5 มิติ อจ.รพ.จิตเวช

Download Report

Transcript 5 มิติ อจ.รพ.จิตเวช

สุขภาพจิตกับผู้สูงอายุ / การดูแลตนเองเพื่อคลายเครี ยด
นายอั ช ฌา หร่ ายลอย
พยาบาลวิ ช าชี พ ชานาญการ
โรงพยาบาลจิ ต เวชนครสวรรค์ ร าชนคริ น ทร์
จุดประสงค์ ของการอบรม
 1. เข้าใจสถานการณ์ของผูส้ ู งอายุในประเทศไทย
 2. ให้ผดู ้ ูแลผูส้ ู งอายุ มีความรู ้ ความเข้าใจ สุ ขภาพจิตของผูส้ ู งอายุ
 3. สามารถสอนวิธีการส่ งเสริ มสุ ขภาพจิตในผูส้ ู งอายุกลุ่มติดสังคมได้
 4. สามารถประเมินปั ญหาความเครี ยด ภาวะซึ มเศร้าในผูส้ ู งอายุที่ติดบ้าน ติดเตียงใน
เบื้องต้นได้
 5. สามารถให้การดูแลทางด้านสังคมจิตใจในผูส้ ู งอายุที่มีปัญหาเจ็บป่ วยเรื้ อรังได้
สัดส่วนของผูส้ งู อายุจาแนกตามวัยปี 2553
(การสารวจข้อมูลประชากรกลางปี เพื่อเบีย้ สูงอายุ พ.ศ. 2553,กระทรวงมหาดไทย)
ปี 2553 มีผส้ ู งู อายุ 7.8 ล้านคน
- เป็ นชาย 3.3 ล้านคน หญิง 4.5 ล้านคน
อนาคตเรื่องของสูงอายุเป็ นเรื่องของเพศ
หญิงมากกว่าชาย”
(ข้อมูลกลางปี ทะเบียนราษฎร์ 2552,
กรมการปกครอง)
การจาแนกกลุม่ ผู้สงู อายุเพื่อจัดบริ การสุขภาพ
(วรรณภา อรุณแสง และลัดดา ดาริการเลิศ, 2553)
ติดเตียง
ติดบ้าน
ติดสังคม
การจาแนกกลุ่มผูส้ งู อายุเพื่อจัดบริการทางการแพทย์ (สวรส.,2553)
 จะแบ่งตามลักษณะทางสุขภาพและสังคมของผูส
้ งู อายุ
 1. กลุ่มติดสังคม (ช่วยเหลือตัวเองได้)
 ยังสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ด ี ดาเนินชีวติ ในสังคมได้อย่างอิสระ สามารถทากิจวัตรประจาวัน




พืน้ ฐาน และกิจวัตรประจาวันต่อเนื่องได้ สุขภาพทัวไปดี
่
ไม่มโี รคเรือ้ รัง หรือมีโรคเรือ้ รัง 1-2 โรค
ทีย่ งั ควบคุมได้
2. กลุ่มติดบ้าน (พึ่งพิงบางส่วน)
ช่วยเหลือตัวเองได้บา้ ง ต้องการการช่วยเหลือบางส่วน มีขอ้ จากัดในการดาเนินชีวติ ในสังคม เป็ น
โรคเรือ้ รังทีค่ วบคุมไม่ได้ มีภาวะแทรกซ้อนทางด้านร่างกายหรือจิตใจ จนส่งผลต่อการคิด
ตัดสินใจ หรือปฏิบตั กิ จิ วัตรประจาวันพืน้ ฐาน
3. กลุ่มติดเตียง (พึ่งพิงสมบูรณ์ แบบ
ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองในการทากิจวัตรประจาวันพืน้ ฐานได้ ต้องอาศัยผูอ้ ่นื มีโรคประจาตัว
หลายโรคทีค่ วบคุมไม่ได้ เจ็บปว่ ยเรือ้ รังยาวนาน และมีภาวะแทรกซ้อนของโรคทีเ่ ป็ นอยู่
จาแนกสมรรถภาพของผูส้ งู อายุในปี พ.ศ. 2550
(กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2550)
สุขภาพจิตของผู้สูงอายุ และการสังเกตปั ญหาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ
 1. การเปลี่ยนแปลงทางร่ างกายของผูส้ ู งอายุ
 2. การเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม ได้แก่
- สูญเสี ยสถานภาพและบทบาททางสังคม poor self-image
- สู ญเสี ยการสมาคมกับเพื่อนฝูง
- สูญเสี ยสภาวะทางการเงินที่ดี
 3. การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์และจิตใจ อันเนื่ องมาจากปั ญหาทางด้านร่ างกายคือ
ความเสื่ อมของอวัยวะที่ทาให้เป็ นอุปสรรคในการดาเนินชีวิต และปัญหาสังคมที่ตอ้ ง
อยูใ่ นภาวะพึ่งพิง จนส่ งผลกระทบต่อจิตใจ โดยปั ญหาทางด้านจิตใจที่พบในผูส้ ู งอายุ
ได้แก่ ภาวะซึ มเศร้า ความวิตกกังวล ความเหงา ความหว้าเหว่ กลัวถูกทอดทิ้ง
กลัวตาย ความรู ้สึกสิ้ นหวัง ท้อแท้ เบื่อหน่ายสิ่ งต่างๆ รอบตัว
เกณฑ์ สุขภาพจิตดีของผู้สูงอายุ (ผู้สูงอายุท่ สี ามารถตอบคาถามได้ )
(คณะขับเคลื่อนกลุ่มวัยสูงอายุ กรมสุขภาพจิต, 2556)
 1. พูดคุย หรือเข้ าร่ วมกิจกรรมกับครอบครัว หรือเพือ่ นฝูงเป็ นประจา
 2. เมือ่ มีปัญหาด้ านอารมณ์ หรือจิตใจ สามารถแก้ ไขได้ ด้วยตนเอง
 3. รู้ สึกว่ าตนเองมีคุณค่ า (รู้ ด้วยตัวเอง)
 4. สามารถทากิจกรรมสร้ างความสุ ขให้ กบ
ั ตนเองได้
ถ้ าตอบใช่ 4 ข้ อ = ดีมาก 3 ข้ อ = ดี 2 ข้ อ = พอใช้
1 ข้ อ = ไม่ ค่อยดี (ควรได้ รับคาแนะนา)
 0 ข้ อ = มีปัญหาและควรได้ รับการดูแลช่ วยเหลือ
คุณลักษณะการมีสุขภาพจิตดีในผู้สูงอายุ
(สุจริต สุวรรณชีพ, 2555)
 1. มีร่างกายที่แข็งแรง : ออกกาลังกายได้ เล่นกีฬาได้ เดินเหิ นจะได้เกิด
ความคล่องแคล่ว ดูกระฉับกระเฉง ไม่แก่
 2. อารมณ์ดี : มีจิตแจ่มใสเบิกบาน ไม่หมกมุ่นกับปั ญหาของตัวเอง รู ้จกั
เป็ นผูใ้ ห้ ไม่ใช่รอรับการช่วยเหลือ สามารถหาความบันเทิงที่เป็ น
ประโยชน์แก่ตนเองได้ หัวเราะได้อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
 3. ความคิดดี : สนใจสิ่ งแวดล้อม ความเป็ นไปของโลก หมัน
่ สังเกต
รู ้จกั ตั้งคาถาม และหาคาตอบที่สงสัยเพื่อให้เกิดความคิดพัฒนาอยูเ่ รื่ อยๆ
อย่าคิดเรื่ องของตัวเองมากนัก และหมัน่ หาความรู ้ใหม่ๆ จะได้พฒั นา
ความคิดให้ทนั สมัย
คุณลักษณะการมีสุขภาพจิตดีในผู้สูงอายุ
(สุจริต สุวรรณชีพ, 2555)
 4. มีสังคม : กรณี ที่มีครอบครัวอยูด่ ว้ ยต้องรู ้จกั สร้างสัมพันธภาพที่ดีกบั
ลูกหลาน ไม่บ่นว่าลูกหลาน
กรณี ที่ไม่มีครอบครัว กลุ่มเพื่อนๆจะช่วยชดเชยครอบครัวที่
สูญเสี ยไปได้ แต่ตอ้ งรู ้จกั วิธีสร้างสัมพันธภาพที่ดี หรื อแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นกันในกลุ่มเพื่อน
5. การมีคุณค่า : พยายามช่วยเหลือตนเอง พึ่งพิงผูอ้ ื่นให้นอ้ ยที่สุด
รู ้จกั ให้ วิธีให้ที่ง่ายที่สุดคือให้คาแนะนา และถ่ายทอดภูมิปัญญาหรื อ
ประสบการณ์ที่มีให้กบั ผูอ้ ื่น
สิ่งที่ญาติ/ผู้เกี่ยวข้ อง สะท้ อนปั ญหาทางด้ านจิตใจของผู้สูงอายุ
 1. ผูส้ ู งอายุจะรู ้สึกว่าความมีคุณค่าใน







ตนเองลดลง สิ้ นหวังไม่เข้มแข็ง
2. เหงา ฟุ้ งซ่าน เรี ยกร้องความสนใจ
3. กลัวถูกลูกหลานทอดทิ้ง
4. ขี้บ่น
5. น้อยใจเก่ง
6. นอนไม่หลับ
7. ซึ มเศร้า
8. หลงลืมและเริ่ มต่อว่าคนรอบข้าง เป็ น
คนเคลื่อนย้ายสิ่ งของ/ขโมย/ทาสิ่ งต่างๆ
(สมองเสื่ อม)
สังเกตอย่ างไรเมื่อผู้สูงอายุร้ ู สึกหมดคุณค่ าในตัวเอง
 ปกติจะได้จากการซักถามจากญาติ ตัวผูป้ ่ วย และการสังเกตคาพูดและการ
แสดงออก
 อาการที่รู้สึกหมดคุณค่าในตัวเอง ผูใ้ ห้การช่วยเหลือต้องสังเกตคาพูด
ดังต่อไปนี้เช่น “การบ่นว่าเหงา ว้าเหว่ ไม่เป็ นที่พึงปรารถนาของคนรอบ
ข้าง ไร้ค่า เป็ นภาระให้กบั คนรอบข้าง เบื่อหน่าย ท้อแท้ รู ้สึกว่าเป็ นคนที่ไม่
เป็ นประโยชน์กบั ใคร ไม่รู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง ”
อาการที่แสดงออกโดยทัว่ ไป
“ เบื่อหน่ายท้อแท้ ไม่กระตือรื อร้น ใจน้อย โมโหง่าย หงุดหงิดง่าย จูจ้ ้ ีข้ ีบ่น
แยกตัว ”
การช่ วยสร้ างความรู้ สึกมีคุณค่ าในตนเอง (กลุ่มติดสังคม)
ฝึ กให้ผสู ้ ู งอายุช่วยเหลือตัวเองในเรื่ องง่ายๆ เช่นกิจวัตรประจาวัน งานบ้านเล็กๆน้อยๆ
หรื อการดูแลเด็กเพื่อไม่ให้รู้สึกว่าตนเองเป็ นภาระกับคนอื่น
2. ให้ผสู ้ ู งอายุใกล้ชิดกับเพื่อนสู งอายุคนอื่นเพื่อฝึ กให้เกิดการช่วยเหลือกันเอง เช่น การ
จัดกิจกรรมเยีย่ มบ้าน จิตอาสาในรู ปแบบต่างๆ เพื่อทาตนให้เป็ นประโยชน์ (อาจเป็ น
แรงงาน ทรัพย์ หรื อความรู้)
3. ฝึ กให้ผสู ้ ู งอายุช่วยเหลือผูอ้ ื่น เช่นการตั้งชมรมต่างๆ และชุมชนควรจัดเวทีให้ผสู ้ ู งอายุ
ได้แสดงความคิดเห็น หารื อในประเด็นต่างๆเพื่อกระตุน้ สมอง
4. ฝึ กให้ผสู ้ ู งอายุเป็ นผูใ้ ห้การปรึ กษา /วิทยากร / นักจัดรายการวิทยุชุมชน หรื อเป็ น
วิทยากรแนะนาชุมชน
1.
แนวทางการสร้ างคุณค่ าในตนเอง (ในกลุ่มติดบ้ าน)
 กลุ่มนี้ จะเน้นการเยีย่ มบ้านเป็ นหลัก ซึ่ งบุคลากรสาธารณสุ ขต้องอาศัยทักษะ
การสื่ อสารเบื้องต้นด้วย
 1. ให้ทกั ทาย พูดคุย เพื่อสร้างสัมพันธภาพ และให้กาลังใจ
 2. ให้ถามความเห็นในเรื่ องที่ผสู ้ ู งอายุถนัดและให้เล่าเรื่ องราวให้ฟัง พร้อม
ทั้งจดบันทึกเพื่อให้ผสู ้ ูงอายุเห็นว่าเรื่ องที่เล่า มีคนสนใจและสาคัญ
 3. ให้คน้ หาศักยภาพเพื่อประเมินความสามารถและส่ งเสริ มศักยภาพให้มาก
ที่สุด เช่น
แนวทางการสร้ างคุณค่ าในตนเอง (ในกลุ่มติดเตียงที่ยังรั บรู้ ได้ ดี)
ในกลุ่มนี้จะเน้นการเยีย่ มบ้าน ต้องเน้นการฟังและการให้กาลังใจเป็ นหลัก
1. ให้ทกั ทาย สร้างสัมพันธภาพและพยายามให้ผส
ู ้ ู งอายุพดู คุยเพื่อเล่า ระบายความทุกข์
ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจและบุคลากรควรรับฟังอย่างตั้งใจ
2. ให้ผส
ู ้ ู งอายุเล่าความภาคภูมิใจในอดีต ชื่นชม ให้กาลังใจ พร้อมกับค้นหาสิ่ งที่ดีที่สุดใน
เรื่ องเล่า
3. ถ้าไม่มีเรื่ องเล่า บุคลากรสาธารณสุ ขควรให้ผส
ู ้ ู งอายุเล่าเรื่ องราวในอดีต วัฒนธรรม
ประเพณี ของชุมชน บุคลสาคัญในชุมชน ฯ โดยประสานกับกับโรงเรี ยนให้นกั เรี ยนมา
ถอดความรู ้กบั ผูส้ ู งอายุในประเด็นเหล่านี้
4. ประเมินปั ญหาสุ ขภาพจิต / ภาวะซึ มเศร้า หากพบปั ญหาให้คาปรึ กษาเบื้องต้นหรื อส่ งต่อ
5. ใช้เครื อข่ายทางสังคมในการดูแลผูส้ ู งอายุติดเตียง เช่น อสม. ชมรมผูส้ ู งอายุ เพื่อลด
ปั ญหาความเครี ยดในผูด้ ูแลผูส้ ู งอายุ
อยู่ในหนังสือความสุข 5 มิติ ได้ แก่
 ผูส้ ู งอายุจะรู ้สึกว่า
 1. ความมีคุณค่าในตนเองลดลง สิ้ นหวัง ไม่เข้มแข็ง
 2. เหงา ฟุ้ งซ่ าน เรี ยกร้องความสนใจ
 3. กลัวถูกลูกหลานทอดทิ้ง
 4. ขี้บ่น
 5. น้อยใจเก่ง
อยู่ในหนังสือแนวทางการดูแลทางด้ านสังคมจิตใจในผู้สูงอายุ
ซึ่งสามารถศึกษาด้ วยตัวเองได้
 เครี ยด
 อาการนอนไม่หลับ
 วิธีการส่ งเสริ มสุ ขภาพจิตผูส้ ู งอายุ (ความสุ ข 5 มิติ)
 การเฝ้ าระวังภาวะซึ มเศร้าในผูส้ ู งอายุ
 การดูแลด้านสังคมจิตใจผูส้ ู งอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้ อรัง
 การจัดการความเศร้าโศกเสี ยใจของผูส้ ู งอายุที่เกิดจากการสู ญเสี ยและการตาย ในเบื้องต้น
 การดูแลผูป้ ่ วยแบบประคับประคอง (ในสถานบริ การและในชุมชน)
 วิธีการเยีย่ มบ้านและการดูแลผูส้ ู งอายุที่บา้ น (ระยะก่อนเยีย่ มบ้าน และระยะเยีย่ มบ้าน)
สุขภาพจิตกับการเจ็บป่ วยเรื อ้ รั ง (ติดสังคม/ติดบ้ าน/ติดเตียง)
วิกฤติของชีวิต
สมดุลของ
จิตใจ
เจ็บป่ วยเรื้ อรัง
ปฏิกริ ิยาทางจิตใจและสังคมของผู้ป่วยเรื อ้ รั ง
ศรี ประภา ชัยสินธพ)
(พญ.
 หมายถึง การตอบสนองของผูป้ ่ วยต่อข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่ วยซึ่ งได้รับรู ้มา ซึ่ ง
ตอบสนองได้ท้ งั ในเรื่ อง
 พฤติกรรมการแสดงออก
 ระบบการรับรู ้และความคิด
 การสนองตอบทางอารมณ์
การสนองตอบที่เกิดขึ้นอาจเป็ นปฏิกิริยาธรรมดาที่เกิดขึ้นในคนทัว่ ไป หรื อเป็ นความ
ผิดปกติหรื อไม่น้ นั จะใช้วธิ ี การจาแนกโรคทางจิตเวชขององค์การอนามัยโลก
(ICD) หรื อหลักการจาแนกโรคของสมาคมจิตแพทย์แห่ งสหรัฐอเมริ กา (Diagnostic
and statistical manual of mental disorders)
รูปแบบของความคิดและพฤติกรรมที่พบบ่ อยในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (Z.J. Lipowski)
 1. เป็ นการท้ าทาย
 กลุ่มนีจ
้ ะยอมรับสภาพความเจ็บปวด ความบกพร่ อง และพยายามเอาชนะโรคให้ ได้ ทุก
วิถีทาง
 ให้ ความร่ วมมือในการรั กษา มีปฏิกริ ิ ยาทางอารมณ์ ที่เหมาะสม ซึ่ งบุคลากรสาธารณสุ ข
ควรสนับสนุนหรือกระตุ้นให้ เกิดขึน้
เป็ นการคุกคาม
- อาจแสดงออกได้ หลายรู ปแบบ คือ แบบฮึดสู้ ถอยหนี หรือเพิกเฉยไป
- กลุ่มนี้ การแสดงออกแบบฮึดสู้ จะเป็ นประโยชน์ ต่อการปรับตัวของผู้ป่วย ขณะที่การถอย
หนี หรือเพิกเฉย จะทาให้ ผู้ป่วยไม่ ไว้ วางใจ ไม่ พอใจคนรอบข้ างหรือแพทย์ ที่รักษาได้
รู ปแบบของความคิดและพฤติกรรมที่พบบ่ อยในผู้ป่วยโรคเรื อ้ รั ง (Z.J. Lipowski)
 2. คิดว่าเป็ นการสู ญเสี ย (Loss)
 กลุ่มนี้ จะคิดว่า ตนเองเป็ นภาระต่อผูอ้ ื่นไม่มีคุณค่าในตัวเองไม่มน
ั่ คงในชีวิต ทาให้
เกิดความเศร้าโศก ท้อแท้ กลุม้ ใจได้ และถ้าปล่อยให้เกิดความรู ้สึกเนิ่ นนานไป ก็
จะทาให้เกิดภาวะซึ มเศร้า การใช้สารเสพติดและฆ่าตัวตายในที่สุด
3. การได้ กาไร /การปลดเปลือ้ งภาวะ (gain / relief)
- กลุ่มนี้จะคิดว่าการเจ็บป่ วยเหล่านี้ทาให้ตนเองได้หยุดพักจากภาระรับผิดชอบและ
จากผูท้ ี่ตอ้ งการเรี ยกร้องสิ่ งต่างๆจากผูป้ ่ วย โดยการเจ็บป่ วยจะช่วยลดปัญหาความ
ขัดแย้งในใจ อาทิ การต้องต่อสู ้กบั ความรู ้สึกพึ่งพาคนอื่นลดน้อยถอยลงไปได้ ด้วย
การอ้างการเจ็บป่ วยของตนเอง ซึ่ งกลุ่มนี้มกั ไม่ค่อยให้ความร่ วมมือในการรักษา
รู ปแบบของความคิดและพฤติกรรมที่พบบ่ อยในผู้ป่วยโรคเรื อ้ รั ง (Z.J. Lipowski)
4. การถูกลงโทษ
- กลุ่มนีอ้ าจมองว่ าการเจ็บป่ วยเป็ นการถูกลงโทษทีส่ มควรได้ รับหรือไม่ สมควร
ได้ รับก็ได้
 อารมณ์อาจจะมีต้ งั แต่ เศร้า ละอายใจ ไปจนถึงความโกรธแค้น
 ในกลุ่มที่มองว่าการเจ็บป่ วยเป็ นการลงโทษที่สมควรได้รับ ก็จะยอมพ่ายแพ้ต่อ
ความเจ็บป่ วย ไม่ตอ้ งการหายจากการเจ็บป่ วยและอยากตายทั้งๆที่ได้รับการรักษา
อย่างถูกต้องและมีประสิ ทธิ ภาพ
 ในกลุ่มที่มองว่า การเจ็บป่ วยเป็ นการลงโทษที่ไม่สมควรได้รับก็จะโกรธแค้นขมขื่น
อย่ างไรก็ตามผู้ป่วยเรื้อรังอาจมีรูปแบบทีน่ อกเหนือจากทีก่ ล่าวมาแล้วก็ได้
Z.J. Lipowski อธิบายถึงสาเหตุของการตอบสนองต่ อการเจ็บป่ วย
 1. Intrapersonal factors (ปั จจัยภายในตัวบุคคล) ได้แก่
 - บุคลิกภาพ
 - ประสบการณ์ในอดีต
 - ภาวะทางอารมณ์เมื่อเริ่ มเจ็บป่ วย
 - การตอบสนองต่อข้อมูลต่างๆที่ได้รับ
 - โครงสร้างทางจิต (Psychodynamic configuration)
2. Interpersonal factors (ปั จจัยระหว่างบุคคล)ได้แก่
 - การ support จากครอบครัว บุคลากรทางการแพทย์
Z.J. Lipowski อธิบายถึงสาเหตุของการตอบสนองต่ อการเจ็บป่ วย
 3. Illness - related factors ปั จจัยที่เกี่ยวกับการเจ็บป่ วยที่
เป็ นอยูใ่ นขณะนั้น เช่น ความรุ นแรงของการการเจ็บป่ วยที่เกิดขึ้น การ
สูญเสี ยอวัยวะ เป็ นต้น
 4. Socioeconomic factors เช่นค่านิ ยม ความเชื่อ ทัศนคติ ที่
บุคล/สังคม มีต่อความเจ็บป่ วย ทั้งนี้อาจมีอิทธิพลจากการศึกษา สถานภาพ
ทางเศรษฐกิจ เข้ามาเกี่ยวข้อง
สรุ ปปฏิกริ ิยาทางจิตใจที่แสดงออกของผู้ป่วยเรื อ้ รั ง
 จากที่ได้กล่าวมาสามารถสรุ ปสิ่ งที่เกิดขึ้นได้กบั ผูป้ ่ วยเรื้ อรัง (สานักพัฒนา
สุ ขภาพจิต, 2556)
 เครี ยด
 วิตกกังวล
 เศร้า
 สู ญเสี ย
 ท้อแท้
 ซึมเศร้า
การประเมินปั ญหาสุขภาพจิตของผู้ป่วยเรื อ้ รั ง
 บางครั้งเป็ นเรื่ องยากที่จะแยกอาการทางกาย ที่เป็ นอยูว่ า่ เกี่ยวข้อง
กับปัญหาสุ ขภาพจิตหรื อไม่ เช่น อาการนอนไม่หลับ เบื่ออาหาร
อ่อนเพลียเป็ นต้น
 ในการรับมือกับสิ่ งเหล่านี้ ต้องอาศัยการสังเกตพฤติกรรมและการ
แสดงออก ไม่วา่ จะเป็ นการพูดจาของผูป้ ่ วย หรื อการซักถามทั้ง
ผูป้ ่ วยสูงอายุหรื อผูใ้ กล้ชิด
รู้ ได้ อย่ างไรว่ ามีปัญหาสุขภาพจิต
 สังเกตง่ายๆจากการดาเนิ นชีวิตประจาวันของตัวผูส้ ู งอายุได้แก่
 1. การกินผิดปกติ
อาจจะมากขึ้นกว่าเดิม ยิง่ ไม่สบายใจก็ยงิ่ กินมาก
บางคนก็ตรงข้าม คือกินน้อยลง เบื่ออาหาร ซูบผอมลงทั้งๆที่ไม่มีปัญหาทาง
ร่ างกาย บางคนมีอาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ
 2. การนอน
• อาจจะนอนหลับมากกว่าปกติ เช่น มีอาการง่วง เหงา ซึ ม เซื่ อง อยากนอน
ตลอดเวลา
• บางคนก็ตรงข้าม คือ นอนไม่หลับ ตกใจตื่นตอนดึกแล้วไม่สามารถหลับต่อได้
อีก บางคนอาจมีอาการฝันร้ายติดต่อกันบ่อยๆ
รู้ได้ อย่ างไรว่ ามีปัญหาสุขภาพจิต
 3.อารมณ์ผดิ ปกติหงุดหงิดบ่อยขึ้น เศร้าซึ ม เคร่ งเครี ยด ฉุ นเฉี ยว วิตกกังวล
มากขึ้นกว่าเดิมจนสังเกตเห็นได้ และสร้างความลาบากใจให้กบั คนรอบข้าง
 4. พฤติกรรมการแสดงออกที่เปลี่ยนไปจากเดิม เช่น เคยเป็ นคนร่ าเริ ง
แจ่มใส ช่างพูดช่างคุยก็กลับซึมเศร้า เงียบขรึ ม ไม่พดู ไม่จา บางคนก็หนั ไป
พึ่งยาเสพติด เหล้า บุหรี่ เป็ นต้น บางคนอาจเคยพูดน้อยก็กลายเป็ นคนพูด
มาก หรื อแสดงความสนใจในเรื่ องเพศอย่างผิดปกติเป็ นต้น
 5. มีอาการเจ็บป่ วยทางกาย ซึ่ งหาสาเหตุไม่พบ เช่นปวดเมื่อยตามตัว ปวด
ศีรษะ ปวดข้อ ปวดกระดูก วิงเวียนศีรษะ ปวดท้องเป็ นต้น
 6. function ในการทางาน/การใช้ชีวิต เสี ยไปจนเกิดผลกระทบต่อตัวเองและ
คนรอบข้าง เช่น ภาวะซึมเศร้า
เทคนิคการ approach ผู้สูงอายุ
 บุคลากรสาธารณสุ ข ควรเริ่ มต้นด้วยการให้ความเคารพและอ่อนน้อมต่อผูส้ ู งอายุ โดย
ยึดหลักธรรมเนียมไทย คือการยกมือไหว้ผสู้ ูงอายุ จะทาให้ผสู้ ูงอายุรู้สึกว่าได้รับการให้
เกียรติ ได้รับการยกย่องจากผูอ้ ื่น เกิดความรู ้สึกอบอุ่นและภาคภูมิใจ
 การไหว้เป็ นสิ่ งที่ทาได้ง่ายมากไม่ตอ้ งอาศัยอุปกรณ์ใดๆ แต่กลับมีพลังมหาศาลที่จะทา
ให้เกิดความเอื้ออาทร และความรู ้สึกดีๆระหว่างบุคลากรสาธารณสุ ข และผูส้ ูงอายุ
และเป็ นทักษะการสร้างสัมพันธภาพที่ดี ทาได้ง่าย ก่อนที่จะใช้ทกั ษะการสื่ อสารอื่นๆ
 พยายามจดจาผูส้ ู งอายุให้ได้ และรู ้จกั ผูส้ ู งอายุให้ได้เป็ นรายบุคคล เช่นจาชื่อเรี ยกได้
ถูกต้อง
เทคนิคการ approach ผู้สูงอายุ
 ใช้พดู คาพูดง่ายๆที่สื่อสารกับผูส้ ู งอายุ “วันนี้คุณลุงมาพบเจ้าหน้าที่ คุณลุงมีอะไรให้
เจ้าหน้าที่ช่วยเหลือคะ” (เปิ ดประเด็นด้วยคาถามปลายเปิ ด)
เป็ นนักฟังที่ดี ให้ความสาคัญกับผูส้ ู งอายุที่อยูต่ รงหน้า รับฟังความคิดเห็นด้วยความ
ตั้งใจ ให้ความสนใจ และรู ้จกั กระตุน้ ให้ผสู ้ ู งอายุเล่าเรื่ องของตนเองมากที่สุด พร้อมสังเกต
และจับใจความสิ่ งที่ผสู ้ ู งอายุเล่า คาพูดง่ายๆที่จะทาให้ผสู ้ ู งอายุ คือการสะท้อนความรู้สึก
ด้วยคาถามปลายเปิ ด ที่ผนวกสิ่ งที่ผสู ้ ู งอายุเล่า เช่น“ฟังจากที่คุณลุงเล่ามาดูเหมือนคุณลุงจะ
ไม่ค่อยมีความสุ ข/กังวลใจ/เครี ยด/กลัว หลังจากที่คุณลุงควบคุมระดับน้ าตาลไม่ได้”
(สะท้อนอารมณ์) และต้องแสดงออกถึงความเป็ นกันเอง กรณี ที่ผสู ้ ู งอายุพดู คุยความรู้สึก
ในแง่ลบ บุคลากรสาธารณสุ ขควรฟังด้วยความตั้งใจและสนใจ ในบางกรณี อาจต้องใช้
ภาษากายที่เหมาะสมเช่นการสัมผัสเพื่อปลอบโยน
เทคนิคการ approach ผู้สูงอายุ
 เลือกวิธีการสื่ อสารกับผูส้ ู งอายุที่เหมาะสมกับสถานการณ์ ต้องให้ความสาคัญกับ
อารมณ์ และความรู ้สึก ควรตระหนักไว้วา่ การวิจารณ์ การพูดตาหนิ ติเตียน อาจทาให้
เกิดปั ญหาสัมพันธภาพกับผูส้ ู งอายุได้ ควรช่วยให้ผสู ้ ู งอายุตดั สิ นใจเรื่ องต่างๆด้วย
ตัวเอง และสนับสนุนหรื อช่วยเหลือให้เกิดการแก้ไขปั ญหา
 ระมัดระวังการให้ขอ้ มูลที่มากจนเกินไป เพราะการรับรู ้และความสามารถด้านการ
จดจาของผูส้ ู งอายุเริ่ มช้าลง
 น้ าเสี ยงที่ใช้สื่อสารควรใช้น้ าเสี ยงที่นุ่มนวล เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์
ตรงหน้า อย่าลืมการแสดงความรู ้สึกเป็ นห่วง เป็ นใย เห็นใจ เข้าใจผูส้ ู งอายุที่อยู่
ตรงหน้า
ตัวอย่ างเรื่ องเล่ าจากประสบการณ์ ตรงของผู้สูงอายุโรคเรื อ้ รั งที่ไปโรงพยาบาล
 การจูงใจให้ผป
ู ้ ่ วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อให้ผปู ้ ่ วยเพิ่มพฤติกรรมดี และลดพฤติกรรมเสี่ ยง





การสื่ อสารที่เป็ นเชิงตาหนิ สบประมาท ฯลฯ พร้อมทั้งการสื่ อสารทางกาย สี หน้าท่าทาง ที่เป็ น
ลบ ควรระมัดระวัง เพราะจะทาให้ผปู ้ ่ วย เสี ยกาลังใจในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมต่อต้าน
ผูร้ ักษาหรื อบุคลากรสาธารณสุ ข
ตัวอย่างประโยคที่ผปู ้ ่ วยไม่ตอ้ งการ กรณี ที่น้ าตาลในเลือดของผูป้ ่ วยสู งกว่ามาตรฐาน หรื อ
ควบคุมไม่ได้ เช่น
“จะเอาน้ าตาลไปขายหรื ออย่างไรคะ คุณป้ า”
“น้ าตาลสู งๆอย่างนี้ เดี๋ยวก็ตาบอด (ไตวาย,อัมพาต,เส้นเลือดสมองแตก) หรอก”
“แล้วแต่ป้านะ จะทาไม่ทา ฉันไม่รู้หรอก ตัวใครก็ตวั มัน”
โดยทัว่ ไปผูป้ ่ วยส่ วนมากมักคาดหวังว่า ผูใ้ ห้การรักษาหรื อบุคลากรสาธารณสุ ขควรมีท่าที
เห็นอกเห็นใจ ให้กาลังใจ ฯลฯ และจะให้ความสนใจกับท่าทีของบุคลากรสาธารณสุ ข
ทักษะจาเป็ นในการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื อ้ รั ง
 1. วิธีการให้คาแนะนาแบบสั้น (Brief Advice) เพื่อให้คาแนะนาเกี่ยวกับ
โรคเรื้ อรังที่เป็ นและทาให้ผสู ้ ูงอายุตระหนักถึงปัญหาที่ผสู ้ ูงอายุกาลังละเลย
หรื อมองเห็นปัญหาและต้องการทราบแนวทางการแก้ไข
 2. การสร้างแรงจูงใจ (Motivation Interviewing) เพื่อเพิ่มศักยภาพให้
ผูส้ ูงอายุรู้จกั ดูแลตนเอง และปรับพฤติกรรมที่พึงประสงค์
การให้คาแนะนาแบบสั้น (เทิดศักดิ์ เดชคง, 2555)
 Brief Advice)หรื อที่เรี ยกย่อๆว่า BA หมายถึง การให้ขอ้ มูล เชิงปรึ กษาที่ใช้
เวลา 5-10 นาที เพื่อให้ผรู ้ ับคาแนะนาเกิดความตระหนักในความเสี่ ยงหรื อปัญหาที่
มองข้ามไปและรับทราบแนวทางการแก้ไข ซึ่ งหลักการสาคัญที่สุด คือต้องฟังอย่าง
ตั้งใจและจับประเด็นให้ได้วา่ ผูป้ ่ วยมีเหตุผล/วิธีคิดต่อโรคที่เป็ นอย่างไร จนเกิดเป็ น
พฤติกรรมการดูแลตนเองในปั จจุบนั ก่อนจะให้ขอ้ มูลที่ถกู ต้องและตรงกับความต้องการ
ของผูป้ ่ วย (ต่างจากการให้สุขศึกษาตรงที่ เราเตรี ยมเนื้อหาที่คิดว่าคนไข้ตอ้ งรู้ และต้อง
ปฏิบตั ิตามทาให้ไม่เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม)
 ขั้นตอนการให้ คาแนะนาแบบสั้ น
 หลังสร้างสัมพันธภาพกับผูส้ ู งอายุแล้ว ให้เริ่ มต้นด้วย การประเมินปั ญหา ค้นหาปั ญหา
และระดับแรงจูงใจ ซึ่ งหลักการสาคัญของ คือต้องฟังและจับประเด็นให้ได้วา่ ผูป้ ่ วยมี
เหตุผล/วิธีคิดต่อโรคที่เป็ นอย่างไร ดังนี้
วิธีการให้คาแนะนาแบบสั้น (เทิดศักดิ์ เดชคง, 2555)
 1.ใช้ คาถาม/การสนทนาเพือ่ สร้ างแรงจูงใจ
 ได้แก่ การใช้คาถามเพื่อกระตุน
้ ผูป้ ่ วยให้เห็นความสาคัญของปั ญหา มองผลดีในอนาคต





หากเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุ ขภาพได้ หรื อมองผลเสี ย หากไม่เปลี่ยนแปลงตนเอง
กลุ่มคาถามที่ใช้ ในการสร้ างแรงจูงใจได้ แก่
คุยเรื่ องผลเสี ยหากยังมีพฤติกรรมเดิม เช่น “คุณคิดว่าจะเป็ นอย่างไร หากปล่อยให้น้ าหนัก
ตัวมากอย่างนี้ต่อไป”
คุยเรื่ องผลดีหากเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุ ขภาพได้ เช่น “จะเกิดอะไรขึ้นหากคุณกินยา
ความดันโลหิ ตสู ง ต่อเนื่อง”
คุยเรื่ องความสาคัญของคนรอบข้าง เช่น “ลูกเขาจะรู ้สึกอย่างไรกับการดื่มสุ ราของคุณ”
คุยเรื่ องเป้ าหมายในชีวิต เช่น “คุณอยากให้สุขภาพเป็ นอย่างไรในอีกสัก 20 ปี ข้างหน้า”
วิธีการให้คาแนะนาแบบสั้น (เทิดศักดิ์ เดชคง, 2555)
 การสนทนาเกี่ยวกับผลดีผลเสี ยของทางเลือกในชีวิตแล้วให้ผส
ู ้ ู งอายุลองชัง่ น้ าหนักดูวา่ อย่างไหน
จึงจะเหมาะสมหรื อดีกว่ากัน เช่น หากดื่มสุ ราจะมีขอ้ ดีอะไร ข้อเสี ยอะไร
การสู บบุหรี่ มีขอ้ ดีอะไร ข้อเสี ยคืออะไร หรื อหากคุณเลือกที่จะไม่เอาใจใส่ ต่อสุ ขภาพ กินตามใจ
ปาก ไม่ออกกาลังกาย แล้วปล่อยให้น้ าหนักตัวคุณเป็ นเช่นนี้ต่อไปจะเกิดอะไรขึ้นบ้าง แล้ว
สุ ดท้ายคิดว่าใครจะดูแลคุณป้ าคะ” แล้วลองชัง่ น้ าหนักดูวา่ อย่างไหนจึงจะเหมาะสมหรื อดีกว่ากัน
 2. การให้ ข้อมูล
 การให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับวิธีการหรื อวิธีปฏิบตั ิที่จะช่วยลดความเสี่ ยงหรื อแก้ปัญหาสุ ขภาพ การให้
ข้อมูลในจังหวะที่ผปู ้ ่ วยเริ่ มเกิดแรงจูงใจบ้างแล้วจะมีความเหมาะสมเพราะผูป้ ่ วยจะสนใจจดจา
และนาไปใช้มากกว่าสภาวะปกติ ข้อสาคัญของการให้ขอ้ มูลจะแตกต่างจากการสอนตรงที่
บุคลากรสาธารณสุ ขต้องดึงข้อมูลจากผูป้ ่ วยก่อนด้วยการซักถามจากนั้นวิเคราะห์วา่ ผูป้ ่ วยขาด
อะไรแล้วจึงให้ขอ้ มูลที่จาเป็ น
 การให้ขอ้ มูลแก่ผป
ู ้ ่ วยสู งอายุควรเป็ นข้อมูลสั้นๆที่เข้าใจง่าย
วิธีการให้คาแนะนาแบบสั้น (เทิดศักดิ์ เดชคง, 2555)
 เช่น กรณี ของการกินเค็มใน
 ผูส้ ู งอายุโรคความดันโลหิ ตสู งก็ควรให้ขอ้ มูลที่ผส
ู ้ ู งอายุทาได้เช่น การกินเค็มกินได้ขนาดไหน
และกินแบบไหนที่จะเกิดโทษ หรื อการแนะนาเรื่ องการออกกาลังกายอาจแนะนาวิธีการออก
กาลังกายที่เหมาะสมกับสภาพของผูป้ ่ วย เช่น “คุณป้ าต้องออกกาลังกายเสริ ม ความดันโลหิ ตจะ
ได้ลด วิธีการออกกาลังกายก็ง่ายๆ ทากายบริ หารที่คุณป้ าถนัด ไม่เกิดอันตราย ออกกาลังกายนาน
พอให้รู้สึกเหนื่อยก็ให้พกั และจะรู ้ได้อย่างไรว่าเหนื่อย ก็แค่คุณป้ ารู ้สึกว่าต้องหายใจทางปากก็
พัก แล้วค่อยเริ่ มใหม่ทาอย่างนี้อย่างน้อยวันละ 2 ครั้งนะคะ”เป็ นต้น พร้อมทั้งอาจให้แผ่นพับ
รายละเอียด เพิ่มเติมซึ่ งผูป้ ่ วยสามารถศึกษาเองในภายหลังได้
 3. การสรุ ป และให้ กาลังใจ
 การใช้คาแนะนาแบบสั้นจะจบลงด้วยการสรุ ปเกี่ยวกับปั ญหา (หรื อความเสี่ ยง) ที่เผชิญอยูแ่ ละ
ทางแก้ไข พร้อมทั้งเน้นว่าแรงจูงใจหรื อพลังใจรวมทั้งเหตุผล ซึ่ งจาเป็ นในการเปลี่ยนแปลงจะ
ได้มาจากสิ่ งไหน
การสร้ างแรงจูงใจ (Motivation Interviewing)
ศักดิ์ เดชคง, 2555)
(เทิด
 สาระ: เป็ นทักษะที่ใช้กบั ปั ญหาทางด้านจิตใจ โดยช่วยให้ผรู ้ ับการปรึ กษาสามารถ
มองเห็นด้านที่เป็ นบวกของตนเองและสถานการณ์ซ่ ึ งจะทาให้ผรู ้ ับบริ การมีความมัน่ ใจ มี
ความคาดหวัง และส่ งเสริ มความพยายามในการแก้ปัญหา การให้กาลังใจนี้ตอ้ งอิงอยูบ่ น
ศักยภาพของผูร้ ับการปรึ กษาด้วย
 หลักการสาคัญ : ต้องให้ผส
ู ้ ู งอายุรู้สึกว่าบุคลากรสาธารณสุ ขเป็ นพวกเดียวกับเขา เพื่อลด
แรงเสี ยดทาน ก่อนที่จะสารวจว่าอะไรคือสิ่ งสาคัญของผูส้ ู งอายุ ต้องระลึกไว้เสมอว่าการ
ใช้คาถามที่กระตุน้ ให้ผสู ้ ู งอายุอยากพูดหรื ออยากตอบคาถามจะช่วยนาสู่ การสนทนาก่อน
นามาวางแผนการรักษาร่ วมกัน
วิธีการสร้ างแรงจูงใจ (Motivation Interviewing)
ศักดิ์ เดชคง, 2555)
(เทิด
1. สร้างสัมพันธภาพ ทักทาย แนะนาตัว พร้อมบอกวัตถุประสงค์การสนทนา
2. ประเมินแรงจูงใจในการดูแลตนเองและระดับความสาคัญในการเปลี่ยนแปลงตนเอง
3. ถามเพื่อสร้างแรงจูงใจ ใช้คาถามปลายเปิ ดโดยมุ่งเน้นให้เห็นปั ญหา
 ถามเพื่อให้ฉุกใจคิด หันมามองอนาคต/มองเป้ าหมายในชีวิตตนเอง เห็นความสาคัญของ
คนที่ตนรักและห่วงใย จนเกิดความตั้งใจที่จะปรับปรุ งตนเอง
 ถามถึงอดีตที่ดีกว่า
 ถามถึงสิ่ งเลวร้ายสุ ดๆที่เป็ นไปได้ถา้ ไม่ดูแลตนเอง
 ถามถึงสิ่ งที่ดีที่สุดที่เป็ นไปได้ถา้ คุมโรคที่เป็ นได้
 ถ้าทาให้เกิดพันธะสัญญาได้จะช่วยให้ประสบความสาเร็ จในการปรับพฤติกรรมมากขึ้น
วิธีการสร้ างแรงจูงใจ (Motivation Interviewing)
ศักดิ์ เดชคง, 2555)
(เทิด
4. จัดการกับแรงต้าน ผูส้ ู งอายุบางรายอาจไม่มาตามนัด ไม่สนใจในเรื่ องการควบคุมระดับ
น้ าตาล ไม่สนใจที่จะวางแผนการรักษาร่ วมกัน บุคลากรสาธารณสุ ขต้องรักษา
สัมพันธภาพ ไม่ใช้อารมณ์ ไม่ตาหนิ ไม่ตดั สิ น ไม่ถกเถียงกับผูส้ ู งอายุ
 ควรทวนความสั้นๆ เพื่อชี้ให้เห็นถึงสิ่ งที่เกิดขึ้น เช่น “ คุณลุงไม่มาตรวจตามนัดทาให้การ
รักษาไม่ต่อเนื่องส่ งผลต่อการควบคุมระดับน้ าตาลในขณะนี้ทาให้ระดับน้ าตาลในเลือดสู ง
เกินระดับปกติมาก ”
 สนทนาทั้งข้อดีและข้อเสี ยของสิ่ งที่เกิดขึ้น เช่น “ คุณลุงทราบหรื อไม่วา่ ถ้าระดับน้ าตาล
เกิน 300 เช่นนี้ไปนานๆ จะทาให้เสี่ ยงต่อการเกิดตาบอด ไตวาย แต่ถา้ คุณลุงคุมระดับ
น้ าตาลได้จะช่วยชะลอการเสี ยของหลอดเลือดทั้งร่ างกาย....”
 พูดถึงความรับผิดชอบในตนเอง เช่น “โรคเบาหวานเป็ นโรคที่สามารถควบคุมได้ดว้ ย
ตนเอง ยาสามารถช่วยเหลือได้ระดับหนึ่ง สิ่ งเหล่านี้ทาแทนกันไม่ได้ คุณป้ าต้องทาเอง”
วิธีการสร้ างแรงจูงใจ (Motivation Interviewing)
(เทิดศักดิ์ เดชคง, 2555)
5. กาหนดเป้ าหมาย วางแผน/ประยุกต์ ควรกาหนดเป้ าหมายร่ วมกันและเปิ ดโอกาสให้
ซักถาม
6. สนับสนุนให้กาลังใจ สรุ ป และนัดหมาย โดยชี้ให้เห็นถึงประโยชน์ของการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมและส่ งผลต่อสุ ขภาพ รวมทั้งคนรอบข้าง โดยสรุ ปประเด็นสาคัญได้แก่
 ความเสี่ ยงหรื อปั ญหาคืออะไรบ้าง
 เหตุผลที่ตอ้ งเปลี่ยนแปลง /ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคืออะไร
 แผนการที่วางเอาไว้เริ่ มต้นจากตรงไหน สิ่ งที่ตอ้ งทามีอะไรบ้าง
 อุปสรรคที่ทาให้ไม่บรรลุเป้ าหมายคืออะไร และตัวช่วยให้บรรลุเป้ าหมายคืออะไร
7. ปิ ดการสนทนา ด้วยการสรุ ปการพูดคุย/ยินดีให้คาปรึ กษาต่อไป
ภาวะเครี ยดในผู้สูงอายุ
 เป็ นสภาวะจิตใจและร่ างกายที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่ งเป็ นผลจากการปรับตัวเพื่อเตรี ยมพร้อม
ในการรับมือต่อสิ่ งกระตุน้ หรื อสิ่ งเร้าต่างๆในสิ่ งแวดล้อมที่บีบคั้น กดดัน คุกคามให้เกิด
ความทุกข์ ความไม่สบายใจ หรื อความไม่พอใจ (กรมสุ ขภาพจิต, 2541)
 อาการที่แสดงว่ าผู้สูงอายุเกิดความเครียด
- อารมณ์ตึงเครี ยด ยิม้ ไม่ออก สนุกไม่ออก หัวใจเต้นแรง
- ผิวหนังเย็นหรื อแห้ง บางครั้งชาตามปลายมือปลายเท้า
- มึนทั้งหัว หรื อปวดท้ายทอย
- หงุดหงิดง่าย ดูไม่มีความสุ ข หรื อเบื่อหน่ายกับชีวิต
- คิดเรื่ องต่างๆไม่ค่อยออก
- ไม่อยากพูดคุยกับใคร
ภาวะเครี ยดในผู้สูงอายุ
- ขาดความกระตือรื อร้น ไม่ค่อยมีพลังหรื อแรงกระตุน้ ในการทางาน
- บ่นว่ามีเวลาเหลือจนไม่รู้วา่ จะทาอะไร
- นอนหลับยากขึ้น หรื อไม่หลับเลย
- มีปัญหาด้านการรับประทานอาหาร อาจทานมากหรื อน้อยกว่าปกติ
- ไม่ค่อยอยากออกไปเจอญาติ มิตร เพื่อน หรื อใครๆ
- ไม่ค่อยสนใจงานอดิเรก หรื อกิจกรรมที่ตนเองเคยสนใจทา หรื อเข้าร่ วม
- รู ้สึกหงุดหงิด โกรธ คนหรื อสภาวการณ์รอบๆตัว
อาจประเมินด้วยแบบประเมินความเครี ยดของรพ.สวนปรุ ง ฉบับ 20 ข้อ
แนวทางการช่ วยเหลือเมื่อเครี ยด
1. หลังจากสังเกตเห็นความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับผูส้ ู งอายุ หรื อผูส้ ู งอายุมาขอรับคาแนะนา
เรื่ องเครี ยดวิตกกังวล นอกจากการกล่าวทักทายโดยทัว่ ไป แล้วอาจเพิ่มความไว้วางใจจาก
ผูส้ ู งอายุดว้ ยวิธีการสร้างสัมพันธภาพกับผูส้ ู งอายุ วิธีง่ายๆและให้ผลดีคือการถามสารทุกข์
สุ ขดิบ จากนั้นให้บุคลากรสาธารณสุ ขใช้ทกั ษะการสื่ อสารเพื่อสารวจปั ญหาความเครี ยดที่
เกิดขึ้นด้วยการถามคาถามปลายเปิ ด เพื่อกระตุน้ ให้ผสู ้ ู งอายุได้สารวจและบอกเล่าความคิด
ความรู ้สึกของตนเอง เช่นการใช้คาถาม “อะไร” หรื อ “อย่างไร” เช่น “คุณป้ าพอจะเล่า
รายละเอียดของอาการที่เกิดขึ้นให้ดิฉนั ฟังได้ไหมคะ” “อาการที่เกิดขึ้นเป็ นอย่างไรอีก
คะ” เป็ นต้น
2. ใช้ทกั ษะในการสื่ อสาร เช่นการทวนซ้ า หรื อการสะท้อนอารมณ์เพื่อยืนยันความรู้สึกที่
เกิดขึ้นของผูส้ ู งอายุ และทาให้ผสู ้ ู งอายุมองเห็นปั ญหาที่เกิดขึ้นกับตนเองชัดขึ้น
แนวทางการช่ วยเหลือ
3. สรุ ปความเพื่อให้ผสู ้ ูงอายุได้เข้าใจปัญหาโดยเฉพาะสาระสาคัญ
4. ช่วยเหลือผูส้ ูงอายุให้สามารถเชื่อมโยงถึงที่มาของปัญหา เกิดความเข้าใจใน
ปัญหาและยอมรับสิ่ งที่เกิดขึ้นได้ โดยบุคลากรสาธารณสุ ขอาจใช้ทกั ษะการ
ตอบโต้ดงั นี้
4.1 การให้ขอ้ มูล เช่น “จากที่ฟังมาดูเหมือนว่าคุณป้ าจะหงุดหงิด โกรธ ที่
ลูกหลานไม่ให้ความสาคัญ/ ไม่ให้ความเคารพ / ไม่มาเยีย่ มเยียน / ไม่
พอใจการกระทาของลูกหลาน จนทาให้คุณป้ าเกิดอาการนอนไม่หลับ
ตื่นมาก็มึนหัว ปวดท้ายทอย”
แนวทางการช่ วยเหลือ
4.2 การหาผลจากการกระทา เช่น “ลองนึกอีกครั้งซิ คะว่าอะไรที่เป็ นต้นเหตุที่ทาให้
คุณป้ าเกิดความเครี ยด เช่นไม่พอใจอะไร / ไม่พอใจใคร / ไม่พอใจการกระทาแบบ
ไหนของลูกหลาน”
4.3 การให้ขอ้ มูลย้อนกลับต่อสิ่ งที่เกิดขึ้นในมุมมองของบุคลากรสาธารณสุ ข เช่น
 “จากที่คุณป้ าเล่ามาทั้งหมด แสดงว่าอาการนอนไม่หลับ ตื่นมาก็มึนหัว ปวดท้ายทอย
เกิดขึ้นหลังจากที่รู้สึกไม่พอใจกับพฤติกรรมของคุณลุง”
 4.4 การตีความสิ่ งที่เกิดขึ้น เช่น “จากที่คุณป้ าเล่ามาทั้งหมดนี้ ดเู หมือนการกระทาของ
ลูกหลานเรื่ อง...........ทาให้คุณป้ าหงุดหงิด ไม่พอใจ เก็บเอามาคิดจนเกิดความเครี ยด
และทาให้นอนไม่หลับ”
แนวทางการช่ วยเหลือเมื่อเครี ยด
5. การวางแผนในการแก้ปัญหา ซึ่งบุคลากรสาธารณสุ ขสามารถช่วยกระตุน้ ให้
ผูส้ ู งอายุมีทางเลือกในการแก้ปัญหามากขึ้น ตระหนักถึงผลที่จะตามมาจากการ
เลือกในการแก้ปัญหาในแต่ละทาง ซึ่งบุคลากรทางการแพทย์อาจใช้วิธีดงั ต่อไปนี้
5.1 การให้ความรู ้ เช่น การแนะนาเรื่ องที่เป็ นสาเหตุของความเครี ยด วิธีการ
ปฏิบตั ิตวั การนอนในบรรยากาศที่เหมาะสม วิธีการพูดคุยกับลูกหลาน /คู่ชีวิต
แบบสร้างสรรค์
5.2 การให้คาแนะนา เช่น ให้ผสู ้ ู งอายุลองนึกถึงสาเหตุที่เกิดขึ้นว่าปัญหาอยู่
ตรงไหน จากนั้นให้ถามตัวเองว่าปัญหาที่เกิดขึ้นตัวเองมีส่วนในปัญหามาก
น้อยแค่ไหน และจะแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างไร
แนวทางการช่ วยเหลือเมื่อเครี ยด
 เช่ น กรณีทผ
ี่ ู้สูงอายุไม่ พอใจเรื่อง ลูกหลานไม่ มาเยีย่ ม/ ไม่ เคารพ / ไม่ ดูแล
 “คุณป้ าคิดว่ าทาไม่ ลูกหลานถึงไม่ มาหา/ เขาทางานหรือเปล่ า /แล้ วถ้ าเขามาจะกระทบกับการ




งานของเขาหรือไม่ ”
“เวลาเขามาเยีย่ มแล้ วเคยแสดงความเป็ นห่ วงลูกหลาน ด้ วยการถามถึงสารทุกข์ สุขดิบของ
ลูกหลานหรือไม่ (เพือ่ แสดงถึงความเป็ นผู้ให้ ของผู้สูงอายุ) หรือต้ องรอให้ ลูกหลานถามถึง
ทุกข์ สุขของตัวเอง (แสดงให้ เห็นว่ าผู้สูงอายุเป็ นแต่ เพียงผู้รับซึ่งต้ องปรับทัศนคติของ
ผู้สูงอายุด้วย”
“เวลาชวนคุย คุยถึงเรื่องของลูกหลานบ้ างหรือไม่ (ดูว่าผู้สูงอายุขบี้ ่ นหรือไม่ )”
“เวลาลูกหลานมามีสีหน้ ายิม้ แย้ มแจ่ มใสเมือ่ พบหน้ ากันหรือไม่ ”
“เคยช่ วยเหลืออะไรลูกหลานบ้ างไหม เช่ น เลีย้ งหลาน/ ให้ ความรู้ / เล่ าประสบการณ์ เกีย่ วกับเรื่อง
งาน
แนวทางการช่ วยเหลือเมื่อเครี ยด
5.3 การแนะแนวทาง เช่น การให้คาแนะนาเรื่ องการปรับมุมมองให้กว้างขึ้นและให้
ลูกหลาน/คู่ชีวติ ได้รับรู ้ปัญหาและเข้ามาร่ วมกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น / การฝึ กทักษะ
การตั้งคาถามเพื่อไม่ให้เป็ นคนที่น่าเบื่อ / วิธีการคลายเครี ยด เป็ นต้น
5.4 การชักจูง เช่น “ดูเหมือนว่าการแก้ปัญหาเรื่ องการกระทาของคนอื่นเป็ นสิ่ งที่
เป็ นไปได้ยาก และยิง่ ทาให้สถานการณ์ที่เกิดขึ้นยิง่ ตึงเครี ยดหรื อกระตุน้ ให้คุณป้ า
รู ้สึกเครี ยดมากขึ้น ดูเหมืนไม่ทาให้อะไรดีข้ ึนเลย ลองแก้ไขที่ความคิด ความรู้สึก
ของตัวเองจะง่ายกว่าหรื อเปล่าคะ ลองปรับเปลี่ยนมุมมองใหม่ ความเอาใจใส่ กบั
ผูอ้ ื่นให้นอ้ ยลงแต่ให้เพิ่มความห่วงใยต่อสุ ขภาพและจิตใจของตัวเองให้มากขึ้น ”
5.5 การฝึ กวิธีการจัดการกับความเครี ยด ที่เหมาะสมเช่น การฝึ กลมหายใจ การฝึ กสติ
เป็ นต้น
การดูแลผู้สูงอายุท่ ปี ระสบภาวะสูญเสียและวิธีการให้ กาลังใจ
 การสู ญเสี ยจะนามาซึ่ งอารมณ์เศร้าโศกเสี ยใจ ซึ่ งเป็ นปฏิกิริยาทางจิตใจและ
กระบวนการทางจิตใจที่เกิดขึ้นตามปกติ คนส่ วนใหญ่สามารถผ่านพ้นและ
กลับเข้าสู่กิจวัตรประจาวันตามเดิมโดยไม่มีความผิดปกติทางจิตใจเกิดขึ้น
 ในผูส้ ู งอายุไทยพบว่าการก้าวผ่านพ้นวิกฤติในชีวิต มักจะนาหลักศาสนามา
เป็ นสิ่ งยึดเหนี่ยวจิตใจ
 แต่ในบางรายอารมณ์เศร้าโศกนี้ รุนแรงและยาวนานเกินปกติจนส่ งผล
กระทบต่อการดาเนินชีวิตของบุคคลนั้น เรี ยกว่า อารมณ์เศร้าโศกที่ผดิ ปกติ
ต่อการสูญเสี ย ซึ่งเป็ นอาการที่จะนามาซึ่งภาวะซึมเศร้าต่อมาได้
จุดมุ่งหมายของการให้ การดูแลทางด้ านสังคมจิตใจ
 ในผูส้ ู งอายุที่ประสบกับความสู ญเสี ยและการตาย จึงเป็ นการให้การดูแลกับผูส้ ู ญเสี ย
โดยไม่ใช่การทาให้ผสู ้ ู งอายุไม่เศร้าโศกเสี ยใจจากการสู ญเสี ยบุคคลอันเป็ นที่รัก แต่
เป็ นการพยายามทาอะไรเพื่อให้ผสู ้ ู งอายุที่เศร้าโศกเสี ยใจ อยูต่ ่อไปได้อย่างมีสมดุล
ใหม่โดยปราศจากผูจ้ ากไป
ปฏิกริ ิยาทางจิตใจต่ อการสูญเสีย (Gorer,1967)
 1) ระยะช๊อค หลังทราบเรื่ องการสู ญเสี ยใหม่ๆ จนเกิดภาวะปฏิเสธไม่ยอมรับ
ความจริ ง หรื อช๊อคทางอารมณ์ จะมีความรู ้สึกตกใจ ไม่เชื่อ ปฏิเสธสิ่ งที่เกิดขึ้น
เกิดความรู ้สึกมึนชา โกรธ ใช้เวลาตั้งแต่ 2 – 3 ชัว่ โมงจนถึง 2-3 สัปดาห์
 2) ระยะของความโศกเศร้าเสี ยใจ ซึ่ งจะมีอารมณ์เศร้ามาก ร้องไห้ คร่ าครวญ ย้า
นึกถึงบุคคลที่เสี ยชีวิต ความอยากอาหารลดลง นอนไม่หลับ หรื ออาจทาให้
หน้าที่กิจวัตรตามปกติลดลงจากเดิมบ้าง ใช้เวลา หลายสัปดาห์ แล้วจะดีข้ ึนเองใน
เวลา 2 เดือน
 3) ระยะเข้าใจและยอมรับ จะค่อยๆกลับคืนสู่ ปกติ ยอมรับสิ่ งที่เกิดขึ้นได้และจะ
กลับเข้าสู่ กิจวัตรประจาวันตามปกติของบุคคลนั้น
อาการที่แสดงว่ าผู้ป่วยอาจมีอาการซึมเศร้ าที่รุนแรงกว่ าปฏิกริ ิยาปกติ ต่ อ
การสูญเสีย (ธนา นิลชัยโกวิทย์ , 2554)
1. รู้สึกผิดในเรื่ องอื่นๆนอกเหนือจากที่เกี่ยวกับสิ่ งที่คิดว่าตนควรทา
หรื อไม่ควรทาในช่วงที่ผตู้ ายเสี ยชีวติ
2. คิดหมกมุ่นเกี่ยวกับความตาย นอกเหนือจากความรู้สึกอยากตาย
แทน หรื อตายไปพร้อมกับผูเ้ สี ยชีวติ
3. คิดหมกมุ่นว่าตนไร้ค่า ไม่มีความหมาย
4. มีการเคลื่อนไหวและความคิดช้าอย่างชัดเจน (marked
psychomotor retardation)
อาการที่แสดงว่ าผู้ป่วยอาจมีอาการซึมเศร้ าที่รุนแรงกว่ าปฏิกริ ิยาปกติ ต่ อ
การสูญเสีย (ธนา นิลชัยโกวิทย์ , 2554)
5. มีการบกพร่ องของการปฏิบตั ิหน้าที่ต่างๆทั้งทางสังคมและการงาน
อย่างมากเป็ นเวลานาน
6. มีอาการประสาทหลอน นอกเหนือไปจากการคิดว่าได้ยนิ เสี ยง
หรื อเห็นภาพของผูต้ ายเป็ นช่วงขณะสั้นๆ ซึ่งอาจพบได้ในปฏิกิริยา
ปกติ
7. ถ้ามีอาการโศกเศร้า หรื ออาการที่ไม่ใช้ลกั ษณะปกติของปฏิกิริยา
ต่อการสู ญเสี ยโดยทัว่ ไป นานเกิน 2 เดือน ควรพบแพทย์เพื่อให้การ
รักษา
การช่ วยให้ ผ้ ูสูงอายุสามารถปรับตัวต่ อการสูญเสียได้ ตามที่ควรจะเป็ น ดังนี ้
1. ไม่ควรให้ผสู ้ ู งอายุที่ประสบกับความสู ญเสี ยอยูค่ นเดียว ควรมีคนอยูเ่ ป็ นเพื่อนใน
ระยะที่ยงั อยูใ่ นภาวะเศร้าโศก เสี ยใจ หรื อมีพฤติกรรมที่คนรอบข้างสังเกตว่ายัง
ไม่อยูใ่ นสภาวะที่ยอมรับการสู ญเสี ยได้
2. แสดงความเห็นใจ เข้าใจ รับฟัง และให้ผสู ้ ู งอายุได้ระบายความรู ้สึกต่อการ
สู ญเสี ย สามารถแสดงอารมณ์ความรู ้สึกของตนออกมาได้อย่างเต็มที่ เช่น “คุณ
ป้ าอยากร้องไห้กร็ ้องให้สุดๆ ไปเลย ถ้าสงบสติได้แล้วเรามาคุยกันว่าจะทาอะไร
กันต่อ” ระหว่างนี้อาจใช้ภาษากายเพื่อปลอบโยนเช่นการสัมผัส การบีบมือให้
กาลังใจ การนัง่ เป็ นเพื่อน
3. กระตุน้ ให้พดู คุยเกี่ยวกับเรื่ องที่คบั ข้องใจด้วยการใช้คาถามปลายเปิ ด และให้
สารวจความรู ้สึกต่อความสู ญเสี ยที่เกิดขึ้น เทคนิคง่ายๆที่สามารถทาได้ดงั นี้
การช่ วยให้ ผ้ ูสูงอายุสามารถปรับตัวต่ อการสูญเสียได้ ตามที่ควรจะเป็ น ดังนี ้
3.1 กระตุกความคิดของผูส้ ูงอายุ ด้วยการตั้งคาถาม 3 ข้อ ดังนี้
 ให้ผสู ้ ู งอายุมองใจ ตัวเองว่าตอนนี้ ตวั เองมีความทุกข์มากแค่ไหน ยังรู ้สึก
ทุกข์มากเหมือนเดิมไหมเพื่อให้ผสู ้ ูงอายุได้ระบายความทุกข์
 ให้ผสู ้ ู งอายุมองใกล้ คือมองคนรอบข้าง เช่นลูกหลาน ว่าจะรู ้สึกอย่างไรที่
เห็นผูส้ ูงอายุเป็ นทุกข์ เศร้าโศก เสี ยใจเช่นนี้
 ให้ผสู ้ ู งอายุมองไกล คือคนที่จากไป ว่าผูจ้ ากไปจะรู ้สึกอย่างไรที่เห็น
ผูส้ ูงอายุโศกเศร้า เสี ยใจ เขาจะไปสู่สุขคติหรื อไม่ เขาจะเป็ นห่ วงเราหรื อไม่
ถ้าเขารักเราเขาอยากให้เราเป็ นทุกข์เช่นนี้หรื อไม่
การช่ วยให้ ผ้ ูสูงอายุสามารถปรับตัวต่ อการสูญเสียได้ ตามที่ควรจะเป็ น ดังนี ้
 3.2 พูดคุยถึงข้อดีขอ้ เสี ยที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะการชี้ให้เห็นถึงผลดี ผลเสี ยจากการกระทาที่
เกิดขึ้นของ ผูส้ ู งอายุ ซึ่ งใช้ทกั ษะการกระตุน้ และการให้กาลังใจ เช่น
 “ การที่เราเป็ นทุกข์เช่นนี้ ไม่ทาอะไรเลย ทาให้เกิดผลเสี ยต่อสุ ขภาพเช่นไร มีผลเสี ยต่อ
ลูกหลานเช่นไรและคนที่จากไปเขาจะสงบสุ ขหรื อไม่ สู ้ทาดีเพื่อให้คนที่รักได้ไปสู่ สุขคติ
จะดีกว่าหรื อไม่”
 3.3 ร่ วมกันหาแนวทางในการปรับตัวกับปั ญหา ซึ่ งขั้นตอนนี้แหล่งสนับสนุนทางสังคมที่
ดีจะช่วยประคับประคองให้ผสู ้ ู งอายุผา่ นวิกฤติชีวิตได้เป็ นอย่างดี กรณี ที่ผสู ้ ู งอายุไม่มีญาติ
ต้องใช้เครื อข่ายสู งอายุในชุมชนเข้ามามีบทบาทในการประคับประคองจิตใจ
การช่ วยให้ ผ้ ูสูงอายุสามารถปรับตัวต่ อการสูญเสียได้ ตามที่ควรจะเป็ น ดังนี ้
4. ถ้าผูส้ ู งอายุที่อยูต่ รงหน้า มีอารมณ์เฉยเมย ไม่พดู ไม่ตอบ หรื อพูดน้อยลงกว่าที่เคยเป็ น
บุคลากรทางการแพทย์ตอ้ งอาศัยความใจเย็น ไม่โกรธ ไม่ตาหนิ ไม่ต่อว่า แต่ตอ้ งพยายาม
จับความรู ้สึกที่เกิดขึ้นให้ได้วา่ เกิดจากความเศร้าโศกเสี ยใจ หรื อไม่พอใจ เพื่อให้การ
ช่วยเหลือ ทักษะที่ใช้ในการสื่ อสารที่สาคัญคือ ทักษะการเงียบ ทักษะการกระตุน้ ทักษะ
การสะท้อนอารมณ์ เช่น “คุณสมศักดิ์คงตกใจที่ …..”
5. ถ้าผูส้ ู งอายุที่อยูต่ รงหน้ามีอารมณ์โกรธ โมโห และไม่พอใจ บุคลากรทางการแพทย์ตอ้ ง
อาศัยความอดทนในการฟั งเรื่ องราว ทาความเข้าใจถึงสาเหตุที่ชดั เจนของการเกิดอารมณ์
ดังกล่าว ให้หลีกเลี่ยงการตอบโต้ และหลีกเลี่ยงการชี้แจงข้อมูลหรื อเหตุผล จนกว่าจะ
เข้าใจความรู ้สึกและรับทราบสาเหตุที่แท้จริ ง ดังนั้นทักษะในการสื่ อสารที่ควรใช้คือ
ทักษะการรับฟัง การสะท้อนอารมณ์และสรุ ปความ เช่น
 “ดูเหมือนว่าคุณป้ าจะโกรธ และไม่พอใจ พอจะเล่าให้ฟังได้ไหมครับเพื่อมีอะไร ที่ผม
พอจะช่วยเหลือได้”
การช่ วยให้ ผ้ ูสูงอายุสามารถปรับตัวต่ อการสูญเสียได้ ตามที่ควรจะเป็ น ดังนี ้
6. ถ้าผูส้ ู งอายุที่อยูต่ รงหน้ามีอารมณ์เศร้า เสี ยใจ หรื อถึงขั้นร้องไห้ฟูมฟาย บุคลากรทางการแพทย์
ต้องอาศัยความไวในการทาความเข้าใจกับความรู ้สึกเหล่านั้น หลีกเลี่ยงการปลอบโยนโดยไม่
จาเป็ น ทักษะในการสื่ อสารที่สาคัญที่ควรเลือกใช้คือ ทักษะการรับฟังเพื่อให้ผสู ้ ู งอายุได้พดู คุย
ระบายปั ญหา ทักษะการเงียบ ทักษะการกระตุน้ และทักษะการสะท้อนอารมณ์ เช่น
“เห็นคุณสมศรี นิ่งไปแล้วร้องไห้ พอจะเล่าเรื่ องที่ทาให้คุณสมศรี ไม่สบายใจให้ดิฉนั ฟังได้ไหม”
(สะท้อนอารมณ์)
7. เมื่อผูส้ ู งอายุสามารถยอมรับ เผชิญกับความจริ งของการสู ญเสี ย และปรับตัวกับการใช้ชีวิตที่
เปลี่ยนแปลงหลังการสู ญเสี ยได้ ควรส่ งเสริ มทักษะในการสร้างสัมพันธภาพกับบุคลอื่น และ
ทักษะทางสังคมเพื่อป้ องกันภาวะซึ มเศร้า โดยเฉพาะการชักชวนเข้าร่ วมกิจกรรมในชมรมสู งอายุ
หรื อการทาประโยชน์ให้กบั ชุมชน สังคม หรื อแม้แต่การให้คาแนะนาเรื่ องการหางานอดิเรกที่
ชอบทาเพื่อลดความเหงา ฟุ้ งซ่าน
นอนไม่ หลับ (พบในทุกกลุ่ม)
ผูส้ ูงอายุที่มีปัญหานอนไม่หลับ มักจะชอบตื่นขึ้นกลางดึกหรื อไม่ก็
ตื่นเช้ากว่าปกติ และเมื่อตื่นแล้วก็หลับต่อยาก ต้องลุกขึ้นมาทาโน่นทานี่ ซึ่ง
จะรบกวนสมาธิคนอื่นในบ้านที่กาลังนอนหลับอยูด่ ว้ ย ทั้งนี้สาเหตุของการ
นอนไม่หลับ อาจเกิดจากการนอนกลางวันมากเกินไป ไม่ค่อยได้ออกกาลัง
กายหรื อใช้แรงงาน ทาให้รู้สึกอ่อนเพลีย เมื่อได้เวลานอนอาจวิตกกังวลบาง
เรื่ องอยู่ ที่นอนไม่สบาย อากาศร้อนหรื อเย็นเกินไป มีปัญหาทางร่ างกายที่
รบกวนการนอน เช่น ปวดหลัง เบาหวานต้องลุกมาปัสสาวะบ่อยจนรบกวน
การนอน เป็ นต้น
แนวทางการช่ วยเหลือเรื่ องการนอนไม่ หลับ
1. หลังจากสร้างสัมพันธภาพถามสารทุกข์สุขดิบแล้ว ควรจะประเมินลักษณะการนอนว่า
นอนประมาณกี่ชวั่ โมง โดยปกติผสู ้ ู งอายุควรนอนอย่างน้อย 4 - 6 ชัว่ โมงต่อคืนและ
ติดต่อกันในช่วงเดียวกัน
2. ประเมินด้าน“คุณภาพ” หรื อ“ปริ มาณ” ของการนอนเพื่อกาจัดสาเหตุที่เกิดขึ้นด้วยการให้
ผูส้ ู งอายุลองนึกเปรี ยบเทียบดูกบั การนอนว่า ช่วงใดที่รู้สึกว่าหลับไม่ดีเป็ นช่วงไหน เช่น
นอนหลับไม่ดีช่วงต้น คือต้องนอนกลิ้งไปมาอยูน่ านกว่าจะหลับ (แสดงถึงปริ มาณการ
นอนไม่พอ) หรื อนอนหลับไม่ดีช่วงกลาง คือนอนหลับแล้วตื่นขึ้นมากลางดึกแล้วกว่าจะ
หลับก็ยากแต่กย็ งั หลับได้ (แสดงถึงปริ มาณการนอนไม่พอ) หรื อนอนไม่หลับในช่วงท้าย
คือหลับไปนานแล้วตื่นขึ้นมาแล้วจะนอนไม่หลับช่วงดึกๆจนกระทัง่ สว่างคาตา (แสดงถึง
คุณภาพการนอนที่ไม่ดี)
แนวทางการช่ วยเหลือเรื่ องการนอนไม่ หลับ
3. ประเมินความรุ นแรงของปั ญหาการนอนที่เกิดขึ้นต่อว่า “ก่อนหน้านี้ที่นอนได้ไม่มีปัญหา
น่ะ นอนอย่างไร...” “ตัวคุณป้ าเองลองนึกดูสิคะว่าอะไรที่จะเป็ นสาเหตุที่คุณป้ านอนไม่
หลับ”
4. กรณี ของคุณภาพการนอนไม่ดีตอ้ งพยายามหาสาเหตุที่เกิดขึ้นและแก้ไขตามสาเหตุโดย
พบว่าสาเหตุของการนอนไม่หลับมักจะเกิดจาก
 – การใช้สารกระตุน
้ ต่อจิตประสาท อาทิ เหล้า บุหรี่ กาแฟ (ชา ชาเขียว ชาขาว โค้ก
 ช๊อกโกแลต เครื่ องดื่มชูกาลัง ฯลฯ ที่มีคาเฟอีน)
- ปั จจัย กระตุน้ ภายนอก เช่น แสง เสี ยง สะเทือน สัน่ หนาว ร้อน
- ปั จจัยกระตุน้ ภายใน เช่น เครี ยด ครุ่ นคิดเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งนานๆ หรื อโรคเรื้ อรังที่เป็ นเช่น
โรคเบาหวานที่ตอ้ งตื่นบ่อยเพื่อปั สสาวะ
นอกจากนีอ้ าจช่ วยเหลือด้ วยการปรั บสุขลักษณะการนอนให้ ดี
 1. เข้านอนและตื่นนอนให้เป็ นเวลา
 2. ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ ไม่ควรออกกาลังกายก่อนนอน และเมื่อออกกาลังกายก็ให้ออกกาลัง








กายให้พอเมื่อยแต่ไม่ถึงกับเหนื่อยจะช่วยทาให้หลับได้ง่ายขึ้น
3. จัดสิ่ งแวดล้อมให้เหมาะสม หลีกเลี่ยงเสี ยงดัง หรื ออากาศร้อน
4. ทาจิตใจให้สบายก่อนนอน หลีกเลี่ยงสิ่ งที่กระตุน้ จิตใจ
5. ไม่ใช้เตียงทากิจกรรมอื่น ๆ เช่น อ่านหนังสื อ รับประทานอาหาร
6. หากนอนไม่หลับนานเกิน 30 นาที ให้ลุกจากเตียง ทากิจกรรมอะไรก็ได้จนง่วง แล้วเข้านอนใหม่
7. งดการใช้สารกระตุน้ ต่อจิตประสาท เช่น สุ รา กาแฟ ก่อนนอน
8. หากิจกรรมให้ผสู้ ูงอายุทาในตอนกลางวัน
9. ดูแลรักษาโรคทางกายให้ทุเลา กรณี มีปัญหาเรื่ องเครี ยดวิตกกังวล คงต้องหาและให้การช่วยเหลือ
10. หากอาการนอนไม่หลับยังคงอยูเ่ ป็ นเวลานาน ควรปรึ กษาแพทย์เพื่อให้การบาบัดรักษาต่อไป
แนวทางการช่ วยเหลือเรื่ องการนอนไม่ หลับ
5. กรณี ที่ปริ มาณเวลานอนไม่พอ ก็ตอ้ งชี้ให้ผสู ้ ู งอายุเห็นประเด็นปั ญหาหรื อสาเหตุที่เกิดขึ้นและ
ต้องให้ผสู ้ ู งอายุรู้จกั จัดการชีวิตตนเองทาให้เวลานอนมากขึ้นให้ได้ เริ่ มจากคาพูดว่า “ก่อนหน้านี้
ทาอย่างไรจึงนอนได้เต็มอิ่ม นอนได้นาน” “ช่วงนี้คิดว่าอะไรเป็ นสาเหตุที่ทาให้รู้สึกว่าตนเอง
นอนไม่พอ พยายามลองนึกดูเพื่อจะได้ช่วยกันวางแผนการนอนให้ดีข้ ึน” และเมื่อหาสาเหตุได้
อาจให้คาแนะนาเพิ่มเติมได้ดงั นี้
- สามารถนอนพักได้ทุกเวลา ไม่ตอ้ งกังวลว่าจะนอนไม่พอ
- ถ้านอนไม่หลับจะลุกขึ้นมาทากิจกรรมอะไรก็ได้เช่นฟังวิทยุ ดูทีวี จนง่วงแล้วค่อยหลับต่อ
- ร่ วมกันกับผูส้ ู งอายุในการวางแผนการนอนใหม่ให้เหมาะสมกับสภาพความเป็ นจริ ง
- ปรับสุ ขลักษณะการนอนให้ดีดงั คาแนะนาข้างต้น

การส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สงู อายุ
การส่งเสริมสุขภาพจิตผูส้ งู อายุ
(กรมสุขภาพจิต, 2555)
 เป้าหมาย : เพื่อป้ องกันปั ญหาสุ ขภาพจิตในผูส้ ู งอายุ
 สาระ :
 เพื่อที่จะพัฒนาความสุ ขเชิงจิตวิทยาในผูส้ ู งอายุจาเป็ นต้องนิยามความสุ ขที่
พร้อมจะปฏิบตั ิและสามารถวัดในเชิงสัมพันธ์ได้ กรมสุ ขภาพจิตนาเสนอ
แนวคิดเรื่ องสุ ข 5 มิติ เพื่อส่ งเสริ มสุ ขภาพและป้ องกันโรคในผูส้ ูงอายุที่จะ
ส่ งเสริ มให้ผสู ้ ูงอายุมีสุขภาพจิตดี ดังนี้
การเสริมสร้ างความสุข 5 มิติ
 1. สุ ขสบาย (Health)
หมายถึง ความสามารถของผูส้ ู งอายุในการดูแลสุ ขภาพร่ างกายให้
มีสมรรถภาพร่ างกายที่คล่องแคล่วมีกาลัง สามารถตอบสนองต่อ
ความต้องการทางกายภาพได้ตามสภาพที่เป็ นอยูม่ ีเศรษฐกิจ หรื อ
ปัจจัยที่จาเป็ นพอเพียงไม่มีอุบตั ิเหตุหรื ออันตราย มีสภาพแวดล้อม
ที่ส่งเสริ มสุ ขภาพ ไม่ติดสิ่ งเสพติด
 กิจกรรม: เน้นการออกกาลังกายเพื่อความคล่องแคล่วว่องไว
2. สุขสนุก (Recreation)
 หมายถึง ความสามารถของผูส้ ู งอายุในการเลือกวิถีชีวิตที่รื่นรมย์
สนุกสนาน ด้วยการทากิจกรรมที่ก่อให้เกิดอารมณ์เป็ นสุ ข จิตใจสดชื่น
แจ่มใส กระปรี้ กระเปร่ า
 วิธีส่งเสริ มให้เกิดความสุ ขสนุกเพื่อคลายเครี ยด
 เข้าร่ วมกิจกรรมนันทนาการ หรื อกิจกรรมต่างๆที่สร้างความสดชื่น และมี
ชีวิตชีวาอย่างสร้างสรรค์และดีงาม
 เล่นกีฬา ดนตรี ศิลปะหรื องานอดิเรกที่ชอบ
3. สุขสง่ า (Integrity)
 หมายถึง ความรู ้สึกพึงพอใจในชีวิต ความภาคภูมิใจในตนเอง ความเชื่อมัน่ ในตนเอง
ยอมรับนับถือตนเอง ให้กาลังใจตนเองได้ เห็นอกเห็นใจผูอ้ ื่น มีลกั ษณะเอื้อเฟื้ อแบ่งปั น
และมีส่วนร่ วมในการช่วยเหลือผูอ้ ื่นในสังคม
 วิธีส่งเสริ มให้เกิดความสุ ขสง่าเพื่อส่ งเสริ มความภาคภูมิใจและความมีคุณค่าในตนเอง
 1. พยายามช่วยเหลือตนเองในเรื่ องง่ายๆ เพื่อไม่ให้เป็ นภาระกับคนอื่น เช่น กิจวัตร
ประจาวัน งานบ้านเล็กๆน้อยๆ การดูแลเด็กเป็ นต้น
 2. ฝึ กการเป็ นผูฟ้ ังที่ดีเพื่อสร้างปฏิสมั พันธ์อนั ดีกบั ผูอ้ ื่น ด้วยการไม่แทรกหรื อขัดจังหวะ
ขณะที่ผอู ้ ื่นพูด ยกเว้นกรณี ที่สงสัยสิ่ งที่ผพู ้ ดู กาลังพูด ต้องฟังอย่างตั้งใจเพื่อจะได้เก็บ
เรื่ องราว ความคิด อารมณ์ ความรู ้สึกของผูพ้ ดู ขณะพูด เพื่อเป็ นผูใ้ ห้คาแนะนาปรึ กษาใน
เรื่ องที่ตนเองถนัด หรื อมีประสบการณ์
3. สุขสง่ า (Integrity)
 3. ฝึ กวิธีการตั้งคาถามเพื่อจะได้ใช้เป็ นหัวข้อในการพูดคุยสนทนากับผูอ้ ื่น อาจเริ่ มต้น
ด้วยการชวนพูดคุยเรื่ องที่ลกู หลานกาลังทาอยู่ เรื่ องเทคโนโลยี เรื่ องข่าวสารที่กาลังเป็ น
ประเด็น เพื่อจะได้ทนั เหตุการณ์และโลกในปั จจุบนั ได้
 4.ไม่จูจ้ ้ ีข้ ีบ่นและระวังการใช้คาพุดที่รุนแรงที่อาจทาให้การสนทนาไม่สร้างสรรค์
 5. หากิจกรรมที่ทาให้เพลิดเพลิน ไม่หมกมุ่นอยูก่ บั ความคิดเดิมๆ อาจเป็ นกิจกรรมที่
ชื่นชอบ หรื อกิจกรรมแปลกใหม่เพื่อสร้างประสบการณ์การเรี ยนรู ้สิ่งใหม่
 6. ช่วยเหลือกิจกรรมต่างๆทั้งในครอบครัว และชุมชนตามศักยภาพที่ตนเองมี
4.สุขสว่ าง (Cognition)
 หมายถึง ความสามารถของผูส้ ู งอายุดา้ นความจา ความคิดอย่างมีเหตุผล การ
สื่ อสาร การวางแผน และการแก้ไขปัญหา ความสามารถในการคิดแบบ
นามธรรม รวมทั้งความสามารถในการจัดการสิ่ งต่างๆอย่างมีประสิ ทธิภาพ
 วิธีส่งเสริ มให้เกิดความสุ ขสว่างเพื่อชะลอความเสื่ อมของสมองในด้านต่างๆ
 ฝึ กการเรี ยนรู ้สิ่งใหม่ๆ ที่ไม่คุน้ เคยหรื อไม่เคยรู ้มาก่อนเช่น ทากิจกรรมด้วย
มือข้างที่ไม่ถนัด ทากิจวัตรประจาวันที่ไม่เคยทา
 รวมกลุ่มกับเพื่อนๆ หรื อกลุ่มวัยอื่นๆเพื่อพบปะพูดคุย แลกเปลี่ยนความ
คิดเห็น
4.สุขสว่ าง (Cognition)
- ฝึกประสานระหว่างมือ ตา และเท้า ด้วยการฝึกหยิบจับวัตถุชิ้นเล็กๆ เช่น ร้อย
ลูกปัด เป็ นต้น เล่นเกมส์ที่สามารถฝึกฝนด้านความจาหรื อฝึกสมองได้ เช่น
หมากรุ ก อักษรไขว้ ต่อคา ต่อเพลง คิดเลข หรื อการจดจาข้อมูลต่างๆ เช่น วัน
เวลา สถานที่ บุคคล หมายเลขโทรศัพท์ เป็ นต้น
 ฝึ กคิดแบบมีเหตุผล พยายามใช้เหตุผลตรวจสอบหาข้อเท็จจริ ง ไตร่ ตรองให้
รอบคอบจะได้ไม่ตกเป็ นเหยือ่ ให้ใครหลอกได้ อาจเริ่ มจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
แล้วให้บอกเหตุผลเพื่อตรวจสอบหาข้อเท็จจริ งมาใช้สนับสนุนหรื อคัดค้าน หรื อ
ฝึ กคาดคะเนความเป็ นไปได้ของเหตุการณ์ หรื อข้อมูลโดยมีการนาข้อมูลที่เชื่อถือ
ได้มาอ้างอิง และสรุ ปเป็ นการคาดคะเนของตนเอง
กรุ ณาเรี ยงคาให้ เป็ นประโยค
1) นา้
หวาน ระเพ็ด
เชื่อม เหมือน
เหมือน ตาล บอ ขม เขา แต่
2) ไม่
รู้ จกั
เสื อ มอด จอด เอา เข้ า
มา เอา เข้ า แหย่ ไม่
เธอ
มา ไม้
รู้ จกั เรือ
5.สุขสงบ (Peacefulness)
 หมายถึง ความสามารถของผูส้ ู งอายุในการรับรู ้ เข้าใจความรู ้สึกของตนเอง รู ้ จกั ควบคุม
อารมณ์ และสามารถจัดการกับสภาวะอารมณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ สามารถ
ผ่อนคลายให้เกิดความสุ ขสงบกับตนเองได้ รวมทั้งสามารถปรับตัวและยอมรับสภาพที่
เกิดขึ้นตามความเป็ นจริ ง
 วิธีส่งเสริ มให้เกิดความสุ ขสงบเพื่อปรับความคิด บริ หารจิตให้เกิดสติ สมาธิ
 1. นัง่ ในท่าสบาย ฝึ กหายใจช้าๆลึกๆ ใช้กล้ามเนื้อกระบังลมบริ เวณท้องช่วย โดยหายใจ
เข้าท้องป่ อง นับเลข1-4 กลั้นหายใจไว้นบั 1 - 4 และหายใจออกช้าๆนับ1-8ให้ทอ้ งแฟบ
ทาซ้ าๆเมื่อรู ้สึกเครี ยด หงุดหงิด โกรธ หรื อไม่สบายใจ
5. สุขสงบ (Peacefulness)
่ ให้มากขึ้น อย่าเข้มงวด จับผิดหรื อตัดสิ นผิดถูกตนเอง และผูอ้ ื่นอยู่
 2. ฝึ กคิดยืดหยุน
ตลอดเวลา รู ้จกั ผ่อนหนักเป็ นเบา ลดทิฐิมานะ รู ้จกั ให้อภัยไม่ถือโทษโกรธเคือง และ
ปล่อยวาง ชีวิตจะได้มีความสุ ขมากขึ้น
 3. ฝึ กคิดแต่เรื่ องดีๆเช่น คิดถึงประสบการณ์ที่ดี คิดถึงความสาเร็ จในชีวิตที่ผา่ นมา คา
ชมเชยที่ได้รับ ความมีนา้ ใจของเพื่อนบ้าน เป็ นต้น
 4. ฝึ กคิดถึงคนอื่นบ้าง อย่าคิดหมกมุ่นกับตนเองเท่านั้น เปิ ดใจให้กว้าง รับรู ้ความเป็ นไป
ของคนอื่น เริ่ มต้นง่ายๆจากคนใกล้ชิดด้วยการใส่ ใจช่วยเหลือ สนใจเอาใจใส่ คนใกล้ชิด
เราบ้าง จากนั้นหันกลับไปมองคนรอบข้างที่มีปัญหาหนักหน่วงในชีวิต
 5. ทาสมาธิ เจริ ญสติ ภาวนา