Transcript PowerPoint

บทที่ 9: ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ
ทางด้านรายจ่าย
รายได้ประชาชาติทางด้านรายจ่าย หรือ อุปสงค์รวมของประเทศ
(Aggregate Demand: AD)
AD = C + I + G + (X-M)
* รายจ่ายเพื่อการบริโภคของครัวเรือน (C)
* รายจ่ายเพื่อการลงทุนของธุรกิจเอกชน (I)
* รายจ่ายเพื่อการซื้อสินค้ าและบริการของรัฐบาล (G)
* รายได้ จากการส่งออกสุทธิ (X-M)
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C)
 คือ รายจ่ายเพื่อซื้อสินค้ าและบริการขั้นสุดท้ าย ซึ่งเป็ นรายจ่ายที่จ่ายโดย
เอกชน บุคคลธรรมดา สถาบันต่างๆที่ไม่แสวงหากาไร
 รายจ่ายเพื่อการบริโภคของครัวเรือนสามารถจาแนกได้ เป็ น
 รายจ่ายเพื่อซื้อสินค้ าถาวร เช่น รถยนต์ ตู้เย็น
 รายจ่ายเพื่อซื้อสินค้ าไม่ถาวร
 รายจ่ายสินค้ าบริการ
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C) (ต่อ)
ปั จจัยที่กำหนดรำยจ่ ำยเพือ่ กำรบริโภค (C)
 รายได้ สท
ุ ธิส่วนบุคคล (Yd)
 สินทรัพย์ของผู้บริโภค
 ระดับราคาสินค้ า
 สินเชื่อผู้บริโภค
 การคาดคะเนราคาสินค้ าในอนาคต
 สินค้ าถาวรที่ผ้ ูบริโภคมีอยู่
 รสนิยมของผู้บริโภค
 การกระจายอายุของประชากร
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C) (ต่อ)
ฟังก์ชนั ่ กำรบริโภค (Consumption Function) คือ ความสัมพันธ์
ระหว่างรายจ่ายเพื่อการบริโภค (C) กับปัจจัยที่มผี ลต่อการบริโภค
C = fn (Yd, ……..)
ถ้ำกำหนดให้รำยได้สุทธิของผูบ้ ริโภคเป็ นปั จจัยหลักที่กำหนดกำรบริโภค
C = fn (Yd)
เมื่อ C : รายจ่ายเพื่อการบริโภค
Yd : รายได้ สทุ ธิของผู้บริโภค
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C) (ต่อ)
กำรบริโภคของครัวเรือน = กำรบริโภคที่ไม่ขึ้นอยู่กบั รำยได้ + กำรบริโภคที่ขึ้นอยู่กบั
รำยได้
(การบริโภคขั้นต่าเพื่อการดารงชีพ)
C = Ca + Ci
C = Ca + b.Yd
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C) (ต่อ)
สมกำรกำรบริโภค (Consumption Equation)
C = Ca + Ci
เมื่อ
Ci = การบริโภคโดยจูงใจ เป็ นการบริโภคที่ข้ นึ กับรายได้ = b.Yd
Ca = การบริโภคอิสระเมื่อ Yd = 0
b = สัดส่วนการบริโภคเมื่อรายได้ เปลี่ยนไป 1หน่วย = ∆C/∆Yd
C = Ca + b.Yd
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C) (ต่อ)
เราสามารถเขียนสมการการบริโภคให้ อยู่ในรูปของรายได้ ประชาชาติ (Y) จากความรู้
ที่ว่า:Yd = Y - T
ดังนั้น
C = Ca + (1-t)bY
เมื่อ Yd = รายได้ สทุ ธิส่วนบุคคล = (1-t)Y
Y = รายได้ ประชาชาติ
T = ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา = tY
t = tax rate
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C) (ต่อ)
กราฟการบริโภคที่ไม่ข้ นึ กับรายได้ ประชาชาติ (Ca)
C
Ca
0
Ca
Y
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C) (ต่อ)
กราฟการบริโภคที่ข้ นึ กับรายได้ ประชาชาติ (Ci)
C
Ci= (1-t)bY
0
Y
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C) (ต่อ)
กราฟการบริโภคทั้งหมด (C)
C
C = Ca + (1-t)bY
Ci
Ca
0
Y
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C) (ต่อ)
Ex. การกระตุ้นการบริโภคของประชาชนสามารถทาได้ โดยการปรับอัตราภาษี (ปรับ
t) และ/หรือโดยการปรับสัดส่วนการบริโภค (ปรับ b)
ถ้ า t=40%, b=80% : C=Ca+0.48Y
ถ้ า t=20%, b=80% : C=Ca+0.64Y
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C) (ต่อ)
กำรเปลีย่ นแปลงของรำยจ่ ำยเพือ่ กำรบริโภค
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงในปัจจัยที่เป็ นตัวกาหนดการ
บริโภค ในขณะที่รายได้ ของผู้บริโภค (Y) ยังคงเดิม กรณีเช่นนี้จะทาให้ เส้ นการ
บริโภคเคลื่อนย้ ายจากเส้ นเดิมทั้งเส้ น ปัจจัยดังกล่าวอาจเกิดจากค่าครองชีพสูงขึ้น
C
C2
C1
0
Y
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C) (ต่อ)
สมกำรกำรออม (Saving Equation)
รายรับทีค่ รัวเรือนสามารถเอาไปใช้ จ่ายได้ จริง (Yd)
รายจ่ ายของครัวเรือน (C)
เงินทีอ่ อมไว้ ใช้ ในอนาคต (S)
เงินที่ออมไว้ ใช้ ในอนาคต= รายรับที่ครัวเรือนสามารถเอาไปใช้ จ่ายได้ จริง – รายจ่ายของครัวเรือน
S = Yd - C
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C) (ต่อ)
สมกำรกำรออม (Saving Equation)
รายได้ สทุ ธิส่วนบุคคลแบ่งได้ 2 ส่วน คือ การบริโภค (C) และการออม (S)
ดังนั้น สมการการออม
S = Yd - C
S = -Ca + (1-b)Yd
สมการการออมที่ข้ นึ กับรายได้ ประชาชาติ
S = - Ca + (1-b)(1-t)Y
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C) (ต่อ)
กรำฟกำรออมที่ขึ้นกับรำยได้ประชำชำติ
S
S
0
-Ca
Y0
Y
Break even income
ระดับรายได้เสมอตัว
รายได้ = รายจ่าย, การออม = 0
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C) (ต่อ)
ควำมโน้มเอียงแบ่งได้ 2 ชนิด คือ
1. ควำมโน้มเอียงเฉลีย่ (Average Propensity)
-ความโน้ มเอียงเฉลี่ยเพื่อการบริโภค (Average Propensity to consume : APC)
- ความโน้ มเอียงเฉลี่ยเพื่อการออม (Average Propensity to Save : APS)
2. ควำมโน้มเอียงหน่วยสุดท้ำย (Marginal
Propensity)
-ความโน้ มเอียงหน่วยสุดท้ ายของการบริโภค (Marginal Propensity to consume : MPC)
- ความโน้ มเอียงหน่วยสุดท้ ายของการออม (The Marginal Propensity to Save : MPS)
หมายเหตุ: การศึกษาความโน้ มเอียงให้ สมมติว่าอัตราภาษี t = 0, ดังนั้น Yd = Y
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C) (ต่อ)
1. ควำมโน้มเอียงเฉลีย่ (Average Propensity)
 APC : ความโน้ มเอียงเพื่อการบริโภค คือ อัตราส่วนของรายจ่ายเพื่อการบริโภค
ต่อระดับรายได้
APC = C / Yd
กรณีท่ภี าษีท่รี ัฐจัดเก็บเป็ นศูนย์ Yd = Y ดังนั้น
APC = C / Y
บุคคลอาจใช้ จ่ายอุปโภคบริโภคเกินกว่าเท่ากับหรือน้ อยกว่ารายได้ ท่ไี ด้ รับในงวดที่มี
การใช้ จ่าย กล่าวคือ APC อาจจะมากกว่า น้ อยกว่า หรือเท่ากับ 1 ก็ได้
ถ้ า C > Y แล้ ว S < 0 : APC > 1
ถ้ า C = Y แล้ ว S = 0 : APC = 1
ถ้ า C < Y แล้ ว S > 0 : APC < 1
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C) (ต่อ)
 APS : ความโน้ มเอียงเฉลี่ยเพื่อการออม คือ อัตราส่วนของการออมต่อรายได้
APS = S / Yd
กรณีท่ภี าษีท่รี ัฐบาลจัดเก็บจากประชาชนเท่ากับศูนย์
APS = S / Y
ค่า APS อาจจะมากกว่า น้ อยกว่า หรือเท่ากับศูนย์กไ็ ด้
ถ้ า C > Y แล้ ว S < 0: APS < 0
ถ้ า C = Y แล้ ว S = 0 : APS = 0
ถ้ า C < y แล้ ว S > 0 : APS > 0
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C) (ต่อ)
2. ควำมโน้มเอียงหน่วยสุดท้ำย (Marginal
Propensity)
 MPC : ความโน้ มเอียงการบริโภคหน่วยสุดท้ าย คือ อัตราส่วนของการ
เปลี่ยนแปลงรายจ่ายเพื่อการบริโภคต่อการเปลี่ยนแปลงของรายได้
MPC =
∆C / ∆Y
ค่า 0 < MPC < 1 เสมอ
ในระยะยาว ค่า MPC จะมีค่าลดลงเมื่อรายได้ เพิ่มขึ้น
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C) (ต่อ)
 MPS : ความโน้ มเอียงหน่วยสุดท้ ายของการออม คือ อัตราส่วนของการ
เปลี่ยนแปลงของการออม ต่อ การเปลี่ยนแปลงของรายได้
MPS = ∆S / ∆Y
ค่า 0 < MPS < 1 เสมอ
ค่า MPS จะเพิ่มขึ้น เมื่อรายได้ สงู ขึ้น
 MPS = (1-b) ในสมการการออม
 MPC = b
 MPS = 1 - MPC ดังนั้น MPS + MPC = 1 เสมอ
รายจ่ายเพือ่ การบริโภคของครัวเรือน (C) (ต่อ)
กรำฟกำรออมที่ขึ้นกับรำยได้ประชำชำติ
S
S>0, C<Y, APC<1
S
S<0, C>Y, APC>1
0
-Ca
Y0
Y
Break even income
S=0, C=Y, APC=1
รายจ่ายเพือ่ การลงทุนของธุรกิจเอกชน (I)
Investment (I) ประกอบด้ วย
1. รายจ่ายเพื่อการก่อสร้ าง
2. รายจ่ายเพื่อซื้อสินค้ าทุน
3. ส่วนเปลี่ยนแปลงสินค้ าคงเหลือ
รายจ่ายเพื่อการลงทุนทั้ง 3 รายการข้ างต้ นเราสามารถเรียกว่า กำรลงทุนรวม
(Gross Investment)
รายจ่ายเพื่อการก่อสร้ างรวมกับรายจ่ายเพื่อซื้อสินค้ าทุน เราสามารถเรียกว่า กำ
สะสมทุนของประเทศ (Gross Fixed Capital Formation)
รายจ่ายเพือ่ การลงทุนของธุรกิจเอกชน (I) (ต่อ)
กำรลงทุนรวม = กำรลงทุนสุทธิ + กำรลงทุนเพือ่ ทดแทนหรือค่ำเสือ่ มรำคำ
Or
Ig = Ni + Depreciation
รายจ่ายเพือ่ การลงทุนของธุรกิจเอกชน (I) (ต่อ)
ปั จจัยทีก่ ำหนดกำรลงทุน
 ระดับรายได้ ประชาชาติ (Y)
 อัตราดอกเบี้ย
 ความเจริญก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยี
 นโยบายของรัฐบาล
 อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (Rate of Return or Investment) หรือ
ประสิทธิภาพของการลงทุนหน่วยสุดท้ าย (The Marginal Efficiency of
Investment : MEI หรือ MEC)
 การคาดคะเนราคาสินค้ าในอนาคต
รายจ่ายเพือ่ การลงทุนของธุรกิจเอกชน (I) (ต่อ)
รำยได้ประชำชำติมีผลต่อกำรลงทุนของเอกชนอย่ำงไร?
รายได้ ประชาชาติเพิ่ม (Y )
การใช้ จ่ายเพื่อบริโภคเพิ่ม (C )
ธุรกิจขยายตัว การลงทุนเพิ่มขึ้น (I )
การจ้ างงานเพิ่ม (Unemployment Rate )
รายได้ ประชาชาติเพิ่ม ประชาชนมีรายได้ เพิ่มขึ้น (Y )
รายจ่ายเพือ่ การลงทุนของธุรกิจเอกชน (I) (ต่อ)
ฟังก์ชนั กำรลงทุน (Investment Function)
แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่กาหนดการลงทุนและรายจ่ายเพื่อการลงทุน
I = fn (Y, ………….)
I = ปริมาณการลงทุน
Y = รายได้ ประชาชาติ
ถ้ ากาหนดให้ ส่งิ อื่นคงที่เราจะถือว่ารายได้ ประชาชาติเป็ นปัจจัยที่มคี วามสาคัญที่สดุ ต่อ
การลงทุน ดังนั้นรายได้ จึงเป็ นตัวกาหนดการลงทุนโดยตรง
รายจ่ายเพือ่ การลงทุนของธุรกิจเอกชน (I) (ต่อ)
ถ้ ากาหนดให้ ส่งิ อื่นคงที่เราจะถือว่ารายได้ ประชาชาติเป็ นปัจจัยที่มคี วามสาคัญที่สดุ ต่อ
การลงทุน ดังนั้นรายได้ จงึ เป็ นตัวกาหนดการลงทุนโดยตรง
I = fn (Y)
รายจ่ายเพือ่ การลงทุนของธุรกิจเอกชน (I) (ต่อ)
กำรลงทุน = กำรลงทุนส่วนทีไ่ ม่ขึ้นกับรำยได้ฯ + กำรลงทุนส่วนทีข่ ึ้ นกับรำยได้ฯ
(เป็ นการใช้ จ่ายในสิ่งที่จาเป็ นใน
แผนการดาเนินงานของผู้ผลิต)
I = Ia +Ii
I = Ia +i.Y
รายจ่ายเพือ่ การลงทุนของธุรกิจเอกชน (I) (ต่อ)
ดังนั้นเราเขียนสมการการลงทุนได้ ดงั นี้
I = Ia + Ii
I = Ia + i.Y
รายจ่ายเพือ่ การลงทุนของธุรกิจเอกชน (I) (ต่อ)
ความสัมพันธ์ระหว่างการลงทุนกับรายได้ ประชาชาติ แบ่งได้ 2 ชนิด
1. กำรลงทุนโดยอิสระ (Autonomous investment : Ia)
คือ การลงทุนที่ไม่ข้ นึ กับรายได้ ประชาชาติ เป็ นการลงทุนตามแผนธุรกิจหรือ
เป้ าหมายที่วางไว้ ล่วงหน้ า
I
100
Ia
0
Y
กราฟการลงทุนโดยอิสระ
รายจ่ายเพือ่ การลงทุนของธุรกิจเอกชน (I) (ต่อ)
2. กำรลงทุนโดยจู งใจ (Induced Investment : Ii)
คือ การลงทุนที่ผนั แปรไปในทิศทางเดียวกับรายได้ ประชาชาติ
I = fn (Y)
Ii = iY
เมื่อ i คือ ความโน้ มเอียงหน่วยสุดท้ ายของการลงทุน = MPI = ∆I/ ∆Y
I
0
Ii = i.Y
Y
กราฟการลงทุนโดยจูงใจ
รายจ่ายเพือ่ การลงทุนของธุรกิจเอกชน (I) (ต่อ)
การลงทุนรวม
I
I = Ia + Ii
I = Ia + i.Y
I = Ia + i.Y
0
Y
กราฟการลงทุนรวม
รายจ่ายเพือ่ การลงทุนของธุรกิจเอกชน (I) (ต่อ)
กำรกำหนดปริมำณลงทุนของหน่วยธุรกิจ
ขึ้นอยู่กบั ผลตอบแทนจากการลงทุน (MEI) และต้ นทุนของเงินลงทุน (อัตรา
ดอกเบี้ย : r)
r ,MEI (%)
15
10
0
A
r’
B
M1 M1+M2
r1 : อุปทานของการลงทุน
MEI : อุปสงค์ของการลงทุน
I (ปริ มาณการลงทุน : mil Bt)
รายจ่ายเพือ่ ซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาล (G)
G คือ เป็ นรายจ่ายของรัฐบาล และองค์กรต่างๆของรัฐ
G ประกอบด้ วย
 รายจ่ายประเภทเงินเดือน ค่าจ้ าง ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าล่วงเวลา
 รายจ่ายในการซื้อสินค้ าจากภาคธุรกิจ
 รายจ่ายในการลงทุนของรัฐบาล
 รายจ่ายในการป้ องกันประเทศ
รายจ่ายประเภทประเภทเงินโอน เช่น เงินสงเคราะห์ต่างๆ ไม่นับเป็ นรายจ่ายเพื่อซื้อสินค้ า
ของรัฐบาล
รายจ่ายเพือ่ ซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาล (G) (ต่อ)
เป็ นรายจ่ายอิสระที่ไม่ข้ นึ กับรายได้ ประชาชาติ เป็ นรายจ่ายที่ข้ นึ กับแผนการใช้ จ่ายของ
รัฐบาล
G
Ga
0
Y
รายจ่ายเพือ่ ซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาล (G) (ต่อ)
การใช้ จ่ายของรัฐบาลมีความสาคัญมากต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจชาติ
รัฐบาลเพิ่มการใช้ จ่าย (G )
ธุรกิจขยายตัว การผลิตเพิ่มขึ้น การลงทุนเพิ่มขึ้น (I )
การจ้ างงานเพิ่ม (Unemployment Rate )
รายได้ ประชาชาติเพิ่ม ประชาชนมีรายได้ เพิ่มขึ้น (Y )
รายได้สทุ ธิ จากการส่งออก (Net Export : X-M)
รายได้ สทุ ธิจากการส่งออก คือ รายได้ จากการส่งออก หัก รายจ่ายในการนาเข้ า
1. รำยได้จำกกำรส่งออก (X) :
เป็ นตัวแปรอิสระที่ไม่ข้ นึ กับรายได้ ประชาชาติของประเทศผู้ส่งออก
ปั จจัยที่กำหนดรำยได้จำกกำรส่งออกประกอบด้วย
 อุปสงค์ท่ชี าวต่างประเทศมีต่อสินค้ าของประเทศผู้ส่งออก (ขึ้นอยู่กบ
ั รายได้
ประชาชาติของประเทศผู้นาเข้ า Y*)
 ราคาสินค้ าที่ส่งออก (ขึ้นกับต้ นทุนการผลิตของประเทศผู้ส่งออก)
 อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ
รายได้สทุ ธิ จากการส่งออก (Net Export : X-M) (ต่อ)
X
X
0
Y
กราฟรายได้ การส่ งออก
รายได้สทุ ธิ จากการส่งออก (Net Export : X-M)
(ต่อ)
2. รำยจ่ ำยจำกกำรนำเข้ำ (M) :
รายจ่ายในการนาเข้ าในรอบระยะเวลาหนึ่งๆ จะสูงหรือต่าขึ้นกับปัจจัยต่อไปนี้
 รายได้ ประชาชาติของประเทศผู้นาเข้ า (Y)
 รสนิยมของประชาชนในประเทศผู้นาเข้ า
 อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
ดังนั้น
M = fn (Y, ……)
รายได้สทุ ธิ จากการส่งออก (Net Export : X-M)
(ต่อ)
ปัจจัยที่มอี ทิ ธิพลต่อรายจ่ายในการนาเข้ ามากที่สดุ คือ รายได้ ประชาชาติของประเทศผู้
นาเข้ า (Y) ดังนั้นกาหนดให้ ปัจจัยอื่นๆคงที่ เราสามารถเขียนสมการการนาเข้ าที่มี
ความสัมพันธ์กบั รายได้ ประชาชาติของประเทศผู้นาเข้ าได้ ดงั นี้
M = fn (Y)
รายได้สทุ ธิ จากการส่งออก (Net Export : X-M)
(ต่อ)
กำรนำเข้ำ = กำรนำเข้ำทีไ่ ม่ขึ้นกับรำยได้ + กำรนำเข้ำทีข่ ึ้ นกับรำยได้
(เป็ นการนาเข้ าสินค้ าจาเป็ นที่ผ้ ูนาเข้ า
ผลิตเองในประเทศไม่ได้ เช่น ยารักษาโรค
อุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ เป็ นต้ น)
M = Ma + Mi
M = Ma + m.Y
รายได้สทุ ธิ จากการส่งออก (Net Export : X-M)
(ต่อ)
สมการการนาเข้ า
M = Ma + Mi
M = Ma + m.Y
โดยที่
Ma = รายจ่ายในการนาเข้ าอิสระ
Mi = รายจ่ายในการนาเข้ าโดยจูงใจ (ขึ้นอยู่กบั Y)
รายได้สทุ ธิ จากการส่งออก (Net Export : X-M)
(ต่อ)
รายจ่ายในการนาเข้ าโดยจูงใจ (Mi) ไม่ข้ นึ กับรายได้ ประชาชาติ
M
Ma
0
Y
รายได้สทุ ธิ จากการส่งออก (Net Export : X-M)
(ต่อ)
รายจ่ายในการนาเข้ าอิสระ (Ma) ขึ้นกับรายได้ ประชาชาติ
M
Mi = m.Y
0
Y
รายได้สทุ ธิ จากการส่งออก (Net Export : X-M)
(ต่อ)
รายจ่ายในการนาเข้ า M = Ma + Mi = Ma + m.Y
M
M = Ma + mY
Mi
Ma
0
Y
รายได้สทุ ธิ จากการส่งออก (Net Export : X-M)
(ต่อ)
สรุปควำมสัมพันธ์ระหว่ำงส่วนประกอบรำยได้ประชำชำติ
C + I + G + (X-M) = AD = รำยได้ประชำชำติ หรือ อุปสงค์รวมของ
ประเทศ
AD
AD = C+ I + G + (X-M)
Ca + Ia + Ga + Xa - Ma
0
Y