes) ได้แก่ การแพร่หลายของแนวคิดและอุดมการณ์
ข้ามพรมแดนรัฐชาติ โดยเฉพาะแนวคิดและอุดมการณ์ที่เป็นผลผลิตทางดการปฏิวต
ั ภ
ิ ม
ู ป
ิ ัญญา
ของตะวันตก เช่น แนวคิดเรือ
่ งประชาธิปไตย เสรีภาพ ความเสมอภาค ความยุติธรรม สวัสดิการ
สังคม สิทธิมนุษยชน สิทธิสตรี และจิตสานึกในการอนุรก
ั ษ์สงิ่ แวดล้อม ฯลฯ
6. แนวคิดกระบวนการทาให้วฒ
ั นธรรมกลายเป็นสินค้า
โลกที่วิวฒ
ั น์ไปในทิศทางอันเป็นหนึง่ เดียว ได้กุมอานาจเบ็ดเสร็จต่อแนวทางพัฒนาและ
วิถีชีวต
ิ ของผูค
้ นในดินแดนต่าง ๆ เกือบทั่วโลก โดยมีกลไกแห่งอานาจ ที่เรียกว่า “ระบบตลาด”
และ “เศรษฐกิจเสรี” เป็นอาวุธทีท
่ รงพลัง
พร้อมนี้ ได้มก
ี ารก่อเกิดวัฒนธรรมโลกาภิวต
ั น์ขน
ึ้ แทนที่วฒ
ั นธรรมเดิมที่หลากหลาย
ครอบงาวิถช
ี ว
ี ต
ิ ค่านิยม และหลอมละลายโลกทั้งโลกไปสู่ “เอกภาพแห่งโลกยุคใหม่”
โลกาภิวต
ั น์ คือ ระบบทุนนิยมทีม
่ ีพฒ
ั นาการ งอกเงย เป็นลาดับ ตั้งแต่ยุคทุนอุตสาหกรรม
ที่ประเทศโลกที่หนึง่ แสวงหาประโยชน์จากการถลุงทรัพยากรในประเทศอื่น หรืออาณานิคม
ของตน โดยเฉพาะในหมูป
่ ระเทศโลกที่สาม
เครื่องมือที่สาคัญของตะวันตกคือ การพยายามใช้ประโยชน์จากวัฒนธรรม โดยการ
เปลี่ยน “วัฒนธรรม” และ “คุณค่า” บางอย่าง ให้เป็น “สินค้า” ที่เรียกว่า การสร้าง “วัฒนธรรม
บริโภค” ผ่านอิทธิพลของการสือ
่ สารทุกรูปแบบ
วิธีการ คือ กระตุน
้ ปลุกเร้า เพื่อให้เกิดความต้องการ “เทียม” ต่อสินค้า เหมือนกันไปทั่ว
โลก ทาให้ผู้บริโภค ไม่ว่าผิวสีใด เชื้อชาติไหน ต่างรูจ
้ ักชือ
่ ของสินค้า เมื่อความต้องการถูกทา
ให้ต้องการ เพื่อเสพ “สัญญะ” หรือ “สัญลักษณ์”
ดังนัน
้ กระบวนการทาวัฒนธรรมให้กลายเป็นสินค้า ก็คือ กลยุทธ์ในการกระตุน
้ ปลุกเร้า
ให้ผู้คนหลงใหล ชื่นชม เพียงเพือ
่ ต้องการบริโภค “ความหมาย” ของสินค้า นั่นเอง
7. แนวคิดเรือ
่ งกระแสทีข
่ ด
ั แย้งกัน
เมื่อโลกทัง้ โลกถูกเชือ
่ มโยงเข้าด้วยกัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน
้ ในซีกหนึง่ ของโลก ย่อม
ส่งผลกระทบต่ออีกซีกหนึง่ อย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ดี แม้โลกาภิวต
ั น์จะสามารถเปิดพรมแดนของ
รัฐชาติ อาจสร้างระบบเศรษฐกิจโลก หรืออาจสร้างวัฒนธรรมบริโภคที่คล้ายคลึงกันได้ แต่โลกา
ภิวัตน์ก็มก
ี ระบวนการบางอย่างที่ขด
ั แย้งอยูใ
่ นตัว
เช่น ขณะที่โลกกาลังจะเป็นหนึง่ เดียว ไร้พรมแดนทางเศรษฐกิจและสังคม แต่ก็มี
ขบวนการท้องถิ่นนิยม วัฒนธรรมนิยม ชาตินย
ิ ม หรือเผ่าพันธุน
์ ย
ิ ม ที่เรียกว่า “ขบวนการ
ต่อต้านโลกาภิวต
ั น์” เกิดขึน
้ มากมายทั่วโลก
Anthony Giddens เสนอแนวคิดเกีย
่ วกับเรือ
่ งนีว
้ า่ กระแสโลกาภิวต
ั น์นน
ั้ เป็น
กระบวนการทีป
่ ระกอบขึน
้ จากแนวโน้มหรือกระแสทีข
่ ด
ั กัน ซึ่งอาจแบ่งออกเป็น 5 มิติ ดังนีค
้ ือ
1. กระบวนการเป็นสากลกับกระบวนการเฉพาะถิน
่ และเฉพาะตัว (Universalization &
Particularization)
2. การเป็นเนือ
้ เดียวกับการจาแนกความแตกต่าง (Homogenization & Differentiation)
3. การบูรณาการกับการแตกแยก (Integration & Fragmentation)
4. การรวมศูนย์อานาจกับการกระจายศูนย์อานาจ (Centralization & Decentralization)
5. การโละมาเรียงกันและการผสมผสานกัน (Juxtaposition & Synchronization)
เปรียบเทียบได้วา่ ผู้คนในยุคสมัยใหม่มโี ลกทัศน์ที่ได้รบ
ั อิทธิพลจากวิทยาศาสตร์
แบบกลไกของ ไอแซค นิวตัน ที่เห็นว่า จักรวาลมีความคงที่ หรือมีเสถียรภาพ ในขณะที่
ผู้คนในยุคหลังสมัยใหม่ เชื่อว่า ในสภาพที่เราอยูโ่ ลกได้เปลี่ยนแปลงอยูต
่ ลอดเวลา
เช่นเดียวกัน ความรู้ที่มีลก
ั ษณะอย่างดีที่สด
ุ ก็คือ เป็นความรูแ
้ บบชัว
่ คราวที่ตอ
้ ง
ปรับเปลี่ยนอยู่เสมอ
Michel Foucault เห็นว่า ความรูก
้ บ
ั อานาจเป็นสิง่ ที่ไม่อาจแยกออกจากกัน ทาให้
เกิดความสงสัยในวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นความรูท
้ ี่ถูกจัดให้อยูใ
่ นระดับสูงสุดของความรูท
้ ั้ง
ปวงในยุคสมัยใหม่ การอ้างว่าความรูแ
้ บบวิทยาศาสตร์นน
ั้ เป็นความรูท
้ ี่จริงที่สด
ุ เพราะ
ปลอดค่านิยมและเป็นอิสระจากอุดมการณ์ทางการเมือง
Foucault ไม่เห็นด้วย แต่กลับมองว่า แท้ที่จริงแล้วมันกลับเป็นความรูท
้ ี่ให้ผล
ประโยชน์กบ
ั กลุม
่ ชนชัน
้ นาในสังคม
Baudrillard เห็นด้วยกับ Foucault โดยเขาเสนอว่า วิทยาศาสตร์ก็มฐ
ี านะไม่
แตกต่างไปจากอภิตานาน (Grand Narrative) ที่ทาให้คนเชือ
่ ติดตาม และนามาอ้างอิง
แท้ที่จริงแล้วก็คือ วาทกรรม (Discourse) นั่นเอง
ทัศนะของ Post-modern ต่อระบบคิด ความรู้ หรือลักษณะของความรูท
้ ี่พงึ
ประสงค์ คือ ความรู้ที่มล
ี ักษณะเฉพาะถิ่น หลากหลาย ใช้วิธว
ี เิ คราะห์ในระดับจุลภาค และ
เป็นเรื่องเล่าในขอบเขตแคบ ๆ (Little Narrative)
แนวคิดแบบหลังสมัยใหม่ ไม่เห็นด้วยกับการใช้วธ
ิ ว
ี ท
ิ ยาแบบหนึง่ แบบใดเพียงแบบ
เดียว ไม่ว่าจะเป็นเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ แต่เสนอให้ใช้ พหุวิธี (Metrologies) และ
มองปัญหาด้วยทัศนภาพที่หลากหลาย (Multiple Perspective)
Post-modern ท้าทายอะไร ?
พวก Post-modernism ท้าทายรากฐานหรือ “หัวใจ” (Center) ของภูมป
ิ ัญญา
ของยุคสมัยใหม่ ไม่ได้ปฏิเสธแต่ลดฐานะของวิทยาศาสตร์ว่าเป็แค่ความรูค
้ วามเข้าใจ
ธรรมชาติสังคมมนุษย์แบบหนึง่ เท่านัน
้
พวก Post-modernism เห็นว่า การพยายามแบ่งประเภท จัดสรร จัดหมวดหมูท
่ ี่
นาไปสู่กฎเกณฑ์ระเบียบทางวิทยาศาสตร์ ระเบียบทางสังคม ได้อ้างความรูแ
้ ละความ
สมเหตุสมผลอย่างเดียว เป็นเรื่องทีข
่ าดความชอบธรรม เพราะในความเป็นจริง ความ
สมเหตุสมผลมีได้หลายแบบ
9. แนวคิดเรือ
่ งวาทกรรม (Discourse)
วาทกรรม คือ มโนทัศน์หลักทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาชุดหนึง่ ซึง่ กาลังมี
บทบาทและได้รบ
ั การยอมรับอย่างแพร่หลายในวงวิชาการปัจจุบัน เดิมวาทกรรม
หมายถึงการวิเคราะห์ความหมายของภาษาพูด (Spoken Language) และมักนิยม
ศึกษากันในหมู่นก
ั วรรณคดี ในปัจจุบน
ั นักสังคมวิทยานิยมนาเอาวิธีการวิเคราะห์วาท
กรรมมาทาการวิเคราะห์ประเด็นของอานาจและความสัมพันธ์เชิงอานาจ
นักปรัชญาอย่าง Wittgenstein วิเคราะห์วา่ ในโลกนีม
้ ี “วาทกรรม” หลาย
แบบ (Different Modes of Discourse) รูปแบบที่หลากหลายของกาแสดงออกซึง่
คาพูด เรียกว่า Language Games “เกมภาษา” ผู้เล่นจะต้องมาร่วมกันสร้างกฎ
กติกา เกมทุกเกม ย่อมต้องมีกติกาการเล่น

นักทฤษฎีผบ
ู้ ุกเบิกการศึกษาในแนววิเคราะห์วาทกรรมคือ Michel Foucault
วิธีคิดและวิธีวท
ิ ยาของ Foucault ได้ผ่านขัน
้ ตอนของการพัฒนาในแง่วธ
ิ ว
ี ท
ิ ยามา
ตามลาดับ กล่าวคือในสมัยต้น ๆ Foucault ได้รับอิทธิพลของทฤษฎีโครงสร้างนิยม
เขาเขียนเกีย
่ วกับ “โบราณคดีเกีย
่ วกับความรู้” (Archaeology of Knowledge) อัน
เป็นผลงานซึง่ เน้นศึกษาปรากฏการณ์ดา้ นวาทกรรมทีเ่ กี่ยวกับความรู้ ความคิด และ
รูปแบบของวาทกรรม (Modes of Discourse)

ผลงานที่สร้างชือ
่ เสียงให้ Michel Foucault คือหนังสือชือ
่ “Madness and
Civilization” และ “The Order of Things : An Archaeology of the Human
Sciences” เล่มแรกจะกล่าวถึงการแบ่งแยกความวิกลจริตออกจากความมีเหตุผล และ
ในที่สุดเหตุผลก็กลายเป็นสิง่ ที่มีอท
ิ ธิพลเหนือความวิกลจริต ส่วนเล่มหลังเป็นงานที่
กล่าวถึงบทบาททัง้ สองด้านของวาทกรรมในรูปของงานเขียนที่วา่ งานเขียนหากไม่เชิด
ชู ตอกย้า ก็ต้องการสลาย สั่นคลอน ล้มล้าง หรือสร้างความพร่ามัวให้กับบรรดาระบบ
ระเบียบที่ดารงอยู่
ความหมายของวาทกรรม วาทกรรม หมายถึง ระบบ และกระบวนในการสร้าง/
ผลิต (constitute) เอกลักษณ์(Identity) และความหมาย (significance)ให้กบ
ั สรรพสิง่
ในสังคมที่หอ
่ หุม
้ เราอยู่ ไม่ว่าจะเป็นความจริง อานาจ หรือตัวตนของเราเอง
หน้าที่ของวาทกรรม วาทกรรมจะทาหน้าที่ปก
ั /ตรึงสิง่ ที่สร้างขึน
้ ให้ดารงอยูแ
่ ละ
เป็นที่ยอมรับของสังคมในวงกว้าง (valorize) ให้กลายสภาพเป็น “วาทกรรมหลัก”
(dominant discourse) ในสังคม
การผลิต/สร้างวาทกรรม วาทกรรมจะถูกผลิตหรือสร้างขึน
้ จากความแตกต่าง
ระหว่างสิง่ ที่สามารถพูดถึงได้อย่างถูกต้องในช่วงเวลาหนึง่ (ภายใต้กฎเกณฑ์และ
ตรรกะชุดหนึง่ ) กับสิ่งที่ถูกพูดอย่างแท้จริง วาทกรรมเป็นเรือ
่ งของอานาจและความ
รุนแรงทีแ
่ สดงออกมาในรูปของภาคปฏิบต
ั ก
ิ ารจริงของวาทกรรมในสังคม
การวิเคราะห์วาทกรรม
คือ การพยายามศึกษาและสืบค้นถึงกระบวนการ
ขั้นตอน ลาดับเหตุการณ์และรายละเอียดปลีกย่อยในการสร้างเอกลักษณ์ให้กับสรรพสิง่
ที่ห่อหุ้มเราอยูใ
่ นสังคมในรูปของวาทกรรมและภาคปฏิบต
ั ก
ิ ารของวาทกรรม หัวใจของ
การวิเคราะห์วาทกรรมอยู่ที่การพิจารณา ค้นหาว่าด้วยวิธก
ี ารหรือกระบวนใดที่สงิ่ ต่าง
ๆ ในสังคมถูกทาให้กลายเป็นวัตถุเพื่อการศึกษา/เพือ
่ การพูดถึงวาทกรรม
หลักการวิเคราะห์วาทกรรม
มิได้อยูท
่ ี่การวิเคราะห์คาพูดนัน
้ จริงหรือเท็จอย่าง
แนวปฏิฐานนิยมและประจักษ์นย
ิ ม (positivists and Empiricists) แต่ให้ความสนใจกับ
“กฎเกณฑ์ชด
ุ หนึง่ ” ที่เป็นตัวกากับคาพูดนัน
้ ๆ เป็นไปได้มากกว่าเป็นเรือ
่ งข้อเท็จหรือ
จริง กฎเกณฑ์เหล่านีอ
้ ยูใ
่ นวาทกรรมและภาคปฏิบต
ั ก
ิ ารจริงของวาทกรรม
ในการวิเคราะห์วาทกรรม มักจะเริม
่ ต้นด้วยคาถามที่พน
ื้ ๆ และดูเหมือนง่าย
ที่สุด เช่นว่า “อะไร คือสิ่งที่เรียกว่า การพัฒนา” (What is Development ?) หรือ
”อย่างไร ถึงจะเป็นการพัฒนา” (How is Development ?)
การตั้งคาถามในลักษณะนีม
้ ใ
ิ ช่ดว
้ ยวัตถุประสงค์ที่ตอ
้ งการสร้างหรือกาหนด
นิยามที่แน่นอน ตายตัว ชัดเจน และสามารถวัดได้ในเชิงปริมาณดังที่ นักทฤษฎี
แนวปฏิฐานนิยมและประจักษ์นย
ิ มเรียกว่า “คานิยามเชิงปฏิบต
ั ก
ิ าร” (Operational
Definition) แต่เป็นการตัง้ คาถามเพื่อต้องการตรวจสอบหรือสืบค้นว่าเอกลักษณ์และ
ความหมายของสิ่งที่เรียกว่า/ ถือว่า “การพัฒนา” นั้นถูกสร้างขึน
้ มาได้อย่างไรและมี
การเปลี่ยนแปลงอย่างไร (Formation and Transformation)
แนววิเคราะห์วาทกรรม จะอยูท
่ ี่ ประการที่ 1 การวิเคราะห์ วาทกรรมมิได้แยก
อย่างเด็ดขาดระหว่างสิง่ ที่เรียกว่า “ทฤษฎี” กับโลกแห่งความเป็นจริงที่เป็นรูปธรรม
ระหว่างอุดมการณ์กับความเป็นจริง และประการที่ 2 การวิเคราะห์วาทกรรมจะช่วย
ให้เราตระหนักว่าเรือ
่ งของจุดยืน ความคิด ความเห็น ความเชือ
่ ความรู้ ความหมาย
ฯลฯ ของคนในสังคม
แนวทางการวิเคราะห์และวิธว
ี ท
ิ ยาในการวิเคราะห์วาทกรรมในแนวทางดังกล่าวจะ
ช่วยให้เราเห็นโครงข่าย/ โยงใยทางอานาจของความรูช
้ ด
ุ ต่าง ๆ ในสังคม ตลอดจนจะ
ทาให้มองเห็นกลไกการทางานที่สอดผสานกันระหว่างวาทกรรมและปฏิบต
ั ก
ิ ารทางวาท
กรรม รวมทั้งยังทาให้เห็นยุทธศาสตร์ของกลุม
่ ต่าง ๆ ที่ถูกกาหนดขึน
้ จากเงือ
่ นไข/
ปัจจัยทางความรูแ
้ ละสังคม
ที่สาคัญวิธก
ี ารวิเคราะห์วาทกรรมในแนวของ Foucault มิได้สนใจศึกษาความจริง
(Truth) แต่สนใจศึกษา วาทกรรมว่าด้วยความจริง (A Discourse of Truth)
สิ่งที่เป็น “ขีดจากัดของวาทกรรม” ซึ่งหมายถึง “สิ่งที่ไม่ถอ
ื เป็นวาทกรรม” ได้แก่
ประการที่หนึง่ สิ่งนัน
้ หรือเรือ
่ งนัน
้ ไม่เกีย
่ วข้องกับความสัมพันธ์เชิงอานาจ
ประการที่สอง เมือ
่ กระแสหลักไม่ได้ถูกตอบโต้โดยกระแสรอง
ประการที่สาม เมือ
่ ปรากฏการณ์ดงั กล่าวนัน
้ ไม่มก
ี ารลุกขึน
้ มาตอบโต้การครอบงา
บทที่ 4
------------------
---------------------
โลกาภิวัตน์กับสังคมไทย
ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม
ปัจจัยที่ตอบสนองต่อกระแสโลกาภิวต
ั น์ของ
สังคมไทย
กระแสโลกาภิวต
ั น์ทาให้สงั คมไทยมีการเปลีย
่ นแปลงองค์ประกอบทาง
ชนชัน
้ ทัศนคติและอุดมการณ์ ปัจจัยทีต
่ อบสนองต่อกระแสโลกาภิวต
ั น์ของ
สังคมไทย ได้แก่
1. โครงสร้างเศรษฐกิจไทย เป็นระบบทุนนิยมเสรี มีลักษณะ
เอื้ออานวยต่อการเปลีย
่ นแปลงอย่างรวดเร็วตามระบบเศรษฐกิจโลก
2. โครงสร้างสังคมไทย เกิดการเปลีย
่ นแปลงโครงสร้างอันเป็นผล
จากการเปลีย
่ นแปลงทางเศรษฐกิจ เนื่องจากอิทธิพลของอุดมการณ์แบบ
เสรีนย
ิ มกระจายไปอยูใ
่ นชนทุกชัน
้
3. โครงสร้างทางการเมือง อุดมการณ์ทางการเมืองแบบเสรีนย
ิ ม
ขยายตัวลงมาสัมพันธ์กบ
ั วิถช
ี ว
ี ต
ิ ประจาวันทางเศรษฐกิจและสังคมมากขึน
้
ผลกระทบโดยรวมในมิตท
ิ างเศรษฐกิจ การเมือง
และสังคม
ด้านเศรษฐกิจ ประเทศไทยมีการขยายตัวขององค์ประกอบทาง
เศรษฐกิจ การปรับตัวของโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การขยายอิทธิพล
ของบรรษัทข้ามชาติและการลดลงของอานาจรัฐ การครอบงาทาง
เศรษฐกิจโดยมหาอานาจและองค์การระหว่างประเทศ ความเหลือ
่ มล้าใน
การกระจายรายได้ในสังคม ฯลฯ
ด้านการเมือง มีการปฏิรป
ู การเมือง การปฏิรป
ู ระบบราชการ การปฏิวต
ั ิ
รัฐประหาร เล่นพรรคเล่นพวก ซื้อสิทธิ์ขายเสียง ปัญหาชายแดน ฯลฯ
ด้านสังคม เกิดปัญหาความรุนแรงในสังคม ปัญหาโรคเอดส์ ปัญหา
การศึกษา ปัญหาค่านิยมในหมูค
่ นรุน
่ ใหม่ ฯลฯ
ผลบวกของโลกาภิวต
ั น์
1. ช่วยให้การติดต่อสือ
่ สารเป็นไปอย่างสะดวกและรวดเร็ว
2. ช่วยจัดระเบียบและประมวลผลข้อมูล
3. ช่วยลดการใช้กาลังแรงงานลง
4. ช่วยสนับสนุนการประดิษฐ์คด
ิ ค้น และการเสาะแสวงหา
ความรูใ
้ หม่ ๆ
 5. ช่วยให้มีการเผยแพร่ขอ
้ มูลความคิดเห็น ข่าวสาร
วัฒนธรรม และแบบแผนปฏิบต
ั ริ ะหว่างมนุษย์อย่างรวดเร็วและ
กว้างขวาง




ผลลบของโลกาภิวต
ั น์
 1. ก่อให้เกิดการลอกเลียนแบบทีเ่ ป็นสากล แต่ทาลายคุณค่า วิธีคด
ิ ค่านิยม
วัฒนธรรม และแบบแผนปฏิบต
ั ท
ิ เี่ ป็นเอกลักษณ์ของแต่ละสังคม
 2. สร้างความแตกต่างทางเศรษฐกิจและสังคมระหว่างประเทศ หรือบุคคล
 3. เปิดโอกาสให้เกิดการแทรกแซงและครอบงาโดยประเทศหรือสังคมทีม
่ ี
ความเหนือกว่า
 4. ย้าความสาคัญของลัทธิทน
ุ นิยม วัตถุนย
ิ ม และบริโภคนิยม แต่ลดคุณค่า
ทางจิตใจและวัฒนธรรมของมนุษย์
 5. เปิดช่องให้มก
ี ารติดต่อธุรกรรม การกระจายสือ
่ หรือเนือ
้ หาสาระทีไ
่ ม่
เหมาะสม หรือการเดินทางเข้าออกประเทศได้อย่างเสรี ซึ่งเป็นโอกาสของ
อาชญากรรมข้ามชาติ การหลัง่ ไหลของยาเสพติด การหลอกลวง มอมเมา
เยาวชน การก่อการร้าย และการกอบโกยผลประโยชน์ซงึ่ ฝ่ายทีเ่ สียเปรียบ
คือประเทศทีอ
่ อ
่ นแอ