ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ

Download Report

Transcript ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ

หลักและทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ
1. หลักของลัทธิพาณิชย์ นิยม
ลัทธิน้ ีเชื่อว่า แนวทางที่สาคัญที่สุดที่ประเทศใดประเทศหนึ่งจะ
ร่ ารวยและมีอานาจได้ ก็ตอ้ งส่ งสิ นค้าออกขายให้ได้มากกว่ามูลค่าการ
นาเข้า และความแตกต่างขึ้นอยูก่ บั การเพิ่มขึ้นของโลหะมีค่า คือทองคา
ยิง่ สะสมทองคามากเท่าใด ประเทศดังกล่าวก็จะยิง่ ร่ ารวยและมีอานาจ
มากขึ้น ลัทธิพาณิ ชย์นิยมจึงสนับสนุนให้รัฐบาลกระตุน้ การส่ งออก
และกีดกันการนาเข้า
และจากการที่ทองคามีจานวนจากัด ดังนั้นการได้เปรี ยบทางการค้าของ
ประเทศหนึ่งจึงเกิดขึ้นจากการเอารัดเอาเปรี ยบหรื อด้วยการเสี ยเปรี ยบ
ของประเทศอื่นๆ นัน่ เอง
ลัทธิพาณิ ชย์นิยมได้ถูกโจมตีอย่างมาก โดยเฉพาะจากสานักคลาสสิ ค ซึ่ง
สนับสนุนแนวทางการค้าเสรี (Free trade)
2. หลักการค้าเสรี (Free trade) หมายถึง การที่รัฐบาลไม่พยายามเข้า
แทรกแซงในกิจการค้าระหว่างประเทศ คือ ปล่อยให้เอกชนดาเนินการค้าเองโดย
รัฐบาลเข้าแทรกแซงน้อยที่สุด นอกจากนี้รัฐบาลต้องไม่กาหนดข้อกีดขวางทาง
การค้าระหว่างประเทศ
นักเศรษฐศาสตร์ สานักคลาสสิ ก เป็ นผู้ทสี่ นับสนุนแนวทางการค้ าเสรี
โดยได้ ให้ เหตุผลว่ า นโยบายการค้ าเสรีเป็ นนโยบายทีด่ แี ละเหมาะสมทีส่ ุ ด
สาหรับชาติต่างๆ ในโลก เนื่องจาก
เกิดความชานาญเฉพาะอย่าง
ผลิตสิ นค้าแลกเปลี่ยนกัน
เพิ่มผลผลิตของโลกโดยรวม
การค้าเสรี
ทุกประเทศที่คา้ ขายกันจะ
ได้รับผลประโยชน์
จัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
เพราะการค้าเสรี จะช่วยให้แต่ละประเทศเกิดความชานาญเฉพาะอย่าง
ผลิตสิ นค้าแลกเปลี่ยนกัน และส่ งผลให้เพิ่มผลผลิตของโลกโดยรวม
และการจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิ ทธิภาพ ทุกประเทศที่คา้ ขายจะได้รับ
ประโยชน์เหมือนกัน ดังนั้น ประเทศใดประเทศหนึ่งจะได้รับประโยชน์
โดยไม่ทาให้ประเทศอื่นๆ ต้องเสี ยประโยชน์
ซึ่งคัดค้านคากล่าวอ้างของลัทธิพาณิ ชย์นิยม
การทาการค้าให้เสรี ยงิ่ ขึ้น
GATT (General Agreement on Tariff and
Trade) หรื อ ข้อตกลงทัว่ ไป ว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า เป็ น
องค์การระหว่างประเทศอันหนึ่ง ซึ่งจัดตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1974 ได้มี
บทบาทสาคัญในการส่ งเสริ มการค้าเสรี โดยผ่านการเจรจาการค้าแบบ
พหุภาคี (multilateral trade negotiations)
องค์การนี้ได้อิงหลักความได้เปรี ยบเชิงเปรี ยบเทียบ และมีหลัก
พื้นฐานสาคัญ 3 ประการ คือ
1) หลักแห่งการไม่เลือกปฏิบตั ิ (most favored nation
treatment)
2) หลักแห่งการตอบแทนกัน (reciprocity)
3) หลักความโปร่ งใส (transparency) และความแน่นอนของ
การปฏิบตั ิ
ข้อสนับสนุนการค้าเสรี
1. การค้าระหว่างประเทศที่ขยายตลาดออกไปกว้างขวาง จะทาให้ผผู ้ ลิต
ได้รับประโยชน์จากการประหยัดจากขนาด
2. การแข่งขันในวงการค้าระหว่างประเทศ จะทาให้ผลผลิตไม่ถูกผูกขาด
โดยผูผ้ ลิตไม่กี่ราย ซึ่งนอกจากมีผลไม่ดีในแง่ราคาแล้ว ยังรวมไปถึง
ทางเลือกที่มากขึ้นและคุณภาพสิ นค้า สาหรับผูบ้ ริ โภคด้วย
3. การแข่งขันในตลาดโลก กระตุน้ ให้เกิดการใช้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
ยิง่ ขึ้นของทรัพยากรที่หายากของโลก
4. ความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างประเทศ จะช่วยส่ งเสริ มจรรโลง
ความร่ วมกันทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม ซึ่งมีนยั
ด้านสันติภาพและเสถียรภาพของโลกด้วย
บทบาทและความสาคัญของการค้าระหว่างประเทศ
ในสังคมดั้งเดิม มีชุมชนเล็กๆ แห่งหนึ่ง มีชาวนา กับช่างทอผ้า ซึ่งต่างก็มี
ความชานาญคนละด้าน
บุคคลทั้งสองไม่สามารถอยูไ่ ด้ดว้ ยเครื่ องนุ่งห่มเพียงอย่างเดียว หรื ออาหาร
เพียงอย่างเดียว การแก้ปัญหาของคนทั้งสองอาจต้องฝื นทาในสิ่งที่ตน
ไม่มีความชานาญควบคู่ไปกับสิ่ งที่ตนชานาญ แต่คงยุง่ ยากและเสี ยเวลา
ไม่ใช่นอ้ ย
ถ้าบุคคลทั้งสองนาเอาหลักการแบ่งงานกันทา (the
principle of division of labor) มาใช้ โดยทางานแต่ใน
สิ่ งที่ตนเองถนัดเพียงอย่างเดียว และนาสิ นค้าที่แต่ละคนผลิตได้แล้ว
นามาแลกกัน จะเป็ นสิ่ งที่ดีกว่าหรื อไม่?
ความชานาญเฉพาะอย่ าง (Specialization)
Specialization
ก่ อให้ เกิดสิ นค้ าและบริการอย่ างกว้ างขวาง
จนมีส่วนเหลือสาหรับการแลกเปลีย่ นในสิ นค้ าและบริการ
หรือทีเ่ รียกว่ า การค้ า ขึน้
ความชานาญเฉพาะ อย่างจึงนามาซึ่งการยกระดับมาตรฐานการครองชีพ
ด้วยการเพิ่มผลผลิตของสิ นค้าและบริ การสนองตอบการบริ โภคของประชาชน
ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ
จากที่กล่าวมา การซื้อขายแลกเปลี่ยนสิ นค้ากันในตลาด สามารถทาให้
บุคคลได้ประโยชน์จากการแบ่งงานกันทา ซึ่งนาไปสู่ความชานาญ
เฉพาะทาง (gain from specialization) และประโยชน์
จากการแลกเปลี่ยน (gain from exchange) การค้า
ระหว่างประเทศก็เช่นเดียวกัน เพราะประเทศต่างๆ นั้น มีทรัพยากร มี
ความถนัดในการผลิตสิ นค้าไม่เหมือนกัน ดังนั้น จึงมีตน้ ทุนในการผลิต
สิ นค้าแตกต่างกัน ซึ่งถ้าประเทศต่าง ๆ นาสิ นค้ามาซื้อขายแลกเปลี่ยน
กัน ก็จะทาให้ประเทศคู่คา้ ต่างได้รับประโยชน์ร่วมกันทั้งสองฝ่ าย
แนวคิดทีส่ าคัญเกีย่ วกับการค้ าระหว่ างประเทศ
- คนทัว่ ไปมักเข้าใจว่าประเทศที่มีประสิ ทธิภาพในการผลิตสิ นค้าเหนือกว่า
หรื อมีตน้ ทุนสัมบูรณ์ (absolute cost) ต่ากว่า จะเป็ นฝ่ ายที่ได้
ประโยชน์จากการค้าระหว่างประเทศ
แต่ในความเป็ นจริ งแล้ว เงื่อนไขทางเศรษฐศาสตร์ที่จะทาให้เกิด
การค้าระหว่างประเทศนั้นอยูท่ ี่ตน้ ทุนสัมพันธ์ (relative cost) มิ
ใช้ตน้ ทุนสัมบูรณ์ แต่เป็ นความได้เปรี ยบโดยเปรี ยบเทียบ
(comparative advancetage)
ตารางแสดงจานวนผลผลิตของแรงงานต่อคนต่อวัน
ประเทศ
อาหาร
เสื้ อผ้า
ประเทศ A
2
1
ประเทศ B
3
9
สมมติในโลกนี้มีเพียง ประเทศ A กับ B ซึ่งทาการผลิตสิ นค้าเพียง 2 ชนิด
คือ อาหาร และเสื้ อผ้า และสมมติวา่ แรงงานเป็ นปัจจัยเพียงชนิดเดียวที่ใช้ใน
การผลิตสิ นค้าทั้งสอง ทั้ง 2 ประเทศ สามารถสร้างผลผลิตต่อแรงงาน 1
คน ต่อ 1 วัน ในอัตราคงที่ ดังตาราง
- จากตาราง นักศึกษาจะเห็นว่าประเทศ B จะมีความได้เปรี ยบอย่าง
สัมบูรณ์ (absolute advantage) เหนือกว่าประเทศ A
เพราะประเทศ B สามารถผลิตทั้งอาหารและเสื้ อผ้าด้วยต้นทุนที่ต่ากว่า
ประเทศ A
- อย่างไรก็ดี ทั้ง 2 ประเทศต่างจะได้รับประโยชน์จากการค้าระหว่าง
ประเทศ หากเปิ ดประเทศค้าขายระหว่างกัน ทั้งนี้เพราะ
เมื่อพิจารณาถึง ความได้เปรี ยบโดยเปรี ยบเทียบ (comparative
advantage)
ประเทศ
อาหาร
เสื้ อผ้า
ประเทศ A
2
1
ประเทศ B
3
9
ถ้าประเทศ A ย้ายคนงานจากการผลิตเสื้ อผ้า 1 คน ไปผลิตอาหารจะได้อาหารเพิม่ ขึ้น
+2 หน่วย/วัน ในขณะที่เสื้ อผ้าจะลดลง -1 หน่วย/วัน ดังนั้น ประเทศ A ควรจะเลือก
ผลิตสิ นค้าอาหาร แล้วสั่งเข้าเสื้ อผ้าจากประเทศ B
ถ้าสมมติต่อไปว่า ประเทศ B ย้ายคนงาน1 คน จากการผลิตอาหารไปผลิต
เสื้ อผ้าจะได้เสื้ อผ้าเพิ่ม +9 ในขณะที่อาหารลดลง -3 หน่วย/วัน
ดังนั้น ประเทศ B ควรจะใช้ทรัพยากรในประเทศในการผลิตเสื้ อผ้า และ
สัง่ เข้าอาหารจากประเทศ A
ดังนั้น จะเห็นได้วา่ ประเทศ A สามารถส่ งอาหารไปขายในประเทศ B
โดยสามารถแลกเสื้ อผ้ากลับมาได้ในปริ มาณที่มากกว่าที่ผลิตเอง (ใน
ทานองเดียวกัน ประเทศ B ก็จะได้ประโยชน์จากการนาเอาเสื้ อผ้าไป
แลกกับอาหารได้ในปริ มาณที่มากกว่าที่ผลิตเอง เช่นกัน
- ประเทศ A อาหาร 1 หน่วยจะแลกเสื้ อผ้าได้เพียง 0.5 หน่วย
แต่เมื่ออยูใ่ นประเทศ B อาหาร 1 หน่วยจะแลกเป็ นเสื้ อผ้าได้ถึง 3 หน่วย
- โดยทฤษฎีแล้ว ประเทศทั้งสองนี้ สามารถที่จะตกลงซื้อขายสิ นค้ากัน ณ อัตรา
แลกเปลี่ยนใดๆ ในช่วงดังกล่าว (ซึ่งมีค่าระหว่าง 0.5-3) ซึ่งทาให้ท้ งั 2
ประเทศต่างได้ประโยชน์จากการค้าระหว่างประเทศด้วยกันทั้งสองฝ่ าย
ดังนั้น การค้าระหว่างประเทศจะทาให้สินค้าในตลาดโลกมีมากขึ้น ซึ่ งน่าจะทาให้ประชากร
ในโลกมีสินค้าที่สนองความต้องการของผูบ้ ริ โภคมากขึ้น
สาเหตุที่การค้าระหว่างประเทศทาให้การบริ โภคมากขึ้น
การค้าระหว่างประเทศนั้น ทาให้ประเทศต่างๆ สามารถผลิตสิ นค้าได้มาก
ขึ้น (ด้วยทรัพยากรที่มีอยูเ่ ท่าเดิม)ดังนั้น ประชาชนในประเทศต่างๆ จึง
ย่อมได้รับประโยชน์จากการที่สามารถบริ โภคสิ นค้าต่างๆ ได้เพิม่ มาก
ขึ้น นอกจากนั้น ยังทาให้ความพอใจของผูบ้ ริ โภคโดยส่ วนรวมเพิ่ม
สูงขึ้น
สรุ ปได้วา่ การเปิ ดให้มีการค้าระหว่างประเทศจะช่วยทาให้
ประชาชนมีรายได้และระดับมาตรฐานในการครองชีพสูงขึ้น เพราะการ
ที่ผปู ้ ระกอบการในประเทศต้องหันไปทาในสิ่ งที่มีความเชี่ยวชาญและ
ทาได้ดีที่สุด ในขณะที่ผบู ้ ริ โภคก็สามารถจะบริ โภคสิ นค้าจาก
ต่างประเทศที่มีคุณภาพและในราคาที่ถูกลงกว่าที่ผผู ้ ลิตภายในประเทศ
จะทาการผลิตเอง ซึ่งช่วยให้การใช้ทรัพยากรของประเทศเป็ นไปอย่างมี
ประสิ ทธิภาพ นอกจากนี้ ยังมีประโยชน์ดา้ นอื่น ๆ คือ
ประโยชน์ ด้านอืน่ ๆ
- ผลจากการประหยัดจากการผลิตขนาดใหญ่ การค้าระหว่างประเทศช่วย
ทาให้ตลาดกว้างขึ้น ทาให้อุตสาหกรรมต่างๆ สามารถผลิตสิ นค้าออกมา
เป็ นจานวนมาก ซึ่งช่วยให้ผปู ้ ระกอบการมีตน้ ทุนต่อหน่วยการผลิต
การตลาดและการกระจายสิ นค้า ลดลงได้
- ผลทางการแข่ งขัน การค้ าระหว่ างประเทศทาให้ มกี ารแข่ งขันกันระหว่ างผู้ประกอบการ
ในประเทศกับผู้ประกอบการในต่ างประเทศ ซึ่งส่ งผลให้ เกิดนวัตกรรมใหม่ ๆ นาไปสู่ การ
ปรับปรุ งกระบวนการบริหารจัดการทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพ ขณะเดียวกันการแข่ งขันกัน
ดังกล่ าวทาให้ ผ้ บู ริโภคมีทางเลือกในการบริโภคมากขึน้
-
สร้ างแรงกดดันให้ รัฐบาลดาเนินนโยบายที่ดี
ไม่เพียงแต่เอกชนเท่านั้นที่ตอ้ งเผชิญหน้ากับการแข่งขัน แต่รัฐบาลของประเทศ
ต่างๆ ก็หนีไม่พน้ แรงกดดันดังกล่าวด้วยเช่นกัน การแข่งขันที่รุนแรงขึ้นทาให้
รัฐบาลต้องเผชิญหน้ากับความท้าทายและความคาดหวังที่สูงขึ้นจากนักลงทุน
ทั้งในและต่างประเทศ ทั้งทางด้าน
ความโปร่ งใสและความเป็ นธรรม
มีการตอบสนองทั้งทางด้านนโยบายที่ถกู ต้องและเหมาะสม
การรักษาเสถียรภาพทางการเงิน
ความชัดเจนด้านกฎหมาย สิ ทธิประโยชน์ในการลงทุน
ประสิ ทธิภาพในการให้บริ การของรัฐบาล
ฯลฯ
อุปสงค์และอุปทานการค้าระหว่างประเทศ
การพิจารณาผลกระทบทางเศรษฐกิจของการค้าระหว่างประเทศนั้น ทาได้
โดยการวิเคราะห์เส้นอุปสงค์และอุปทาน ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึง
ผลกระทบที่มีต่อราคาและปริ มาณของสิ นค้าในประเทศได้
จากการที่ระบบขนส่ งและการสื่ อสารระหว่างประเทศที่ทนั สมัย
ส่ งผลให้สินค้าจานวนมากมีการซื้อขายกันอย่างแพร่ หลายในตลาด
ระหว่างประเทศ ซึ่งราคาสิ นค้าเหล่านั้นล้วนแต่ถูกกาหนดโดยพลังของ
อุปสงค์และอุปทานในตลาดโลกทั้งสิ้ น
รู ปแสดงประโยชน์ที่ผผู ้ ลิตจะได้รับจากการส่ งออก
ราคาข้าว
ราคาข้าว
S
S
Pw
Pw
F
Pd
G
E
Dd
Dw
Qw
ปริ มาณข้าว
Qc
Qd Qp
ปริ มาณข้าว
- ราคาซื้อขายข้าวในตลาดโลกอยูท่ ี่ Pw ซึ่งเป็ นระดับราคาดุลยภาพ ซึ่ง
เกิดจากการตัดกันของเส้น Dw กับ Sw ซึ่งเป็ นอุปสงค์และอุปทาน
ของข้าวในตลาดโลก
- เมื่อยังไม่เปิ ดประเทศ ราคาปริ มาณข้าวในประเทศคือ จุด E ณ ระดับ
ราคา Pd และปริ มาณ Qd
- เมื่อมีการเปิ ดประเทศดุลยภาพใหม่จะเปลี่ยนไปเนื่องจากผูผ้ ลิตใน
ประเทศสามารถขายข้าวได้ตามราคาตลาดโลก โดยในที่น้ ีสมมติ
Pd<Pw ดังนั้น ปริ มาณการผลิตข้าวในประเทศจะเพิม่ ขึ้น จาก
0Qc เป็ น 0Qp โดยที่ ปริ มาณการบริ โภคข้าวในประเทศจะลดลง
เป็ น จาก Qd เป็ น Qc และปริ มาณการส่ งออกข้าวไปขายยัง
ตลาดโลก คือ QcQp
จากกรณี น้ ี ผูไ้ ด้รับประโยชน์จากการเปิ ดประเทศก็คือ ผูผ้ ลิตข้าวในประเทศ
โดยจะมีส่วนเกินผูผ้ ลิต (producer surplus) เพิ่มขึ้นเท่ากับ
พื้นที่ PwGEPd ส่ วนผูบ้ ริ โภคจะเป็ นฝ่ ายที่เสี ยประโยชน์ เนื่องจาก
ต้องซื้อข้าวราคาแพงขึ้น และบริ โภคข้าวในปริ มาณลดลง โดยทาให้
ส่ วนเกินผูบ้ ริ โภค (consumer surplus) ลดลงไปเท่ากับ
พื้นที่ PwFEPd
อย่างไรก็ตามเนื่องจากพื้นที่ในส่ วนแรก มากกว่าพื้นที่ในส่ วนที่
สอง ดังนั้น ผลจากการเปิ ดประเทศจึงทาให้สงั คมโดยรวมได้ประโยชน์
สุ ทธิเท่ากับพื้นที่ EFG
ตัวอย่าง ประโยชน์ที่ผบู ้ ริ โภคจะได้รับจากการนาเข้า
สมมติ ประเทศไทยเป็ นผูน้ าเข้าน้ ามัน และราคาน้ ามันในประเทศสูงกว่า
ราคาน้ ามันในตลาดโลก
ราคา
S
ราคา
S
H
Pd
Pw
Pw
I
Dd
Dw
Qw
ปริ มาณ
J
Qc Qd Qp
ปริ มาณ
-ถ้าไม่มีการค้าระหว่างประเทศ ราคาน้ ามันในประเทศจะอยูท่ ี่ Pd และ
ปริ มาณการบริ โภคน้ ามันจะอยูท่ ี่ Qd
-แต่ถา้ มีการเปิ ดให้มีการน้ าเข้าน้ ามันจากต่างประเทศ จะมีการซื้อขายน้ ามัน
ตามราคาในตลาดโลก คือ Pw ซึ่งกรณี น้ ีสมมติให้ Pd>Pw
ผูบ้ ริ โภคจะมีการใช้น้ ามันเพิ่มขึ้นจาก Qd เป็ น Qp ขณะที่ผผู ้ ลิตใน
ประเทศจะลดการผลิตลงมาจากQd เป็ น Qc โดยจะมีปริ มาณน้ ามัน
นาเข้า QcQp
- ในกรณี น้ ีผทู ้ ี่ได้ประโยชน์จากการเปิ ดประเทศคือ ผูบ้ ริ โภค ซึ่งได้ความ
พอใจเพิ่มขึ้นเท่ากับพื้นที่ PdHJPw ส่ วนผูท้ ี่เสี ยประโยชน์คือผูผ้ ลิต
ซึ่งจะมีรายได้ลดลงเท่ากับพื้นที่ PdHIPw อย่างไรก็ตามจะเห็นได้
ว่า การค้าระหว่างประเทศจะทาให้สงั คมได้ประโยชน์สุทธิเป็ นบวก
เช่นเดียวกับกรณี แรก โดยกรณี น้ ีประโยชน์สุทธิที่สงั คมได้รับจะเท่ากับ
พื้นที่ HIJ
จากการวิเคราะห์อุปสงค์และอุทานทั้ง 2 กรณี ขา้ งต้น ถึงแม้จะมีท้ งั ผูไ้ ด้
ประโยชน์และเสี ยประโยชน์ที่แตกต่างกันแล้วแต่กรณี แต่ผลของการค้า
ระหว่างประเทศ จะทาให้สงั คมมีประโยชน์สุทธิเป็ นบวกเสมอ เพราะ
ทาให้มีการผลิตสิ นค้าที่มีความถนัดเพิ่มขึ้น
ช่วยให้มีการผลิตสิ นค้าที่ไม่มีความถนัดลดลง
ดังนั้น จะทาให้ระบบเศรษฐกิจโดยรวมมีการใช้ทรัพยากรอย่างมี
ประสิ ทธิภาพมากขึ้น
การค้าเสรี กบั การคุม้ กัน
Free trade versus protection
- การค้าเสรี หมายถึงการที่รัฐบาลไม่พยายามเข้าแทรกแซงในกิจการค้า
ระหว่างประเทศ คือ ปล่อยให้เอกชนดาเนินการค้าเองโดยรัฐบาลเข้า
แทรกแซงน้อยที่สุด นอกจากนั้นรัฐบาลต้องไม่กาหนดข้อกีดขวางทาง
การค้าระหว่างประเทศ เช่น ต้องไม่มีการควบคุมทางการค้าและทางการ
เงิน
ประเทศต่างๆ ในโลกนี้ไม่มีประเทศใดสามารถปฏิบตั ิตามนโยบาย
การค้าเสรี ได้ เพราะแต่ละประเทศประสบกับปัญหาดุลการชาระเงินไม่
สมดุล เช่น ดุลการชาระเงินของประเทศขาดดุล ประเทศจะหันมาใช้
นโยบาย ควบคุมการค้า เพื่อให้สินค้าเข้าลดลง หรื อให้ความรู ้สึกในทาง
ชาตินิยม ทาให้เลิกสัง่ สิ นค้าเข้า ประเทศหันมาผลิตสิ นค้าทดแทน หรื อ
เหตุผลทางด้านการเมืองต่างๆ ทาให้ประเทศต่างๆ หันมาผลิตสินค้า
ทดแทนการนาเข้า รัฐบาลต้องให้ความคุม้ ครองกับอุตสาหกรรม
เหล่านั้น ทาให้ปริ มาณซื้อขายแลกเปลี่ยนกันลดลง สภาพการค้าเสรี กล็ ด
น้อยลงเพราะประเทศต่างๆ หันไปใช้นโยบายคุม้ กัน
การคุม้ กัน (Protection) หมายถึง การที่รัฐบาลเข้าแทรกแซงใน
การค้าระหว่างประเทศ โดยใช้มาตรการสาคัญต่างๆ
การคุม้ กัน
ด้านภาษี ได้แก่ การเก็บภาษีอากร
Tariff
ด้านที่ไม่ใช่ภาษี เช่น
การจากัดจานวนสิ นค้าเข้า
Quota การให้เงินอุดหนุน อื่นๆ
ข้อถกเถียงการค้าเสรี
1. การค้าเสรี ทาให้ประชาชนส่ วนรวมในประเทศใดประเทศหนึ่ง ได้รับ
ประโยชน์มากขึ้น จากการบริ โภคสิ นค้าในปริ มาณที่มากขึ้นและมี
คุณภาพ
2. เมื่อมีการค้าเสรี เกิดขึ้น ทาให้ประเทศแต่ละประเทศเกิดความชานาญ
เฉพาะอย่าง (Specialization)
3. การค้าเสรี ทาให้ราคาสิ นค้าเข้าต่า ซึ่งทาให้กลไกราคาทางานได้
สะดวก และเป็ นการทาลายระบบผูกขาด ทาให้ตลาดอุตสาหกรรม
ส่ งออกกว้างขวางขึ้น จนขยายขนาดการผลิตที่เหมาะสม
(optimum size) และต้นทุนต่อหน่วยลดลง
ข้อถกเถียงของการคุม้ กัน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
เพื่อคุม้ ครองอุตสาหกรรมที่เกิดใหม่ (infant industries)
กระจายโครงสร้างการผลิตสิ นค้าอุตสาหกรรมของประเทศ
เพื่อรักษาระดับรายได้และการจ้างงานของประเทศ
เพื่อการต่อรองและการแก้เผ็ด
เพื่อปรับอัตราการค้าให้ดีข้ ึน
เพื่อป้ องกันการทุ่มตลาด
ความมัน่ คงทางการทหารและทางการเมือง
1.
2.
3.
4.
นอกจากนี้ยงั มีเหตุผลสนับสนุนให้มีการคุม้ กันซึ่งไม่ค่อยสมเหตุสมผล
(nonsense argument for protection)
เพื่อกีดกันสิ นค้าจากประเทศที่มีค่าจ้างแรงงานต่า (low –paid
foreign workers)
เป็ นการขยายตลาดภายในประเทศ
เป็ นการเก็บเงินไว้ภายในประเทศ
ทาให้ตน้ ทุนการผลิตเท่ากัน
เครื่ องมือที่สาคัญสาหรับใช้ในการคุม้ กัน
1. ภาษีศุลกากร (Tariff)
2. โควตา (Quota)
I.ภาษีศุลกากร (Tariff)
คือ เงินที่รัฐเรี ยกเก็บจากสิ นค้าเข้า (Import duties) หรื อเรี ยกเก็บ
จากสิ นค้าส่ งออกเรี ยกว่า อากรขาออก (export duties) แต่
การเรี ยกเก็บจากสิ นค้าออกมีนอ้ ย นอกจากนี้ยงั เรี ยกเก็บจากสิ นค้าผ่าน
แดนซึ่งจะส่ งผ่านไปยังประเทศอื่น เรี ยกว่า ภาษีผา่ นแดน (transit
duties) โดยทัว่ ไปการจัดเก็บภาษีศุลกากรมี 2 แบบ คือ
ก) เก็บตามราคา (ad valorem tariff) คือ ภาษีที่คิดเป็ นร้อยละ
ของมูลค่า(ราคา) สิ นค้าที่นาเข้า (การเก็บภาษีส่วนใหญ่ใช้วิธีน้ ี)
ข) เก็บตามสภาพ (specific tariff) คือ การกาหนดอัตราภาษีต่อ
สิ นค้าหนึ่งหน่วย เป็ นจานวนแน่นอนลงไป เช่น อัตราภาษีจกั รยานคัน
ละ 150 บาท
จุดประสงค์ของการเก็บภาษีของรัฐบาล
1. เพื่อหารายได้ให้รัฐ (Revenue purpose)
2. เพื่อคุม้ ครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ (Protective
purpose)
ผลของการเก็บภาษีอากร
ราคา
Sd
Pw+t
S
U
T
V
อัตราภาษีนาเข้า
Pw
Dd
Q1 Q2
Q3 Q4
ปริ มาณ
จากรู ป ให้ Qd และ Sd แทนอุปสงค์และอุปทานในประเทศของรถยนต์
และ Pw แทนราคารถยนต์ในต่างประเทศ
- ถ้ามีการเปิ ดให้มีการนาเข้ารถยนต์อย่างเสรี จะมีปริ มาณนาเข้ารถยนต์
เท่ากับ Q4-Q1 แต่เมื่อรัฐบาลเรี ยกเก็บภาษีนาเข้ารถยนต์ในอัตรา t
ต้นทุนในการนาเข้ารถยนต์จะเพิ่มขึ้นเป็ น Pw+t
ส่ งผลให้ผบู ้ ริ โภคลดการบริ โภคลงเหลือ Q3 ในขณะเดียวกันการ
ที่ราคารถยนต์นาเข้าแพงขึ้น จะเป็ นการช่วยปกป้ องผูผ้ ลิตรถยนต์ใน
ประเทศ ให้ผผู ้ ลิตในประเทศสามารถแข่งขันได้ จะทาให้มีการเพิ่ม
ปริ มาณการผลิตรถยนต์ในประเทศขึ้นเป็ นQ2 ทาให้มีการนาเข้า
รถยนต์จากเดิมเหลือเพียง Q3-Q2
- เมื่อวิเคราะห์ผลกระทบผูม้ ีส่วนได้เสี ยกลุ่มต่างๆ จากการเก็บภาษีนาเข้า
จะเห็นว่า ผูท้ ี่ได้ประโยชน์คือ ผูผ้ ลิตรถยนต์ในประเทศและรัฐบาล ส่ วน
ผูท้ ี่เสี ยประโยชน์คือ ผูบ้ ริ โภค
- ผูผ้ ลิตได้ประโยชน์ (producer surplus) คือ พื้นที่ S
- รัฐบาลมีรายได้เพิ่มขึ้นคือ พื้นที่ T
- ผูบ้ ริ โภคมีส่วนเกินของผูบ้ ริ โภคลดลง คือ พื้นที่ S+U+T+V
- ส่ วนที่สงั คมสูญเสี ยประโยชน์ไป คือ ไม่มีผใู ้ ดได้ประโยชน์หรื อ
ประโยชน์สาบสูญ (deadweight loss) คือ พื้นที่ U+V
- พื้นที่ U คือ ต้นทุนทางสังคมของการใช้ทรัพยากรที่ไม่มีประสิ ทธิภาพ
ที่เกิดจากที่ผผู ้ ลิตในประเทศขยายการผลิตเพิ่มขึ้นจาก Q1เป็ น Q2
- พื้นที่ V คือ ต้นทุนของผูบ้ ริ โภคที่ตอ้ งสูญเสี ยความพอใจในส่ วนที่ตอ้ ง
ลดการบริ โภคลงจาก Q4 เหลือ Q3 (ความพอใจที่สูญเสี ยไป
เนื่องจากปริ มาณการบริ โภคที่ลดลงเนื่องจากต้องจ่ายเงินซื้อสิ นค้าใน
ราคาแพงกว่าราคาตลาดโลก
II. โควตาเป็ นเครื่ องมือที่สาคัญชนิดหนึ่งของนโยบายคุม้ กัน
โควตา คือ การจากัดปริ มาณสิ นค้าที่นาเข้าภายในประเทศ หรื อส่ งออกไป
ต่างประเทศในระยะเวลาหนึ่ง การจากัดการนาเข้าเช่นนี้ อาจจะจากัด
เป็ นมูลค่าสิ นค้า หรื อเป็ นปริ มาณสิ นค้าก็ได้
(โควตา ต่างจาก ภาษีศุลกากร คือ ภาษีศุลกากรเรี ยกเก็บเงินจากสิ นค้าเข้า
หรื อสิ นค้าออกตามอัตราที่กาหนด ปริ มาณสิ นค้าเข้าหรื อส่งออกไม่จากัด
ตราบใดที่พอ่ ค้าสามารถชาระภาษีได้ ส่ วนโควตานั้น พ่อค้าไม่สามารถ
สัง่ สิ นค้าเข้าหรื อส่ งออกเกินจานวนที่กาหนด ถึงแม้วา่ จะชาระ
ค่าธรรมเนียมให้รัฐมากเท่าใดก็ตาม
ชนิดของโควต้า
1. การกาหนดโควตาอาจจะกาหนดโดยทัว่ ๆไป หมายความว่ารัฐบาล
เพียงแต่กาหนดปริ มาณสิ นค้าสูงสุ ดที่สงั่ เข้ามาได้ โดยไม่คานึงว่า
สิ นค้านั้นมาจากที่ใด
2. โควตาแบบเลือก คือ การกาหนดปริ มาณสิ นค้าสูงสุ ดที่จะนาเข้า
พร้อมทั้งระบุวา่ จะต้องส่ งมาจากประเทศใดบ้าง จานวนเท่าใด
3. โควตาอากรขาเข้ า (tariff quotas) เป็ นการจากัดปริ มาณสิ นค้า
นาเข้าจานวนหนึ่ง ซึ่งยอมให้เสี ยอากรขาเข้าในอัตราหนึ่ งที่กาหนด ถ้า
สัง่ สิ นค้าเข้ามากกว่าจานวนที่กาหนดต้องเสี ยอากรขาเข้าในอัตราที่
สูงขึ้น สิ นค้าเข้าที่เสี ยอากรขาเข้าในอัตราที่สูงไม่จากัดจานวนสิ นค้า
ผลกระบทของการกาหนดโควตา
ราคารถยนต์
Sd
Pd
S
U
Pw
T
V
Dd
Q1
Q2
Q3
Q4
ปริ มาณรถยนต์
การที่รัฐบาลจากัดโควตาการนาเข้า ในปริ มาณ Q3Q2
- การจากัดโควต้าการนาเข้าจะมีผลในการถ่ายโอนผลประโยชน์จาก
ผูบ้ ริ โภคไปสู่ผผู ้ ลิตในประเทศ รวมทั้งก่อให้เกิดประโยชน์สาบสูญ
เหมือนกับการเก็บภาษีนาเข้า แต่มีจุดที่แตกต่างกันเล็กน้อยคือ
ผลประโยชน์ในพื้นที่ t นั้น แทนที่จะเป็ นรายได้ของรัฐบาล กลับตกไป
เป็ นกาไรส่ วนเกินของผูไ้ ด้รับการจัดสรรสิ ทธิในการนาเข้า และผูไ้ ด้รับ
สิ ทธิในการส่ งสิ นค้าเข้ามาขายยังประเทศผูน้ าเข้า
- การใช้มาตรการกาหนดโควต้าจะมีผลกระทบทางเศรษฐกิจที่รุนแรงกว่า
การใช้มาตรการทางภาษีนาเข้า เพราะการใช้มาตรการด้านโควต้าจะมีผล
ในเชิงบิดเบือนการทางานของกลไกราคามากกว่า
เพราะถ้าใช้ภาษีนาเข้าผูบ้ ริ โภคยังมีโอกาสที่จะนาเข้าสิ นค้าเพิ่มขึ้น
ได้ถา้ ราคาในตลาดโลกลดลง แต่ถา้ เป็ นระบบโควตา ตราบใดที่รัฐบาล
ยังไม่ปรับเปลี่ยนตัวเลขปริ มาณนาเข้า ย่อมไม่มีทางที่จะมีการนาเข้าเพิ่ม
ได้ง่ายๆ
นอกจากนี้ การจัดสรรโควต้าจะทาให้เกิดกลุ่มอิทธิพลที่มีปัญหา
เรื่ องความขัดแย้งด้านผลประโยชน์ข้ ึนมาใหม่อีก 2 กลุ่ม นอกเหนือจาก
กลุ่มผูผ้ ลิตในประเทศ คือ กลุ่มผูไ้ ด้รับการจัดสรรสิ ทธิในการนาเข้า
สิ นค้าจากต่างประเทศ และประเทศที่ส่งสิ นค้าไปจาหน่ายในประเทศที่
กาหนดโควตา ทาให้เกิดการวิ่งเต้นติดสิ นบน หรื อเคลื่อนไหวผลักดัน
ผ่านกลไกของรัฐ ไม่ให้ยกเลิกการใช้มาตรการจากัดปริ มาณสิ นค้านี้
การกาหนดโควตาจะมีผลเช่นเดียวกับการเก็บภาษีศุลกากร คือ ทาให้ราคา
สิ นค้าเข้าสูงขึ้น ปริ มาณสิ นค้าเข้าลดลง ซึ่งมีผลเกิดขึ้นกับประเทศสัง่
สิ นค้าเข้าและประเทศส่ งออก
ผลทางด้านรายได้ซ่ ึงต่างกับการเก็บภาษีศุลกากร คือ รัฐบาลจะ
ไม่ได้รับรายได้เพิ่มขึ้น ถ้ารัฐบาลไม่เก็บค่าธรรมเนียมในการอนุญาตให้
นาสิ นค้าเข้า รายได้ส่วนนี้จะตกอยูก่ บั ผูน้ าสิ นค้าเข้า
แต่ถา้ รัฐบาลทาการประมูลราคาใบอนุญาตให้นาสิ นค้าเข้าตาม
โควตา รัฐบาลก็จะได้รับรายได้เท่ากับราคาสูงสุ ดที่มีผปู ้ ระมูลได้
ผลดีของการกาหนดโควต้า
1. ควบคุมสิ นค้าเข้าได้ผลดีกว่าการเก็บภาษีศุลกากร เพราะสามารถ
กาหนดปริ มาณสิ นค้าได้
2. การนาโควตามาใช้หรื อยกเลิกโควตาก็ทาได้เสมอ เพราะไม่ตอ้ ง
ออกเป็ นกฎหมายเหมือนกับการเก็บภาษีศุลกากร
3. เลือกประเทศที่จะสัง่ สิ นค้าเข้าได้
ผลเสี ยของการกาหนดโควตา
1. เกิดตลาดมืด ถ้าปริ มาณสิ นค้าที่จากัดให้นาเข้าน้อยกว่าความต้องการ
ของผูบ้ ริ โภคมาก
2. ทาให้รัฐบาลขาดรายได้ ถ้าไม่มีการเสี ยค่าธรรมเนียมหรื อไม่มีการ
ประมูลใบอนุญาตให้นาเข้าตามโควต้า
3. เป็ นช่องทางให้เกิดการทุจริ ตง่าย เพราะการให้โควต้าเป็ นการเลือก
บุคคลที่จะให้สิทธิ
Consumer and Producer Surpluses
P
Consumer Surplus (CS)
หรือ ส่ วนเกินของผู้บริโภค หมายถึง ส่ วน
ของจานวนเงินที่ผบู ้ ริ โภคยินดีจ่ายเพื่อซื้อ
สิ นค้าจานวนหนึ่งๆที่เกินกว่าจานวนเงินที่
ผูบ้ ริ โภคได้จ่ายออกไปจริ งในการซื้อสิ นค้า
จานวนนั้นๆ
CS+PS = Social Surplus (SS)
S
P0
CS
E
PS
D
Q0
Q
Producer Surplus (PS)
หรือ ส่ วนเกินของผู้ผลิต หมายถึง ส่ วน
ของจานวนเงินที่ผผู้ ลิตได้รับจริ งจากการ
ขายสิ นค้าจานวนหนึ่งๆที่เกินกว่าจานวน
เงินที่ผผู้ ลิตสามารถยอมรับได้สาหรับการ
ขายสิ นค้าจานวนนั้นๆ