บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์

Download Report

Transcript บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์

บทที่ 1
รัฐศาสตร์
วิชารัฐศาสตร์ คืออะไร?
ทาไมเราต้ องศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ?
และจะมีประโยชน์กบ
ั เราอย่างไรบ้ าง?
รัฐศาสตร์ คืออะไร
พจนนานุกรม
รัฐ(รัด รัดถะ) น.
แว่นแคว้น บ้านเมือง ประเทศ
รัฐบาล(รัดถะบาน) น. องค์ กรที่ใช้
อานาจบริหารในการปกครองประเทศ
รัฐศาสตร์(รัดถะสาด) น.
วิชาว่าด้วยการเมืองและ
การปกครองประเทศ ตลอดจน
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความหมายของวิชารัฐศาสตร์
ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Political
Science เป็ นการศึกษาถึงเรื่ องราวทางการเมือง
 science ในที่นี่หมายถึง ศาสตร์ หรื อวิชาการ
 ส่วนคาว่า politics มาจากภาษาอังกฤษ “การเมือง”
ซึง่ มีรากศัพท์มาจากภาษากรี กว่า polis แปลว่า
เมือง หรื อ นครรัฐ
 รั ฐศาสตร์
ดังนั้น การศึกษารัฐศาสตร์ กค็ ือการศึกษาวิชา
การเมืองโดยใช้ศาสตร์หรื อวิชาการเข้ามา
วิเคราะห์
การศึกษาวิชารัฐศาสตร์เป็ นการศึกษากลุ่มหนึ่ง
ของสาขาวิชาสังคมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ
ทฤษฎี องค์การ รัฐบาล แนวปฏิบตั ิของรัฐ
ปัจจุบนั จะ เน้นที่การศึกษาระบบการเมือง
รัฐศาสตร์เป็ นวิชาที่มุ่งศึกษาถึงการที่
มนุษย์อยูร่ ่ วมกันในสังคม ซึ่งยังไม่
สามารถที่จะหาทฤษฎีหรื อกฎเกณฑ์ที่
แน่นอนเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ใน
สังคม หรื อหลักการที่จะมีรูปแบบการ
ปกครองที่ดี หรื อมีรัฐบาลที่ดีที่สุด
คาว่า รัฐศาสตร์ กับ การเมือง มักใช้ แทนกันได้ แต่ก็
มีข้อแตกต่างที่สาคัญคือ
รั ฐศาสตร์
เป็ นเรื่ องที่หนักไปในทางวิทยาการหรื อศาสตร์ ที่มีการ
จัดระบบหมวดหมูอ่ ย่างชัดเจน(อานาจสูงสุดของรัฐ)
การเมือง
มีลกั ษณะหนักไปในเชิงการกระทาหรื อเป็ นกิจกรรม
(อานาจทางการเมืองของรัฐ)
ความสาคัญของวิชารั ฐศาสตร์ :ทาไม
ต้ องเรี ยนรั ฐศาสตร์ ?
 มนุษย์ไม่สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ เพียงลาพังบนโลกใบ
นี ้ได้ เพราะมนุษย์เป็ นสัตว์สงั คมและเป็ นสัตว์
การเมือง
 การเมืองเกิดจากความเป็ นจริ งที่วา่ ความจาเป็ นต่างๆ
ของมนุษย์มีจากัดในขณะที่ความต้ องการของมนุษย์มี
อย่างไม่จากัด การเมืองจึงเกิดขึ ้นมาเพื่อที่จะเป็ น
กฎเกณฑ์ในการแบ่งสรรความจาเป็ นต่างๆ เหล่านี ้
การศึกษาหรื อการเรี ยนรู้วิชาการทางการ
เมืองเป็ นเรื่ องที่ทกุ คนควรรู้ เพราะ
การเมืองเป็ นเรื่ องศิลปะการปกครอง เรื่ อง
ส่วนรวมหรื อกิจกรรมของรัฐ เป็ นเรื่ องราว
ของการประนีประนอมและความเห็นที่
สอดคล้ องกันเพราะการเมืองเป็ นเรื่ องของ
อานาจ และการแบ่งสรรทรัพยากร
ประโยชน์ ในการศึกษาวิชารัฐศาสตร์
ประโยชน์ในแง่ขององค์ความรู้ที่จะใช้ ในการประกอบอาชีพที่
เกี่ยวกับการเมือง การปกครอง ทังในระดั
้
บส่วนกลางและส่วน
ท้ องถิ่น แต่สิ่งที่มีความสาคัญโดยตรงและเป็ น
“เป้าหมายหลักในการเรี ยนรั ฐศาสตร์ คือ การทาให้
บัณฑิตที่จบมากลายเป็ นพลเมืองของระบอบ
ประชาธิปไตย รู้จกั ใช้ สทิ ธิ เคารพหน้ าที่ เคารพกฎหมาย
และความเท่าเทียม มีสว่ นร่วมทางการเมือง ไม่เฉยเมย
ต่อสิง่ ที่อยุติธรรม มีภมู ิร้ ูและภูมิธรรมและเป็ นหนึง่ ในแรง
สร้ างสรรค์ประชาธิปไตย”
ความสั มพันธ์ ระหว่ างอานาจ การเมืองและรัฐศาสตร์
“อานาจ” พลังที่จะสามารถทาให้คนหรื อกลุ่มคนอื่นทา
ตามความต้องการของเราได้
“การเมือง” (Lasswell,1950) การได้มาซึ่งอานาจ
เพื่อที่จะตัดสิ นว่าใครจะได้อะไร เมื่อใด อย่างไร
“รัฐศาสตร์ ” การศึกษาการเมืองด้วยหลักการทางวิชาการ
จึงจาเป็ นต้องใช้หลักการเหตุผล ทฤษฎี ข้อมูลเชิง
คุณภาพเชิงปริ มาณ เพื่อศึกษาการเมืองการปกครอง
ประวัติการศึกษารัฐศาสตร์ ของไทย
การศึกษาด้านรัฐศาสตร์ของไทยเริ่ มต้นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราชดาริ จดั ตั้ง
“โรงเรี ยนฝึ กหัดวิชาข้าราชการพลเรื อน” เพื่อรับคัดเลือกนักเรี ยน
เข้ามาฝึ กหัดเป็ นข้าราชการตามกระทรวงต่าง ๆ ต่อมาได้มีการ
ขยายการศึกษาให้กว้างขวางยิง่ ขึ้น พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั จึงทรงพัฒนาโรงเรี ยนดังกล่าวเป็ น
“โรงเรียนข้ าราชการพลเรือน” ซึ่งภายหลังได้สถาปนาเป็ น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จากเหตุดงั กล่าวนี้ การศึกษารัฐศาสตร์จึงเริ่ มต้นขึ้น โดย
คณะรัฐศาสตร์แห่ งแรก คือ คณะรัฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยหรื อ สิ งห์ดา อันเป็ น
จุดเริ่ มต้นของการศึกษารัฐศาสตร์ของไทย
แห่ งที่สอง คือ คณะรัฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรื อ สิ งห์แดง
แห่งที่สาม คือ คณะรัฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยรามคาแหง
ขอบเขตของวิชารั ฐศาสตร์
รั ฐศาสตร์ เป็ นศาสตร์ ท่ วี ่ าด้ วยรั ฐ ซึ่งถือเป็ น
สาขาหนึ่งของสังคมศาสตร์ ท่ กี ล่ าวถึงทฤษฎีการ
จัดตัง้ องค์ การรั ฐบาลและการดาเนินงานของรั ฐ
รวมถึงพฤติกรรมทางการเมือง ซึ่งมุ่งที่จะ
แสวงหาอิทธิพลและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
วิชารั ฐศาสตร์ มีขอบเขตกว้ างมาก จึงรวมถึงถึง
ทุกส่ วนในความสัมพันธ์ ทงั ้ ภายในและภายนอก
ของรั ฐ แยกได้ เป็ น 6 กลุ่มด้ วยกันคือ
1. ทฤษฎีการเมืองและประวัติความคิดทางการเมือง
กลุ่มนี้มุ่งศึกษาทฤษฎี และความคิดเห็นต่าง ๆ
ที่สาคัญตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงสมัยปั จจุบนั เพื่อ
ทราบถึงเหตุและผล รวมทั้งการต่อเนื่องกันของ
สถาบันการเมือง
2. สถาบันทางการเมือง มุ่งศึกษาองค์ ประกอบ และ
อานาจของสถาบันทางการเมือง นโยบายการจัดตั้งและ
โครงสร้ างของการปกครองของรัฐ
3. กฎหมายสาธารณะ ศึกษารากฐานของรัฐ ปัญหาการ
แบ่ งแยกอานาจ ความสั มพันธ์ ระหว่ างกฎหมายทั่วไป
และกฎหมายสู งสุ ดของรัฐ อานาจหน้ าทีข่ องศาล
ยุตธิ รรมและความสั มพันธ์ ระหว่ างจารีตประเพณีกบั
กฎหมายด้ วย
4. พรรคการเมือง กลุ่มอิทธิพลและประชามติ พิจารณา
บทบาท จุดประสงค์การจัดตั้งและผลของพรรคการเมือง
กลุ่มอิทธิ พล ประชามติ โดยเฉพาะความพยายามที่จะมี
อิทธิ พลต่อสถาบันทางการเมือง
5. รัฐประศาสนศาสตร์ ศึกษาเกี่ยวกับการจัดการกาลังคน
เงินและวัตถุ เพื่อให้เป็ นไปตามความต้องการของการ
ปกครองของรัฐ รวมถึงให้เป็ นไปตามอุดมคติและ
จุดประสงค์ของรัฐอย่างมีสมรรถภาพและได้ผลมากที่สุด
6. ความสั มพันธ์ ระหว่ างประเทศ ศึกษาด้านนโยบาย
หลักการและวิธีการในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ แขนงวิชา
กลุ่มนี้ คือ นโยบายต่างประเทศ การเมือง และการบริ หาร
ประเทศ องค์การระหว่างประเทศ กฎหมายระหว่าง
ประเทศ และงานทางการทูต
วิชารัฐศาสตร์ ในปัจจุบันพัฒนาจากวิชาหลาย
สาขา เช่ น ประวัติศาสตร์ ปรัชญา กฎหมาย
และเศรษฐศาสตร์ ฯลฯ
Rodee, Anderson และ Chriata
อธิ บายว่า วิชารัฐศาสตร์เป็ นศาสตร์ที่มุ่งศึกษาถึงการ
เปลี่ยนแปลงในปั จจุบนั ซึ่ งปั จจุบนั นี้วชิ านี้มีขอบเขต
เฉพาะอยู่ 9 สาขา คือ
1. ทฤษฎีรัฐศาสตร์ และหรื อปรัชญา
2. พรรคการเมือง มติมหาชน และกลุ่มอิทธิพล
รวมเรี ยกว่า “political dynamics”
3. กฎหมายสาธารณชน
4. การบริ หารรัฐกิจ
5. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
6. รัฐบาลอเมริ กนั
7. รัฐบาลเปรี ยบเทียบ
8. สภา และการออกกฎหมาย
9. รัฐบาลและธุรกิจ
ประวัติของวิชารัฐศาสตร์
สมัยกรีก การศึกษาในยุคนี ้ มีการศึกษาทังด้
้ าน
ปรัชญาและวิทยาศาสตร์ จะเน้ น
ความสาคัญของศีลธรรมจรรยา มุ่ง
เสาะหาสิ่งที่ดีที่สดุ มาให้ รัฐ (การศึกษา
รัฐศาสตร์ ในแนวอุดมคติ) นักรัฐศาสตร์
หรื อปราชญ์คนสาคัญในสมัยกรี กนี ้ได้ แก่
เพลโตและอริ สโตเติล
เพลโตได้ รับการยกย่องว่าเป็ น บิดาแห่งปรัชญา
การเมือง ผลงานที่ทรงคุณค่าทางปรัชญา
การเมืองในโลกตะวันตกคือหนังสือ The
Republic (อุดมรัฐ หรื อรัฐในอุดมคติ) โดยมี
แนวคิดเรื่ อง “ราชาปราชญ์”
แนวคิดของเพลโต เป็ นการศึกษาในแนวอุดมคติ
(ควรปกครองด้ วยผู้ฉลาด)เสนอหลักทางรัฐศาสตร์
เกี่ยวกับรูปแบบของรัฐที่ดีที่สดุ
อริสโตเติล ได้ รับการยกย่องว่าเป็ นบิดาแห่ งรั ฐศาสตร์ มี
ผลงานจานวนมากและไม่จากัดเฉพาะในวงรัฐศาสตร์ เท่านัน้
ผลงานทางรัฐศาสตร์ โดยตรงคือ Politics
แนวคิดอริสโตเติลได้ นาหลักการเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เข้ ามา
ใช้ ในการศึกษารัฐศาสตร์ โดยได้ พยายามเอาการเมืองในนคร
รัฐต่างๆ มาเปรี ยบเทียบกัน และพยายามหาจุดร่วมที่ดีที่สดุ
ของระบอบการเมืองเพื่อสร้ างระบอบการเมืองที่ดีที่สดุ (สรุป
เป็ นทฤษฎี) นักปราชญ์ที่ฉลาดไม่สามารถบริ หารงานได้ หาก
ไม่มีกฎหมาย(เป็ นอานาจสูงสุด)
ยุคโรมัน



มีศนู ย์กลางอยูท่ ี่นครรัฐโรม
เน้ นรูปแบบการศึกษากฎหมาย ให้ ความสาคัญเกี่ยวกับ
กฎหมายมาก เพราะจักรวรรดิโรมันมีอาณาเขตกว้ างขวาง
ประชาชนอาศัยอยูเ่ ป็ นจานวนมากซึง่ แตกต่างไปจากยุคกรี ก
โบราณ จึงสร้ างกฎหมายให้ เป็ นระเบียบการแบบกว้ างๆ ที่
ใช้ ได้ โดยทัว่ ไป
มีการรวบรวมกฎหมายหรื อประมวลกฎหมายโรมัน (code)
ของจักรพรรดิจสั ติเนียน (Justinian) อันเป็ นรากฐานของ
ประมวลกฎหมายในแถบภาคพื ้นทวีปยุโรปมาจนถึงทุกวันนี ้
ในช่วงยุคสมัยกลางของยุโรปหลังจากที่จกั รวรรดิของโรมได้ ลม่
สลายลง
 ยุโรปสมัยนันเป็
้ นยุคสมัยที่รัฐศาสตร์ ไม่ได้ รับความสนใจ ช่วง
นันจึ
้ งกลายเป็ นยุคสมัยที่ไม่มีรัฐหรื อเรี ยกอีกอย่างหนึง่ ว่ายุค
อนาธิปไตย (anarchy) วิชารัฐศาสตร์ ไม่มีความสาคัญ ให้
ความสาคัญกับศาสนศาสตร์
 รัฐถูกทาให้ ลดความสาคัญลง วิชารัฐศาสตร์ ได้ ถก
ู จัดให้ เป็ น
เพียงแขนงหรื อสาขาของวิชาเทววิทยา ดังนันเมื
้ ่อมีปัญหา
ทางด้ านการเมืองเกิดขึ ้น การแก้ ไขหรื อการหาทางออกก็จะใช้
วิธีการตัดสินโดยอาศัยผู้ร้ ูทางศาสนาคือ พระหรื อนักบวช
ยุคฟื น้ ฟู
การศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ความสนใจเกี่ยวกับการเมือง
และเรื่ องของรัฐได้ กลับมาเกิดใหม่อีกครัง้ ในยุคฟื น้ ฟู
นี ้หรื อที่เรี ยกยุดนี ้กันว่า renaissances ได้ เกิดความ
สนใจในการนาการเรี ยนรู้ในสมัยยุคกรี กและยุค
โรมันกลับมาฟื น้ ฟูอีกครัง้ หนึง่
 นักคิดคนสาคัญในยุคนี ้คือ มาเคียเวลลี่ นักปรัชญาชาว
อิตาลี เป็ นผู้ริเริ่ มในการแยกการเมืองออกจากศาสนา
 ให้ รัฐเป็ นส่วนรวมของความสามัคคีของคนในชาติ ความ
มัน่ คง และสิง่ ที่สาคัญที่สดุ คือ ผลประโยชน์แห่งชาติ
 ในยุคนี ้เกิดความสนใจที่จะแสวงหาคาอธิบายเกี่ยวกับ
เรื่ องการกาเนิดรัฐ
 ในยุคนี ้ได้ เกิดรัฐต่างๆ ขึ ้นมามากมาย และเกิดสงคราม
และความพยายามในการขยายดินแดน การเอารัดเอา
เปรี ยบ ซึง่ ในปลายของยุคนี ้นี่เอง ที่รัฐชาติตะวันตกมีการ
ล่าอาณานิคมกันเกิดขึ ้น
ยุคใหม่
นักรัฐศาสตร์ได้คน้ พบทฤษฎีใหม่ ๆ เป็ นยุคที่วิชา
รัฐศาสตร์มีแบบแผนของข้อมูลมากที่สุดเช่น การ
ค้นพบของ(นิวตัน) ผูค้ นพบทฤษฎีแรงโน้มถ่วงและ
เดส์การ์ต ผูเ้ ป็ นบิดาของการใช้เหตุผลและวิชา
ตรรกศาสตร์ ทั้ง 2 คนมีอิทธิพลต่อแนวการศึกษาวิชา
รัฐศาสตร์ เช่น แนวคิดการแบ่งสันอานาจ การ
ตรวจสอบถ่วงดุล ปรับปรุ ง เอาคณิ ตศาสตร์ และ
วิทยาศาสตร์มาใช้ในโครงสร้างรัฐบาล
 การศึกษาในยุคใหม่นี ้มุ่งให้ ความสนใจใน
ปรากฏการณ์ทางการเมืองที่เกิดขึ ้นจริง เน้ น
การศึกษาเชิงพฤติกรรม(behavioral)
 วิธีการศึกษารัฐศาสตร์ ยค
ุ ใหม่มกั จะไม่สนใจว่าอะไร
คือมาตรฐานของความดีหรื อความชัว่ และมักจะไม่
สนใจว่าสิง่ ใดเป็ นเกณฑ์ในการวัด “ความควร” หรื อ
“ความไม่ควร” ในทางการเมืองแต่จะให้ ความสนใจ
ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ ้นเป็ นกรณีๆ ไป
การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมก็ส่งผลต่อวิธีการศึกษา
รัฐศาสตร์เช่นกัน โดยการปฏิวตั ิทาให้เกิดระบอบทุน
นิยม ผลกระทบจากการพัฒนาทุนนิยมทาให้เกิดลัทธิ
มาร์กซิสต์ ซึ่งเป็ นการนาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมือง
เข้ามาใช้ในรัฐศาสตร์เป็ นครั้งแรก นอกจากนี้วิชา
ภูมิศาสตร์ในสมัยนี้ทาให้เกิดการศึกษาวิชาภูมิ
รัฐศาสตร์ เน้นศึกษาที่ภูมิศาสตร์การเมืองและ
เศรษฐกิจในเรื่ องอานาจ ทรัพยากรและความสามารถ
ของรัฐ
 ศตวรรษที่ 20 ได้มีการนาหลักการทาง
วิทยาศาสตร์เข้ามาใช้ในการศึกษารัฐศาสตร์ โดย
การสังเกต ตั้งสมมติฐาน สารวจและสรุ ป และ
ยืมหลักการวิชาจิตวิทยาและสังคมวิทยามาใช้ใน
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงปริ มาณมาประยุกต์ใน
การศึกษาวิชารัฐศาสตร์อีกด้วย
ยุคปัจจุบัน
 การศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ปัจจุบน
ั ให้ความสาคัญกับ
การศึกษาที่เรี ยกว่า “การศึกษาเชิงพฤติกรรม”
(behavioral approach) เป็ นการศึกษาพฤติกรรม
ทางการเมืองของคน หรื ออีกอย่างคือการศึกษาพลังทาง
สังคม การเมือง และเศรษฐกิจมากกว่าในรู ปแบบของ
องค์กร จะสนใจกระบวนการทางการเมืองหรื อระบบ
การเมือง มากกว่าการศึกษาโครงสร้างทางการเมือง
วิธีการศึกษาวิชารัฐศาสตร์
นักรัฐศาสตร์ในปั จจุบนั ได้คน้ พบทฤษฎีใหม่ ๆ เกี่ยวกับ
ความต้องการของมนุษย์ในสาขาวิชาอื่น ๆ เพื่อนามาใช้
ประกอบการศึกษาให้ทนั สมัยขึ้น เช่น การค้นพบของนิว
ตัน และ เดสคาร์ตีส ก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านฟิ สิ กส์
คณิ ตศาสตร์ และวิชารัฐศาสตร์
ทัศนคติทางวิทยาศาสตร์แบบใหม่ต่อการปกครอง ทาให้
เกิดการรวบรวมข้อเท็จจริ งด้วยการสังเกตพิจารณา และ
สังเกตสถาบันมนุษย์
การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมและการขัดแย้งระหว่างทฤษฎีเศรษฐกิจ
แบบคลาสสิ กและของมาร์กซิส ทาให้นกั รัฐศาสตร์ตอ้ งหา
ข้อเท็จจริ งทางเศรษฐกิจ ซึ่ งก่อให้เกิดปั ญหาทางการเมือง และ
ขณะเดียวกันก็เข้าใจพฤติกรรมทางการเมืองมากขึ้น
นอกจากนี้ นักรัฐศาสตร์กส็ นใจเรื่ องอิทธิ พลทางภูมิศาสตร์ที่
เกี่ยวข้องกับปรากฎณ์การทางการเมือง ทาให้เกิดสาขาเฉพาะ
คือ “ภูมิรัฐศาสตร์ ” มีประโยชน์ดา้ นความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศ
มนุษย์เป็ นสัตว์โลกที่มีความซับซ้อนมาก การที่จะ
อธิบายพฤติกรรมทางการเมืองของมนุษย์น้ นั ทาได้
ยาก นักเศรษฐศาสตร์กลุ่มคลาสสิ กถือว่ามนุษย์เป็ น
“มนุษย์เศรษฐกิจ” นักนิติศาสตร์อธิบายว่ามนุษย์
เป็ นผูม้ ีเหตุผลและเฉลียวฉลาด ส่ วนอริ สโตเติล
กล่าวว่า “มนุษย์เป็ นสัตว์การเมือง”
ความสั มพันธ์ ระหว่ างวิชารัฐศาสตร์ กบั สาขาวิชาอืน่
1. ความสัมพันธ์ระหว่างวิชารัฐศาสตร์กบั วิชา
ประวัติศาสตร์
- ประวัติศาสตร์ ให้หลักฐานเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ในอดีต ทาให้
นักรัฐศาสตร์เข้าใจแนวทางปรากฎการณ์ของรัฐ
- ประวัติศาสตร์ ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับสภาพของรัฐในอดีต
- จากข้อมูลในอดีตทาให้นกั รัฐศาสตร์สามารถใช้เป็ นฐานในการ
วิเคราะห์แนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
2. ความสั มพันธ์ ระหว่างวิชารัฐศาสตร์ และวิชาเศรษฐศาสตร์
วิชาเศรษฐศาสตร์ตอ้ งศึกษาเรื่ องการผลิต การใช้ทรัพยากร
และการบริ โภค จึงเกี่ยวข้องกับประชาชนและการ
ปกครอง จึงนาเอาวิชาเศรษฐศาสตร์มากาหนดนโยบาย
ทางการเมือง ซึ่ งเศรษฐกิจจะเกี่ยวข้องกับประชาชน
โดยตรง เพราะทุกคนต้องดารงชีวติ และมีการใช้จ่ายและ
แบ่งปั นผลผลิต จึงต้องมีการนาหลักเกณฑ์และข้อเท็จจริ ง
ต่าง ๆ ทางเศรษฐกิจมากาหนดนโยบายหรื อการกระทา
ทางการเมืองและการปกครอง
3. ความสั มพันธ์ ระหว่ างวิชารัฐศาสตร์ กบั วิชาภูมริ ัฐศาสตร์
 “ภูมิศาสตร์ ” เป็ นวิชาที่กล่าวถึงความสาคัญของรัฐ
เชิงภูมิศาสตร์ ที่มีผลกระทบต่อการเมืองการ
ปกครองของประเทศนั้น ๆ โดยสภาพทางภูมิศาสตร์
มีความสาคัญต่อการปกครองและการดาเนินนโยบาย
ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ซึ่งการที่จะเข้าใจ
ปัญหาการเมืองของรัฐใด ต้องศึกษาสภาพภูมิศาสตร์
ด้วย
4. ความเกีย่ วพันระหว่ างวิชารัฐศาสตร์ กบั สั งคมวิทยา
 “สังคมวิทยา” เป็ นวิชาที่ศึกษาถึงสังคมหรื อปั ญหา
ต่าง ๆ ของสังคม
 “มานุษยวิทยา” เป็ นแขนงวิชาหนึ่ งที่สม
ั พันธ์กบั
สังคมวิทยาเกี่ยวกับตัวมนุษย์และวิชารัฐศาสตร์ตอ้ ง
อาศัยเนื้อหาของวิชาดังกล่าว เพราะรัฐต้องเกีย่ วข้อง
กับสังคม ชุมชน และมนุษย์
5. ความสั มพันธ์ ระหว่ างวิชารัฐศาสตร์ กบั จิตวิทยา
 “จิตวิทยา” เป็ นวิชาที่ศึกษาถึงอารมณ์และจิตใจ
ของคน เพื่อเป็ นข้อมูลในการจูงใจให้ประพฤติ
ปฏิบตั ิในสิ่ งที่เป็ นประโยชน์ ซึ่งวิชานี้จะเป็ น
ประโยชน์ในการช่วยให้เกิดความเข้าใจที่
ถูกต้อง เพื่อเป็ นแนวทางในการกาหนดนโยบาย
การเมืองที่เหมาะสมต่อไป
6. ความสั มพันธ์ ระหว่ างวิชารัฐศาสตร์ กบั จริ ยธรรม
 “จริ ยธรรม” เป็ นคุณค่าที่มนุ ษย์ยอมรับและนาไปใช้
เพื่อให้เป็ นประโยชน์ต่อชุมชน โดยจูงใจให้คนทา
ความดี และทาสิ่ งที่เป็ นประโยชน์ต่อมนุษย์ ดังนั้น
รัฐศาสตร์ ต้องอาศัยจริ ยธรรม เพราะหากการ
ปกครองอยูใ่ นกรอบของจริ ยธรรมก็จะเป็ น
ประโยชน์ต่อมนุษยชาติโดยส่ วนรวมมากที่สุด
7. ความสั มพันธ์ ระหว่ างวิชารัฐศาสตร์ กบั นิติศาสตร์
 “นิ ติศาสตร์ ” เป็ นวิชาที่วา่ ด้วยกฎเกณฑ์ขอ
้ บังคับที่
ช่วยให้มนุษย์อยูร่ ่ วมกันอย่างมีระเบียบ ซึ่งถือว่า
กฎหมายเป็ นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้ประเทศคงอยูไ่ ด้
กฎหมายจึงเป็ นเครื่ องมือที่ช่วยส่ งเสริ มให้การเมือง
และรัฐดาเนินได้โดยปราศจากอุปสรรค ดังนั้นจึง
ต้องมีกฎหมายเพื่อใช้บงั คับในรัฐเสมอ
จบแล้ วค่ า