ch6 - UTCC e

Download Report

Transcript ch6 - UTCC e

บทที่ 6 การบริโภค การ
ออม การลงทุน
 การบริโภค
 การออม
 การลงทุน
1
การบริโภคและการออม
่ าหนดการบริโภคและการออม
ปั จจัยทีก
่ ้จ่ายได ้ (Disposable Income)
1. รายได ้ทีใช
2. สินทร ัพย ์ของผูบริ
้ โภค
่ บ้ ริโภคมีอยู่
3. สินค ้าคงทนทีผู
4. การคาดการณ์ของผูบริ
้ โภค
่ อการบริ
่
5. สินเชือเพื
โภคและอัตราดอกเบีย้
6. ค่านิ ยมทางสังคม (Social Value)
่
7. อัตราเพิมของประชากรและโครงสร
้างอายุของ
2
ความหมายของ
การบริโภค
้ นค้า
 หมายถึง รายจ่ายของคร ัวเรือนในการซือสิ
อุปโภคบริโภค
ในรอบหนึ่ งปี
 เป็ นองค ์ประกอบใหญ่ทสุ
ี่ ดในรายจ่ายประชาชาติของ
ไทย(เกินกว่า 50 %)
3
่ั
ฟั งก ์ชนการบริ
โภค
่ าคญ
่
่ ด function)

ปั จจัยทีส
ั ทีสุ
คือ ระดบ
ั รายได้ (สมมติให้ปัจจัยอืน
(consumption
คงที)่
้
้
การบริโภคขึนอยู
่กบ
ั ระดับรายได้เท่านัน
C = f (Yd)
 C และ Yd มีความสัมพันธ ์ในทิศทางเดียวกน
ั
Yd  C
หรือ
Yd  C
โดยที่
Yd = รายได้สุทธิทบุ
ี่ คคลได้ร ับ
(disposable income)
คือ รายได้หลังหักภาษีหรือรายได้
่ จา
ทีใช้
่ ยได้จริง
Yd
=
Y–T
4
ตัวอย่าง
ระดับรายได้สว
่ น
บุคคล
Yd
0
100
200
300
400
500
600
700
การบริโภค
C
การออม
S
100
175
250
325
400
475
550
625
-100
-75
-50
-25
0
25
50
75
5
สมการการ
บริโภค
่ นเส ้นตรง คือ
*สมการการบริโภคทีเป็
C = a + bYd
้
* โดยที่
C = ค่าใช ้จ่ายในการบริโภคทังหมด
่
a = ค่าคงที่ มีจานวนเท่ากับค่าใช ้จ่ายในการบริโภค เมือ
รายได ้(Yd) =0
เรียกว่าการบริโภคอิสระ (autonomous
consumption)
่ ขนอยู
หรือการบริโภคทีไม่
ึ้
ก
่ บ
ั รายได ้
b = C = MPC = ความชัน (slope) ของ
เส ้นการบริโภค
Yd
่
่
หมายถึงเมือรายได
้เปลียนไป
1 หน่ วย ทาให ้ค่าใช ้จ่6าย
จากตัวอย่างในตาราง จงหาสมการ
bYd
C = a+
หาค่า a
่
เมือรายได
้เป็ นศูนย ์ รายจ่ายในการบริโภค = 100 บาท
่
นั่นคือเมือ
Yd = 0 ; C =100
ดังนั้น
a = 100 ……………….
หาค่า b
่
เมือ
Yd1 = 100 ;
C1 = 175
Yd2 = 200 ;
C2 = 250
ดังนั้น b = C / Yd = C2 – C1 / Y2 –
Y1
= 250-175 / 200-100
b=
7
0.75……………….
เส้นการ
บริโภค
จุดB ที่ Yd =
700
Yd = 600
จาก C=
จาก C=
100+0.75Yd
100+0.75Yd
แทนค่า Yd =
แทนค่า Yd =
700
600
= 100
100+0.75
+ Yd
C = 100 + 0.75 CC =
0.75 X 700
X 600 B
C = 100 +
C = 100 + 450
A
 C = 75 525 = 625
= 550
จุดA สมมติท ี่
C
625
550
E
400
 Yd = 100
100
O
400
จุดEที่ Yd
= 400
C =
400
Yd = C
เรียก จุด
เสมอตัว
600
700
Y
ได้เส้น C มี
ความช ันเป็ น
บวก
8
การ
ออม
• หมายถึง รายได ้ทีเ่ หลือจากการบริโภค
ั การออม คือ S = f (Yd)
• ฟั งก์ชน
ั พันธ์กบ
• การออมมีความสม
ั Yd ใน
ทิศทางเดียวกัน
Yd  S
Yd  S
9
การ
ออม
• สมการการออม
• โดยที่
S = -a + (1-b)Yd
a = ค่าคงที่ คือการออม ณ ระดับรายได ้เป็ นศูนย์(การ
ออมเป็ นลบ)
ั (slope) ของเสน้ S
(1–b) = MPS = S = ค่าความชน
Yd
คือเมือ
่ รายได ้เปลีย
่ นไป 1 หน่วย จะทาให ้การออม
เปลีย
่ นไปจากเดิมเท่าใด
•
ตัวอย่าง
จากสมการ C = 100 + 0.75 Yd
10
•เส้นการออม
S
S เป็ น
+
S เป็ น
-
S= -100+0.25Yd
0
400
-100
Y
S=0
Y=400=C
11
่
ความโน้มเอียงในการบริโภคเฉลียและความโน้
มเอียงใน
่
การออมเฉลีย
่
ความโน้มเอียงในการบริโภคเฉลีย (The Average
Propensity to Consume: APC)
่
หมายถึง อัตราส่Cวนของการใช ้จ่ายเพือการบริ
โภคต่อระดับรายได ้
่ ระดับรายได ้ 600 บาท มีการบริโภค 550 บาท
Ydอมี
ตัวอย่าง
เมื
APC =
ค่า APC = 550 / 600 = 0.92
……………………
หมายความว่า รายได ้ 1 ส่วน จะใช ้บริโภคเท่ากับ 0.92
ส่ความโน้
วน
่ (Average Propensity to
มเอียงในการออมเฉลีย
Save: APS)
่ อรายได ้ 1 หน่ วย
หมายถึง จานวนการออมโดยเฉลียต่
้
่ อยู่ จะแบ่งไปเก็บออมเป็ นสัดส่วนเท่าใด
กล่าวคือรายได ้ทังหมดที
มี
APS = S
……………………
12
Yd
่
หน่ วยสุดท้าย
และความโน้มเอียงในการออม
หน่ วยสุดท้าย
ความโน้มเอียงในการบริโภคหน่ วยสุดท้าย (The Marginal
Propensity to Consume: MPC)
่ ยนแปลงไปอั
่
่
หมายถึง การบริโภคทีเปลี
นเนื่ องจากรายได ้เปลียนแปลง
ไป 1 หน่ วย
MPC =
C
……………………
Yd
่
่ นจาก
้
เช่น เมือรายได
้เพิมขึ
500 บาท เป็ น 600 บาท
่
่ นจาก
้
ค่าใช ้จ่ายเพือการบริ
โภคจะเพิมขึ
475 บาท เป็ น 550
บาท
ค่า MPC = (550 – 475) / (600 – 500 ) = 0.75
13
หน่ วยสุดท้าย
และความโน้มเอียงในการออม
หน่ วยสุดท้าย
ความโน้มเอียงในการออมหน่ วยสุดท้าย (Marginal
Propensity to Save: MPS)
่ ยนแปลงไปอั
่
หมายถึง การออมทีเปลี
นเนื่ องมาจากรายได ้
่
เปลียนแปลงไป
1S หน่ วย ……………………
 Yd
่ MPS
เชน
เมือ
่ รายได
่ ขึน
้ จาก 500 บาท เป็ น 600 บาท
= ้เพิม
การออมจะเพิม
่ ขึน
้ จาก 25 บาท เป็ น 50 บาท
ค่า MPS = (50 – 25) / (600 – 500 ) = 0.25
หมายความว่า เมือ
่ รายได ้เพิม
่ ขึน
้ 1 หน่วย การออมจะ
เพิม
่ ขึน
้ 0.25 หน่วย
14
ตัวอย่าง
Yd
0
100
200
300
400
500
600
700
C
100
175
250
325
400
475
550
625
S
-100
-75
-50
-25
0
25
50
75
APC MPC
APS
MPS
1.75
1.25
1.08
1
0.95
0.92
0.89
-0.75
-0.25
-0.08
0
0.05
0.08
0.11
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
0.75
0.75
0.75
0.75
0.75
0.75
0.75
0.75
15
ความสัมพันธ ์ของ APC APS MPC
MPS
่
1. เมือรายได
้มากขึน้ จะมีสด
ั ส่วนการบริโภคต่อ
รายได ้ลดลง
่ Yd มากขึน้ จะทาให ้ APC ลดลง
นั่นคือเมือ
่
2. เมือรายได
้มากขึน้ จะมีสด
ั ส่วนการออมต่อ
รายได ้สูงขึน้
่ Yd มากขึน้ จะทาให ้ APS สูงขึน้
นั่นคือเมือ
3. APC + APS = 1
4. MPC + MPS = 1
5. กรณี สมการการบริโภคและการออมเป็ นเส ้นตรง
16
การ
หมายถึง การลงทุนหรือค่าใช ้จ่า ยใน
ลงทุน
ก
า
ร
ล
ง
ทุ
น
ในรอบระยะเวลาใดเวลาหนึ่ ง เพื่อ
่ ่
จัดหาสินค า้ ทุนถาวรใหม่ เช่น ทีอยู
่ อ เครืองจั
่ กร
อาศัย โรงงาน เครืองมื
และอุปกรณ์การผลิตใหม่ เป็ นต ้น
17
่ าหนดการลงทุน
• ปั จจ ัยทีก
1. ระดับรายได ้ประชาชาติ
2. ความก ้าวหน ้าทางวิทยาการผลิต
ิ ค ้าทุน และค่าบารุงรักษา
3. ราคาสน
ิ ค ้าทุนทีม
4. ปริมาณสน
่ อ
ี ยู่
5. อัตราดอกเบีย
้
6. กาไรทีค
่ าดว่าจะได ้รับ
7. นโยบายรัฐบาลและเสถียรภาพทางการเมือง
18
ประเภทของการ
1. การลงทุ
ลงทุ
น นแบบอิสระ
การลงทุน
(autonomous
investment)
*หมายถึง การลงทุนของ
ภาคเอกชน
่ ขนกั
ทีไม่
ึ้ บ
รายได ้
*อาทิ
ลงทุนตาม
นโยบาย
ลงทุนตาม
เทคโนโลยี
* ตัวอย่าง การลงทุนใน
Ia
0
I = Ia
รายได้
19
2. การลงทุนแบบจู งใจ (induced investment)
่ นอยู
้
*หมายถึง การลงทุนทีขึ
ก
่ บ
ั รายได ้ประชาชาติ และมี
่ รายได ้เพิมขึ
่ น้ การลงทุน
ความสัมพันธ ์ในทิศทางเดียวกันคือ เมือมี
่ น้ หรือถ ้ารายได ้ลดลง การลงทุนก็จะลดลง
จะเพิมขึ
*ฟั งก ์ช ันการลงทุนแบบจู งใจ
การลงทุน
I = Ii = i Y …….
โดย
Ii
i = ความโน้มเอียงในการลงทุน
หน่ วยสุดท ้าย
(Marginal Propensity to
invest: MPI)
= I /Y
่
่ น้ 1
คื
อ
เมื
อรายได
้เพิ
มขึ
0
รายได้ประชาชาติ
บาท
20
่ นกี
้ ่
จะมีการลงทุนเพิมขึ
่ั
ฟั งก ์ชนการลงทุ
นรวมและเส้น
่ั
ฟั
งก
์ช
นการ
การลงทุนรวม
ลงทุนรวม
การลงทุน
D
H
C
E
I I==IaI ++IiI
a
IiI
i
IaI
0
F
A
i
I = Ia + Ii
I = Ia +
iY
เส้นการลงทุนรวม
a
รายได้ประชาชาติ
หาได ้โดยรวมการลงทุน
แบบอิสระ
และการลงทุนแบบจูงใจ
ณ ระดับรายได ้เดียวกัน
เข ้าด ้วยกัน
21
การลงทุนอิสระ การลงทุนแบบจูงใจ และการลงทุนรวมทีร่ ะด ับรายได้ตา่ งๆ
รายได้ประชาชาติ
(หน่วย : ล้านบาท)
Y
Ia
Ii = i.Y
I = Ia+ i.Y
I
0
–
20
0
20
–
100
100
20
20
40
20
200
100
20
40
60
20
300
100
20
60
80
20
400
100
20
80
100
20
I
การลงทุนอิสระเท่ากับ 20 ล ้านบาทและ MPI =
=
Y
20
100

1
5
จะได ้สมการการลงทุนคือ
หรือ
I
I
= 20 + 1/5 Y
= 20 + 0.2 Y
22
การลงทุน
I=Ia+ iY=20+1/5 Y
Ii
40
20
0
Ia
รายได้ประชาชาติ
100
200 300 400
23