Transcript Document

GRP and RIA
แผนการนาเสนอ
วัตถุประสงค์ และผลกระทบการออกกฎหมาย
✰ Good Regulatory Practice (GRP)
✰ Regulatory Impact Analysis (RIA)
✰
วัตถุประสงค์ ของกฎหมาย
และผลกระทบที่เกิดจากกฎหมาย
วัตถุประสงค์ ของกฎหมาย
✰
✰
ความสงบสุขของประชาชน
การส่ งเสริมให้ ตลาดและภาคอุตสาหกรรมมีการแข่ งขัน
เพื่อให้ สังคมเกิดการพัฒนา ยกระดับความเป็ นอยู่และ
คุณภาพชีวิตของประชาชน
กฎระเบียบ/กฎหมาย คืออะไร
✰
กฎระเบียบ (Regulation) คือ เครื่องมือที่กาหนดขึน้ เพื่อ
เป็ นแนวปฏิบัตใิ ห้ เกิดความปลอดภัย และเป็ นระเบียบ
เรียบร้ อยต่ อคนในสังคม
ผลกระทบที่เกิดจากกฎหมาย
ผลกระทบจากการมีกฎหมายมาก
✰ ผลกระทบจากการกาหนดมาตรการทาง
กฎหมายที่ไม่ เหมาะสมกับสภาพของเรื่อง
✰
ผลกระทบจากกฎหมายมาก
✰
✰
ผลกระทบต่ อรัฐ
 กฎหมายซา
้ ซ้ อน
 ปั ญหาในการบังคับใช้
 ต้ นทุนการผลิตและการบังคับใช้ สูง
ผลกระทบต่ อประชาชน
 ประชาชนถูกจากัดและลิดรอนสิทธิ
 ยากในการเข้ าใจ ทาให้ ไม่ สามารถคุ้มครองสิทธิตนเอง
 รั บภาระค่ าใช้ จ่ายในฐานะผู้เสียภาษี
ผลกระทบจากการกาหนดมาตรการทางกฎหมายไม่ เหมาะสม
✰
✰
ผลกระทบต่ อรัฐ
 การบังคับใช้ ไม่ มีประสิทธิภาพ
 ช่ องทางทุจริ ต เช่ นการปรั บ
ผลกระทบต่ อประชาชน
 เพิ่มต้ นทุนในการปฏิบัตต
ิ าม
 เพิ่มต้ นทุนในการประกอบการ
 ยุ่งยากในการปฏิบัตต
ิ าม
 เลือกที่จะไม่ ปฎิบต
ั ติ าม
ผลกระทบโดยสรุ ป
✰
✰
✰
✰
✰
ลิดรอนสิทธิของประชาชนเกินจาเป็ น
ประสิทธิภาพการบังคับหรือการให้ บริการอยู่ในระดับ
ต่า
เกิดความซา้ ซ้ อนของกฎระเบียบ
กลไกขาดประสิทธิภาพ เป็ นช่ องทางทุจริต
ประชาชนขาดจิตสานึกในการปฏิบัตติ าม
หลักปฏิบตั ทิ ่ ดี ีด้านกฎระเบียบของกลุ่ม
อาเซียน (ASEAN Good Regulatory
Practice, ASEAN GRP)
หลักปฏิบัตทิ ่ ดี ีด้านกฎระเบียบ (GRP)
✰
✰
✰
✰
✰
✰
Necessity
Effectiveness
Proportionality
Transparency
Accountability
Consistency
ลักษณะของกฎหมายไทย
✰
✰
✰
✰
✰
✰
✰
เป็ นความจาเป็ นอย่ างแท้ จริงและไม่ มีมาตรการอื่นที่แก้ ปัญหาได้
รั ฐธรรมนูญให้ ตรากฎหมายขึน้ เพื่อจากัดสิทธิเสรี ภาพของบุคคลเฉพาะเรื่ อง
การจากัดสิทธิเสรี ภาพตามกฎหมายต้ องเป็ นไปเพียงเพื่อให้ การบังคับใช้ กฎหมายนัน้
ประสบความสาเร็จ
มาตรการตามกฎหมายต้ องมีความเหมาะสมและสอดคล้ องกับบริบทหรื อสภาพของ
สังคมไทย และสามารถแก้ ไขปั ญหาที่เกิดขึน้ ได้ อย่ างแท้ จริงและเป็ นระบบ
กลไกของรั ฐมีความพร้ อมทัง้ ด้ านบุคลากร งบประมาณ และเครื่ องมือในการบังคับใช้
กฎหมาย เพื่อให้ กฎหมายมีประสิทธิภาพสูงสุด
ต้ องมีการทบทวนความเหมาะสมของมาตรการเป็ นระยะเพื่อปรั บปรุ งแก้ ไขให้ เหมาะสม
กับสถานการณ์
ต้ องมีการรั บฟั งความคิดเห็นจากผู้ท่ อี าจจะได้ รับผลกระทบ
ASEAN GRP
✰
✰
✰
Standard
Technical regulation
Conformity assessment
หลักการของ ASEAN GRP
✰
✰
✰
✰
✰
✰
✰
ตอบสนองต่ อวัตถุประสงค์ ของนโยบายที่กาหนดไว้ และสามารถบรรลุตาม
วัตถุประสงค์ อย่ างมีประสิทธิผล effectiveness
อยู่บนพืน้ ฐานของหลักกฎหมายและหลักข้ อเท็จจริงที่ถูกต้ อง consistency
ก่ อให้ เกิดประโยชน์ ด้วยค่ าใช้ จ่ายที่เหมาะสม โดยพิจารณาผลกระทบที่ส่งถึงทั่วทัง้
สังคม และพิจารณาผลกระทบทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้ อมและสังคมร่ วมด้ วย
proportionality
ลดค่ าใช้ จ่ายและบิดเบือนตลาดน้ อยที่สุด necessity
ชัดเจน ง่ าย และผู้ใช้ สามารถปฏิบัตไิ ด้ transparency
สอดคล้ องกับกฎระเบียบและนโยบายอื่นๆ consistency
โปร่ งใสต่ อทัง้ ผู้ออกกฎระเบียบ และผู้ได้ รับผลกระทบจากกฎระเบียบนัน้
transparency
ASEAN GRP
✰
✰
✰
✰
✰
✰
อยู่บนพืน้ ฐานของมาตรฐานสากล หรื อมาตรฐานระดับชาติท่ ปี รั บเข้ าหามาตรฐานสากล
ยกเว้ น กรณีมีเหตุผลที่ชอบด้ วยกฎหมายให้ ต้องปรั บกฎระเบียบให้ แตกต่ างจาก
มาตรฐานที่มีอยู่ consistency
อ้ างอิงส่ วนของมาตรฐานเฉพาะข้ อกาหนดเท่ าที่จาเป็ นต่ อการบรรลุวัตถุประสงค์ ท่ ี
ต้ องการ necessity
มีข้อจากัดทางการค้ าน้ อยที่สุดในการบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ ท่ ีต้องการ necessity
อยู่บนพืน้ ฐานของผลที่ต้องการ (Performance based) มากกว่ าการกาหนดวิธี
เฉพาะเจาะจง (Prescriptive based) accountability
ปฏิบัตเิ ท่ าเทียมต่ อผลิตภัณฑ์ ในประเทศแหล่ งกาเนิดและผลิตภัณฑ์ คล้ ายคลึงกันที่
นาเข้ าจากประเทศสมาชิก consistency
ทบทวนได้ เพื่อคงความยืดหยุ่นและความสามารถปรั บตัวต่ อการเปลี่ยนแปลง
transparency
ASEAN GRP
✰
Standard

a document approved by a recognised body that provides, for common and
repeated use, rules, guidelines or characteristics for products or related
processes and production methods, with which compliance is not mandatory. It
may also include or deal exclusively with terminology, symbols, packaging,
marking or labelling requirements as they apply to a product, process or
production method
ASEAN GRP
✰
Technical regulation

a document which lays down product characteristics or their related processes
and production methods, including the applicable administrative provisions, with
which compliance is mandatory. It may also include or deal exclusively with
terminology, symbols, packaging, marking or labelling requirements as they
apply to a product, process or production method
ASEAN GRP
✰
Conformity assessment
 any procedure used, directly or indirectly, to determine that
relevant requirements in technical regulations or standards are
fulfilled
การประเมินผลกระทบของกฎระเบียบ
Regulatory Impact Analysis (RIA)
หัวข้ อที่ควรทราบของ RIA
RIA คืออะไร
✰ วัตถุประสงค์ ของ RIA
✰ ประโยชน์ ของ RIA
✰ RIA ต้ องดาเนินการเมื่อไร
✰ RIA มีวิธีดาเนินการอย่ างไร
✰
คาศัพท์
✰
✰
RIA-Regulatory Impact Assessment
 การประเมินผลกระทบของกฎระเบียบ
RIS-Regulatory Impact Statement
 บันทึกวิเคราะห์ สรุ ปร่ างกฎหมาย
 (แถลงการณ์ ผลกระทบของกฎระเบียบ)
RIA คืออะไร
✰
✰
เป็ นเครื่องมือที่ใช้ วิเคราะห์ ผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ
นโยบายหรือเมื่อจะออกมาตรการใหม่
 วิเคราะห์ เปรี ยบเทียบต้ นทุนและผลกระทบทัง
้ ทางบวกและทางลบที่เกิด
ต่ อประชาชน ธุรกิจ และสังคมของมาตรการทางกฎหมายและมาตรการที่
เป็ นทางเลือกอื่นๆ
 นาเสนอข้ อมูลที่ได้ เพื่อการตัดสินใจเลือกมาตรการที่มีประสิทธิผลและ
ประสิทธิภาพสูงสุดอย่ างเป็ นระบบ
เป็ นกระบวนการเพื่อให้ ผ้ ูมีอานาจตัดสินใจสามารถประเมินทางเลือกพร้ อม
เข้ าใจถึงผลกระทบที่อาจจะเกิดขึน้ ก่ อนที่จะตัดสินใจออกมาตรการ
RIS คืออะไร
✰
Regulatory Impact Statement
 รายงานอธิบายกระบวนการประเมินผล กระทบของ
มาตรการ/กฎระเบียบพร้ อมข้ อเสนอแนะ
 เครื่ องมือที่ช่วยการตัดสินใจ
 การสื่อสารข้ อมูลไปยังผู้มีอานาจในการตัดสินใจ
วัตถุประสงค์ ของ RIA
✰
✰
✰
✰
ทาให้ เข้ าใจผลกระทบของมาตรการของรั ฐตามความเป็ นจริง
ซึ่งมีทงั ้ ผลประโยชน์ และต้ นทุนได้ ดีขนึ ้
บูรณาการวัตถุประสงค์ เชิงนโยบายหลายวัตถุประสงค์ เข้ า
ด้ วยกัน
ปรั บปรุ งเรื่ องความโปร่ งใสและการหารื อผู้มีส่วนเกี่ยวข้ อง
เพิ่มความมีส่วนร่ วมรั บผิดขอบของภาครั ฐ
ประโยชน์ ของ RIA
✰
✰
✰
ประโยชน์ ของ RIA ต่ อเศรษฐกิจของประเทศ
ประโยชน์ ของ RIA ต่ อคุณภาพของระบบการจัดการของ
ภาครั ฐ
ประโยชน์ ของ RIA ต่ อการเพิ่มประสิทธิผลและประสิทธิภาพ
ของงานบริการภาครั ฐ
RIA ดาเนินเพื่ออะไร
✰
✰
เพื่อสร้ างมาตรการ/กฎระเบียบที่ดีและมีผลบังคับใช้
หลักการพืน้ ฐานของกาดาเนินนโยบายด้ านกฎระเบียบ
 ควบคุม/ใช้ กฎระเบียบเฉพาะเมื่อจาเป็ น
 พิจารณาทางเลือกในการแทรกแซงอย่ างรอบด้ านทัง
้ ที่เป็ น
กฎระเบียบ และที่ไม่ ใช่
 ในกรณีท่ ร
ี ัฐจาเป็ นต้ องมีการแทรกแซง กฎระเบียบที่ใช้ ต้องได้
สัดส่ วนกับความเสี่ยง/ปั ญหา
 เมื่อเป็ นไปได้ ยกเลิกกฎระเบียบ หรื อทาให้ ง่าย/ไม่ ย่ ุงยาก
เมื่อไรจึงต้ องดาเนินการ RIA
✰
การออกกฎระเบียบใหม่ หรือการทบทวนกฎระเบียบ
 ก่ อนการออกกฎ
 ปรั บแนวทางของมาตรการ
 หาข้ อมูลผลกระทบทางบวก
 ป
้ องกันการมองข้ ามผลกระทบทางลบ
 หลังการออกกฎ
 เรี ยนรู้ จากสิ่งที่เกิดขึน
้ จริง
 เป็ นแนวทางเพื่อพัฒนามาตรการในการแก้ ปัญหาอื่นๆ
 เพิ่มพูนข้ อมูลหลักฐานเพื่อการประเมินผลกระทบในอนาคต
เมื่อไรจึงต้ องไม่ ต้องดาเนินการ RIA
✰
✰
✰
✰
✰
✰
✰
✰
✰
✰
การทบทวนกฎระเบียบเดิม โดยไม่ มีการเปลี่ยนแปลงในสาระ
การยกเลิกหรื อตัดข้ อซา้ ซ้ อนของกฎหมาย
กฎหมายงบประมาณ ภาวะฉุกเฉิน เกี่ยวข้ องกับความมั่นคงของประเทศ
ข้ อเสนอที่เป็ นส่ วนหนึ่งของกฎหมายเก่ า ไม่ มีการเปลี่ยนแปลงกฎหมาย
กฎหมายที่ร่างมาจากผลการตัดสินของศาล และไม่ ต้องตีความ ไม่ ต้องพิจารณา
ทางเลือกอื่น และไม่ ต้องรั บฟั งความคิดเห็นเพิ่มเติม
การออกกฎหมายเพื่อรองรั บพันธะกรณีระหว่ างประเทศที่ได้ ลงนามแล้ ว
ข้ อเสนอเป็ นเรื่ องการจัดการภายในหน่ วยงาน หรื อระหว่ างหน่ วยงาน
ข้ อเสนอที่ไม่ มีผลกระทบโดยตรงต่ อธุรกิจ การค้ า
การจัดซือ้ จัดจ้ างของรั ฐบาล ในสินค้ าบางอย่ างที่กระทาเป็ นประจา
การออกกฎระเบียบเพื่อรองรั บข้ อตกลงหรื อตามที่กฎหมายบัญญัตไิ ว้
ขัน้ ตอนการดาเนินการ RIA
✰
✰
✰
✰
✰
✰
✰
วิเคราะห์ สถานการณ์ ความจาเป็ น
กาหนดวัตถุประสงค์ ในการแก้ ปัญหา
พิจารณาทางเลือกต่ างๆในการแก้ ปัญหา
ประเมินผลกระทบของแต่ ละทางเลือก
ปรึกษาหารือผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
สรุ ปและข้ อเสนอแนะ
วางแผนดาเนินการและติดตามผล
Thai RIA ตรวจสอบความจาเป็ น
วัตถุประสงค์ และเป้าหมายของภารกิจคืออะไร
2. ใครควรเป็ นผู้ทาภารกิจนัน้
3. มีความจาเป็ นทีต้องตรากฎหมายขึน้ เพื่อ ให้ การทาภารกิจนัน้ ประสบความสาเร็จ
หรือไม่
4. ความซา้ ซ้ อนกับกฎหมายอ่ื น
5. ภาระต่ อบุคคลและความคุ้มค่ า
6. ความพร้ อมของรัฐ
7. หน่ วยงานที่รับผิดชอบ
8. วิธีการทางานและการตรวจสอบ
9. อานาจในการตราอนุบัญญัติ
10. มีการรับฟั งความคิดเห็นของหน่ วยงานอื่นและผู้ท่ อี าจได้ รับผลกระทบจากการมี
กฎหมายนัน้ แล้ วหรือไม่
1.
ASEAN RIA
✰
✰
✰
✰
✰
Defining the problem
Setting objectives
Assessing all feasible options
Analysing the impacts arising from these options
Consulting with stakeholders
เปรี ยบเทียบการดาเนินการ RIA
ASEAN
Defining problems
Setting Objectives
Identifying options
Impact Analysis
Consultation
THAI
1.วัตถุประสงค์ และเป้าหมาย
2.ผู้ทาภารกิจ
3.,มีความจาเป็ นต้ องตรากฎหมาย
4.มีความซา้ ซ้ อนกับกฎหมายอื่น
5.ภาระต่ อบุคคลและความคุ้มค่ า
6.ความพร้ อมของรั ฐ
7.หน่ วยงานที่รับผิดชอบ
8.วิธีการทางานและการตรวจสอบ
9.อานาจในการตราอนุบัญญัติ
10.การรั บฟั งความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
องค์ ประกอบของ RIS
✰
✰
✰
✰
✰
✰
✰
การวิเคราะห์ ปัญหา
วัตถุประสงค์
ทางเลือก
การวิเคราะห์ ผลกระทบ
การรับฟั งความคิดเห็น
สรุ ปข้ อเสนอแนะ
แผนปฏิบัตกิ ารเพื่อบรรลุเป้าหมาย
การวิเคราะห์ ปัญหา
• ความรุ นแรงของปั ญหา
• สาเหตุของปั ญหา
วัตถุประสงค์
• กรอบการวิเคราะห์
• วัตถุประสงค์ และตัวชีว้ ัด
ทางเลือก
การวิเคราะห์ ผลกระทบ
การรั บฟั งความคิดเห็น
ข้ อสรุ ปทางเลือก
แผนดาเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมาย
• ทางเลือกที่เป็ นกฎระเบียบ
• ทางเลือกที่ไม่ ใช่ กฎระเบียบ
RIS ฉบับพัฒนาข้ อเสนอ เสนอต่ อกรรมการ/อนุกรรมการหน่ วยงาน
• Multi-criteria analysis
• Cost-benefit analysis
RIS ฉบับรับฟั งความคิดเห็น เสนอต่ อกรรมการ/อนุกรรมการหน่ วยงาน
• วิธีการ
• ผลการรับฟั ง
• มาตรการในการแก้ ปัญหา
• เหตุผลที่เลือกมาตรการดังกล่ าว
• แผนปฏิบัตกิ าร
• แผนการทบทวน
RIS ฉบับสมบูรณ์ สาหรั บเผยแพร่
การวิเคราะห์ สถานการณ์
✰
ปั ญหาและหลักฐานแสดง
 ปั ญหาที่กาลังเกิดนั น
้ คืออะไร
 ปั ญหาเกิดกับใครบ้ างและเกิดอย่ างไร
 ขนาดของปั ญหาใหญ่ เพียงใด
 ผลกระทบที่คาดว่ าจะเกิดขึน
้ หากปั ญหาไม่ ได้ รับการ
แก้ ไข
การวิเคราะห์ สถานการณ์
✰
วิเคราะห์ สาเหตุของปั ญหา
 อะไรเป็ นที่มาของปั ญหา
 โดยดูจากเหตุการณ์ หรื อพฤติกรรมที่ก่อให้ เกิดปั ญหา
 สาเหตุท่ แ
ี ท้ จริงของปั ญหาคืออะไร
 สิ่งกระตุ้นที่ทาให้ เกิดพฤติกรรมที่เป็ นปั ญหาดังกล่ าว
 ปั ญหาที่เกิดขึน
้ มีลักษณะเป็ นรู ปแบบใดและเหตุผลที่จาเป็ นต้ องใช้
มาตรการทางกฎหมายในการแก้ ปัญหาคืออะไร
ลักษณะของปั ญหาที่จาเป็ นต้ องแทรกแซง
✰
✰
ความล้ มเหลวของกลไกการตลาด/การแข่ งขันอย่ างเสรี
 สมบัตส
ิ าธารณะ
 ผลกระทบทางอ้ อมต่ อบุคคลที่สาม
 การผูกขาดทางการค้ า
 ข้ อมูลไม่ เท่ าเทียมระหว่ างผู้ซอ
ื ้ และผู้ขาย
ข้ อจากัดของภาครัฐ
 หน่ วยงาน/การบังคับใช้
 มาตรการ/กฎระเบียบ
ความจาเป็ นที่ต้องมีการแทรกแซงโดยภาครัฐ (3)
✰
ความล้ มเหลวของกลไกตลาด
 Public goods ไม่ มีเจ้ าของ ไม่ มีคนดูแล
 ทิง
้ ของบนถนน ถูกปรั บ
 Externalities ผลกระทบทางอ้ อมโดยไม่ ตัง
้ ใจต่ อบุคคลที่สาม
 ให้ รพ.ซือ
้ ยาจาก GPO เพื่อให้ GPO อยู่ได้ แต่ กระทบบริษัทยาเอกชน
 Monopoly การผูกขาดทางการค้ า มักส่ งผลที่ราคา
 ยา original ราคาสูง
 Information asymmetry การมีข้อมูลไม่ เพียงพอของผู้บริ โภค
 เครื่ องมือแพทย์ ไม่ มีฉลาก
(หมายเหตุ ตัวเลขสีนา้ เงิน คือรายการตรวจสอบความจาเป็ นในการตรากฎหมายของกฤษฎีกา)
วัตถุประสงค์ การแก้ ปัญหา (1)
✰
✰
✰
✰
กรอบการวิเคราะห์ (Analytical Framework)
 ความเชื่อมโยงระหว่ างปั ญหา ที่มา และสาเหตุ
 ความเชื่อมโยงระหว่ างมาตรการ เป
้ าหมาย ตัวชีว้ ัด
วัตถุประสงค์ การแก้ ปัญหา
 ตัวชีว
้ ัดความสาเร็จในการแก้ ปัญหา
วัตถุประสงค์ การออกกฎระเบียบ
 ตัวชีว
้ ัดความสาเร็จในการออกกฎระเบียบ
กฎระเบียบอื่นๆที่เกี่ยวข้ อง (4,7)
กรอบการวิเคราะห์
ที่มาของปั ญหา 1
ปั ญหา
วัตถุประสงค์ ใน
การแก้ ปัญหา
ตัวชีว้ ัด
สาเหตุของปั ญหา 1.1
มาตรการ/ทางเลือกในการ
แก้ ปัญหา
ตัวชีว้ ัด
สาเหตุของปั ญหา 1.2
มาตรการ/ทางเลือกในการ
แก้ ปัญหา
ตัวชีว้ ัด
ที่มาของปั ญหา 2
สาเหตุของปั ญหา 2.1
มาตรการ/ทางเลือกในการ
แก้ ปัญหา
ตัวชีว้ ัด
ทางเลือกในการแก้ ปัญหา (2)
ทางเลือกที่ไม่ ใช่ การออกกฎระเบียบ
(non-regulatory options)
✰ ทางเลือกในการออกกฎระเบียบ
(regulatory options)
✰
ทางเลือกที่ไม่ ใช่ การออกกฎระเบียบ
✰
✰
✰
✰
✰
✰
✰
การคงสถานการณ์ เดิม (Do nothing)
การให้ ข้อมูล (Information disclosure)
การให้ ผลประโยชน์ ต่อธุรกิจ(Economic incentive)
การให้ สิทธิ์พเิ ศษ (Tradable property rights)
การประกันความเสี่ยง (Risk-based insurance)
การรณรงค์ (Persuasion)
การตกลงโดยสมัครใจ (Voluntary agreement)
ทางเลือกที่ไม่ ใช่ การออกกฎระเบียบ
✰
✰
✰
✰
Do nothing

ทุกอย่ างเหมือนเดิม ต้ องเป็ นทางเลือกสาหรั บเปรี ยบเทียบเสมอ
Information disclosure

การให้ ข้อมูลเพื่อช่ วยให้ ผ้ บู ริโภคสามารถตัดสินใจ

Negative or positive lists ของยา
Economic incentives

การใช้ เงื่อนไขด้ านการเงินการคลังกระตุ้นให้ เกิดการเปลี่ยนพฤติกรรม

การยกเว้ นภาษีสาหรั บเครื่ องมือที่ใช้ ในงานวิจยั

การหักภาษีได้ สองเท่ า
Tradeable property rights

การโอนสิทธิ์ท่ รี ั ฐมีให้ อย่ างจากัด

การ refer ทะเบียนยา
ทางเลือกที่ไม่ ใช่ การออกกฎระเบียบ
✰
✰
✰
Risk-based insurance or risk pricing

การให้ ภาคอุตสาหกรรมประกันความเสี่ยง
 ประกันสังคม ประกันรถยนต์ บุคคลที่สาม
Persuasion

การจูงใจด้ วยการให้ ข้อมูล มักใช้ ในกรณีท่ ผี ลของกฎหมายไปไม่ ถงึ
 การใช้ ส่ อ
ื ให้ ความรู้เรื่องโรคเอดส์ การรณรงค์ เลิกบุหรี่ การรณรงค์ นาถุง
กลับมาใช้ ซา้ การรณรงค์ ลดโลกร้ อน
Voluntary agreements

ความร่ วมมือระหว่ างภาครัฐและภาคเอกชน มักได้ รับความร่ วมมือสูงเนื่องจาก
เป็ นความเห็นร่ วมกันระหว่ างรัฐและเอกชน
ทางเลือกการออกกฎระเบียบ
Self-regulation
✰ Quasi-regulation
✰ Co-regulation
✰ Explicit regulation
✰
ทางเลือกการออกกฎระเบียบ
✰
Self-regulation

ผู้ประกอบการตกลงหรือกาหนดวิธีปฏิบัติ

✰
Quasi-regulation

รั ฐให้ อานาจอุตสาหกรรม/สภาวิชาชีพเพื่อดาเนินการ หรืออาจเป็ นข้ อกาหนดหรือ
คาแนะนาจากภาครั ฐซึ่งมีผลในการบังคับผู้ประกอบการ

✰
สภาวิชาชีพมีอานาจในการลงโทษ
Co-regulation

รั ฐออกกฎหมายให้ ปฏิบัตติ ามหลักเกณฑ์ โดยหลักเกณฑ์ ภาคอุตสาหกรรมเป็ นผู้
กาหนด

✰
PReMA ออกระเบียบเรื่องการสอบผ่ านจรรยาบรรณของผู้แทนยา
กระทรวงให้ ร้านยาคุณภาพขายยาเฉพาะกลุ่ม
Explicit government

กฎหมาย
การประเมินทางเลือก (5-9)
✰
✰
Qualitative analysis
Quantitative analysis





Multi-criteria analysis (MCA)
Cost-benefit analysis
Cost-effectiveness analysis
Cost-utility analysis
Risk assessment
การวิเคราะห์ พหุหลักเกณฑ์ (MCA)
เกณฑ์ การประเมิน/ นา้ หนักความสาคัญ
คงสถานการณ์ เดิม
ตัวชีว้ ัด
ของเกณฑ์
ทางเลือก 1
ทางเลือก 2
ประสิทธิผล คะแนนรวม ประสิทธิผล คะแนนรวม ประสิทธิผล คะแนนรวม
ตัวชีว้ ัด 1
40%
20
8
30
12
80
32
ตัวชีว้ ัด 2
35%
10
3.5
50
17.5
40
14
ตัวชีว้ ัด 3
25%
0
0
80
20
50
12.5
รวม
100
11.5
49.5
58.5
การวิเคราะห์์ ต้นทุนผลประโยชน์ (CฺBA)
มุมมอง
คงสถานการณ์ เดิม
ทางเลือก 1
ทางเลือก 2
ค่ าใช้ จ่าย
ผลประโยชน์
ค่ าใช้ จ่าย
ผลประโยชน์
ค่ าใช้ จ่าย
ผลประโยชน์
ประชาชน
1.5 mb
.5 mb
5.0 mb
12 mb
8.0 mb
20 mb
ผู้ประกอบการ
10 mb
3 mb
50 mb
60 mb
40 mb
80 mb
ภาครั ฐ
0
0
0.3 mb
0
0.5 mb
12 mb
รวม
11.5 mb
3.5 mb
55.3 mb
72 mb
48.5 mb
112 mb
Net value
-8 mb
16.7 mb
73.5 mb
B/C
0.3
1.3
2.3
การหารือผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย (10)
✰
RIS ฉบับพัฒนาข้ อเสนอ


✰
Formal or informal consultation
During the regulatory development process
RIS ฉบับรับฟั งความคิดเห็น


Formal consultation
After quantitative impact analysis
วัตถุประสงค์ ของการหารือผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
✰
✰
Consultation after RIS ฉบับพัฒนาข้ อเสนอ
 Potential problems
 Alternatives
 Positive and negative impacts
Consultation after RIS ฉบับรับฟั งความคิดเห็น
 Main views of stakeholders
 Agreement and/or differences
 Information on intergovernment consultation
กระบวนการหารือผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
✰
✰
✰
✰
ข้ อมูลสาคัญที่เตรี ยมให้ สาหรั บกลุ่มบุคคลที่จะทาการปรึกษารับฟั ง
ความคิดเห็น
บุคคลที่เข้ าร่ วมการปรึกษารับฟั งความคิดเห็นต้ องเป็ นบุคคลที่มีความ
เกี่ยวข้ อง
จัดสรรเวลาให้ เพียงพอในการพิจารณาข้ อมูลที่ได้ จากการปรึกษารับ
ฟั งความคิดเห็น
ข้ อมูลทัง้ หมดที่ได้ รับจากการปรึกษารั บฟั งความคิดเห็นจาเป็ นต้ องถูก
พิจารณาทัง้ หมด
ผลการหารือผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
✰
✰
✰
✰
✰
กลุ่มผู้เกี่ยวข้ องที่ร่วมให้ ความคิดเห็น
วิธีดาเนินการรั บฟั งความคิดเห็น
รายละเอียดข้ อคิดเห็น โดยเฉพาะข้ อคิดเห็นที่ขัดแย้ งกับ
ข้ อเสนอ
ข้ อขัดแย้ งเหล่ านัน้ มีผลกระทบต่ อข้ อเสนออย่ างไร
ในกรณีท่ ไี ม่ มีการรั บฟั งความคิดเห็น ให้ อธิบายเหตุผล
ข้ อจากัดต่ างๆ
สรุ ปและข้ อเสนอแนะ
สรุ ปผลประเมินของแต่ ละทางเลือก
✰ ข้ อเสนอแนะทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด
✰
แผนการดาเนินงานและการติดตามผล (8,9)
รายละเอียดขัน้ ตอนการดาเนินงาน
✰ ระยะเวลาดาเนินงาน
✰ การติดตามผล
✰ แผนการทบทวนกฎระเบียบ
✰
✰
RIS ฉบับสมบูรณ์
ขัน้ ตอนหลักของ RIS
RIS ฉบับรับฟั ง
•
•
•
•
ปั ญหา
กรอบการวิเคราะห์
วัตถุประสงค์
ทางเลือก
RIS ฉบับพัฒนา
ข้อเสนอ
ความคิดเห็น
• การวิเคราะห์
ผลกระทบของแต่
ละทางเลือก
• ผลการรับฟั งความ
คิดเห็น
• ข้ อสรุ ปทางเลือก
• แผนดาเนินการเพื่อให้
บรรลุเป้าหมาย
RIS ฉบับสมบูรณ์
Q&A