ข้อคิดก่อนการวางแผนเพื่อการเกษียณ ระยะเวลาแห่งช่วงชีวิต (Longevity )

Download Report

Transcript ข้อคิดก่อนการวางแผนเพื่อการเกษียณ ระยะเวลาแห่งช่วงชีวิต (Longevity )

งาน
บ้ าน
หลักประกัน
ของชีวติ
ครอบครัว
เงิน
สั ง คมปั จ จุ บั น มี ค วามเปลี่ ย นแปลงอยู่ ต ลอดเวลา คนท างาน
นอกจากมีงานทา มีเงินเดือนประจาแล้ ว ยังต้ องมองหาตัวช่ วยใหม่ เพื่อมา
เป็ นหลักประกันช่ วยเสริมสร้ างความมั่นคงให้ กบั ชีวติ
วัยเกษียณ
การหยุด
ทางาน
ประจา
ไม่ มีรายได้
หลัก
การวางแผนเกษียณอายุ เป็ นไปเพือ่ ให้ มีชีวิตที่ดีให้ วัยเกษียณ ไม่ ต้องเป็ นภาระ
ของลกู หลาน โดยสามารถพึง่ พาตนเองได้ และใช้ ชีวิตอย่ างมีความสุข
โครงสร้ างประชากรเปลีย่ นแปลงไป และมีแนวโน้ มเข้ าสู่ สังคมผู้สูงอายุ
รูปแบบและขนาดของครอบครัวมีการเปลีย่ นแปลงไป
คนส่ วนใหญ่อยู่เป็ นโสดมากขึ้น แต่งงานและมีบุตรน้อยลงหรื อช้าลงล้วน
ส่ งผลให้ครอบครั วไทยในปั จจุบันกลายเป็ นครอบครั วเล็กหรื อครอบครั ว
เดี่ยว ไม่ สามารถดูแลผู้สูงอายุได้ อย่ างเต็มที่
ระยะเวลาแห่ งช่ วงชี วิต (Longevity) หมายถึง ช่ วงระยะเวลาตั้งแต่ เกิ ด
จนกระทั่งเสี ยชี วิต ประเด็นสาคัญที่ต้องพิจารณา คือ เมื่อ มนุษย์ มีอายุยืน
ยาวขึน้ จานวนเงินที่ต้องการใช้ ยามเกษียณอายุก็จะเพิ่มขึน้ ตามไปด้ วย นั่น
หมายความว่ าระยะเวลาแห่ งช่ วงชี วิตจะช่ วยให้ คุณพอประมาณการคร่ าวๆ
ได้ ว่าคุณจะต้ องใช้ เงินออมของคุณไปอีกกีป่ ี หลังจากวันทีเ่ กษียณอายุ
หากวัน นี้คุ ณ มีค่ า ใช้ จ่า ยในการครองชี พ เดือนละ 10,000 บาท หรื อ ปี ละ
120,000 บาท
ในอีก 30 ปี ข้ างหน้ า หากอัตราเงินเฟ้ออยู่ที่ 5% ค่ าครองชี พของคุณจะเพิ่ม
เป็ นเดือนละ 43,200 บาท (432 x 100) หรือปี ละ 518,400 บาท (43,200 x 12)
อัตราเงินเฟ้ อที่กระทบต่ อค่ าครองชี พที่เพิ่มขึ้นนี้ จะส่ งผลให้ คุณต้ องเร่ ง
ออมเงินให้ มีจานวนมากพอสาหรั บใช้ จ่ายตามทีค่ ณ
ุ ต้ องการ
โดยทั่วไปหากคุณต้ องการดาเนินชี วิตแบบเดิมภายหลังจากที่เกษียณอายุ
และไม่ มีรายได้ ประจาที่แน่ นอนแล้ ว คุณจะต้ องการเงินประมาณ 70% ของ
รายจ่ ายปกติก่อนการเกษียณอายุ เพื่อเป็ นค่ าใช้ จ่ายยามเกษียณอายุ ซึ่งเงิน
จานวนนีอ้ าจแตกต่ างกันออกไป ขึน้ อยู่กบั คุณภาพชีวิตปัญหาสุ ขภาพ ภาระ
ค่ าใช้ จ่ายต่ างๆ รวมถึงกิจกรรมหรืองานอดิเรกที่แต่ ละคนวางแผนเอาไว้
เป็ นองค์ ประกอบทีส่ าคัญอีกประการหนึ่งในการวางแผนเพือ่ การเกษียณอายุ
เพราะ ค่ าใช้ จ่ายทีเ่ กิดจากปัญหาสุขภาพมักจะมีจานวนสูง ประมาณการได้
ค่ อนข้ างยาก และเป็ นค่ าใช้ จ่ายทีอ่ าจทาให้ เงินออมของคณ
ุ ลดลงอย่ างน่ าใจ
หาย
1. กาหนดเป้าหมายหรือสิ่ งทีต่ ้ องการหลังเกษียณอายุ
2. คานวณความต้ องการใช้ เงินหลังเกษียณอายุและสารวจความพร้ อมของ
3.
4.
5.
6.
ตนเอง
กาหนดวิธีการหรือเลือกหนทางทีจ่ ะทาให้ บรรลุเป้าหมาย
เขียนแผนทางการเงินเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร
ลงมือปฏิบัติตามแผนที่วางไว้
ทบทวนและปรับปรุงแผนอย่ างสม่าเสมอ
แต่ ละบุคคลต่ างก็มีเป้าหมายหลังเกษียณอายุทแี่ ตกต่ างกันออกไป ซึ่ง
เป้าหมายจะเป็ นจริงหรือไม่ น้ัน ขึน้ อยู่กบั
1. อายุทตี่ ้ องการจะเกษียณ
2. ฐานะทางการเงินหลังเกษียณอายุ
การวิเคราะห์ งบดุลส่ วนบุคคล
เป็ นการวิเคราะห์ ว่าฐานะทางการเงินของเราดีหรือไม่ ? อย่ างไร?
โดยพิจารณาจากส่ วนของ “สิ นทรัพย์ ” และ “หนีส้ ิ น” เป็ นสาคัญ
ด้ านของสิ นทรัพย์ ให้ บันทึกด้ วยราคาตลาด ราคาประเมิน หรือราคาขาย
เช่ น คุณซื้อรถยนต์ มาในราคา 500,000 บาท ใช้ งานไปแล้ ว 2 ปี หากคุณต้ อง
ขายในวันนี้ คุณอาจจะขายได้ ในราคา 300,000 บาท โดยคุณจะบันทึกราคา
300,000 บาท เป็ นมูลค่ าของรถยนต์ ของคุณ
ด้ านหนี้สิน ให้ บันทึกเป็ นภาระหนี้สินคงค้ าง เพื่อดูว่า ณ ช่ วงเวลานั้นๆ คุณ
มีภาระหนีส้ ิ นคงค้ างทีต่ ้ องชาระอีกเป็ นจานวนเท่ าใด
เมื่อได้ สินทรัพย์ และหนีส้ ิ นรวมเรียบร้ อยแล้ว คุณสามารถคานวณหา
“มูลค่ าทรัพย์ สินสุ ทธิ” (Net Worth) ได้ หากผลลัพธ์ มีค่าเป็ นบวก แสดงว่ า
คุณมีสินทรัพย์ มากเพียงพอทีจ่ ะรองรับกับเหตุการณ์ ไม่ คาดฝันทีอ่ าจจะ
เกิดขึน้ โดยคุณสามารถขายสิ นทรัพย์ ออกไปและชาระหนีไ้ ด้
มูลค่ าทรัพย์ สินสุ ทธิ = สิ นทรัพย์ รวม - หนีส้ ิ นรวม
การวิเคราะห์ งบรายได้ และค่ าใช้ จ่ายส่ วนบุคคล
คล้ายๆ กับการทาบัญชีรายรับรายจ่ ายของครัวเรือน โดยเป็ นการวิเคราะห์
พฤติกรรมการใช้ จ่ายของแต่ ละบุคคลในปัจจุบัน
รายได้
1.รายได้ จากการทางาน
2.รายได้ จากการออม/ลงทุน
ค่ าใช้ จ่าย
1. ค่ าใช้ จ่ายเพือ่ การออม/ลงทุน
2. ค่ าใช้ จ่ายคงที่
3. ค่ าใช้ จ่ายผันแปร
1. ลดค่ าใช้ จ่ายทีไ่ ม่ จาเป็ นและภาระหนีส้ ิ นต่ างๆ
2. สร้ างรายให้ มากขึน้ และบริหารสิ นทรัพย์
หาอาชีพเสริม
สร้ างรายได้ จากสิ นทรัพย์ ทมี่ ีอยู่
เพิม่ ผลตอบแทนจากเงินออมทีม่ ีอยู่
แผนทางการเงินทีด่ ีจะต้ องรัดกุม เข้ าใจง่ าย มีความเป็ นไปได้ และง่ ายต่ อการ
นาไปปฏิบัติ ทีส่ าคัญควรประกอบไปด้ วยข้ อมูลดังต่ อไปนี้
 เป้าหมาย และจานวนเงินทีต
่ ้ องการ
 สมมติฐานต่ างๆ ทีเ่ กีย
่ วข้ อง เช่ น อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน
อัตราเงินเฟ้อ ฯลฯ
 วิธีการทีจ
่ ะทาให้ บรรลุเป้าหมาย
เมื่อคุ ณมีแผนทางการเงิน และทราบถึงวิธีการที่จะทาให้ บรรลุเป้าหมาย
ตามที่คุณต้ องการแล้ ว คุณก็ควรลงมือปฏิบัติตามแผนนั้นโดยทันที เพราะ
ในกรณี ที่ พ บปั ญ หาหรื อ ข้ อ บกพร่ องใดๆ คุ ณ จะได้ ส ามารถแก้ ไ ขแผน
ทางการเงินนั้นได้ ทันท่ วงที
เพราะการเปลีย่ นแปลงเกิดขึน้ ได้ ตลอดเวลา การทบทวนและปรับปรุง
แผนการออมอย่ างสม่าเสมอ อย่ างน้ อยทุกๆ 6 เดือน จะทาให้ การออมเป็ นไป
อย่ างเหมาะสมและบรรลุเป้าหมายทีต่ ้งั ไว้
หาความรู้ และติดตามภาวะเศรษฐกิจ
สารองเงินสดไว้ ใช้ ยามฉุกเฉิน
ทาประกันชีวติ และประกันสุ ขภาพ
วางแผนภาษี
บริหาร/จัดการสิ นทรัพย์ พร้ อมวางแผนส่ งมอบต่ อ
ทายาท
Q&A