การให้กำลังใจ

Download Report

Transcript การให้กำลังใจ

BA./BI./BC.
การให้ คาปรึกษาแบบสร้ างแรงจูงใจเพือ่ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
และแก้ ปัญหาสารเสพติด
นพ.เทอดศักดิ์ เดชคง
กรมสุ ขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุ ข
1 ผมอยากออกกาลังกาย ผมควรเริ่ มยังไงดี
2 ผมถูกจับเรื่ องตรวจพบฉี่ ม่วง ถ้าผมเลิกยุง่ กับยาบ้า
ผมจะถูกส่ งไปสถานพินิจไหมครับ
3 ผมตั้งใจเลิกยาบ้า จะเริ่ มเรี ยน กศน. ผมควรทายังไงบ้าง
Motivational Interviewing
directive , Client - Centered Counseling style
for eliciting Behavioral Change by helping Clients
to explore and resolve ambivalence
(Stephen Rollnick
William Miller 1995)
Motivational interviewing
ความหมาย : การสนทนา(สื่อสารสองทาง)เพื่อ สร้างแรงจูงใจ
ในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้สง่ เสริมสนับสน ุนการมีพฤติกรรม
ส ุขภาพ
Motivational Counseling
การให้คาปรึกษาแบบสร้างแรงจูงใจ
ความหมาย : การให้คาปรึกษาแบบเน้นการสร้างแรงจูงใจ
: การช่วยเหลือ Cl โดยใช้ การสื่อสารสองทาง
เพื่อ สร้างแรงจูงใจ และ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้สง่ เสริม
สนับสน ุนการมีพฤติกรรมส ุขภาพ
: พฤติกรรมส ุขภาพ ได้แก่ การออกกาลังกาย
การมาตรวจตามนัด การรับประทานยาต่อเนื่อง
การงดส ุรา/สารเสพติด เรียนหนังสือ ฯลฯ
Motivational Counseling Process
1 สร้างสัมพันธภาพ
และ Affirmation
2 ตกลงบริ การ
ประเมินระดับแรงจูงใจ
5 สรุ ปและวางแผน
(perspective on change)
ให้กาลังใจ
เปิ ดโอกาสให้มาปรึ กษาได้อีก
4 ให้ขอ้ มูล/ข้อเสนอแนะ
แบบมีทางเลือก/ชวนแก้ปัญหา
3 รวบรวมข้อมูล
สารวจปัญหา(ค้ นหาและสนับสนุนแรงจูงใจ)
5-10 นาที
20-30 นาที
40-60 นาที หลายครั้ง
สถานการณ์ที่ 1 คู่ปรับ
คู่ปรับทีส่ ู สี?
สถานการณ์ ที่ 2
เร่ งรัดผลักดัน
ผลักดันการเปลีย่ นแปลง
สถานการณ์ ที่ 3
กดดัน บีบบังคับ
การดิน้ รน
สถานการณ์ ที่ 4 มีเป้าหมายร่ วมกัน
ค้ นหา ความร่ วมมือ สอดคล้ อง และเป้าหมายเดียวกัน
พายเรือไปในทางเดียวกัน
สถานการณ์ ที่ 4 มีเป้าหมายร่ วมกัน
ใครล่ะที่มีความสาคัญสาหรับเขา/เธอ?
Motivational Counseling
การให้คาปรึกษาแบบสร้างแรงจูงใจ
ความหมาย : การให้คาปรึกษาแบบเน้นการสร้างแรงจูงใจ
: การช่วยเหลือ Cl โดยใช้ การสื่อสารสองทาง
เพื่อ สร้างแรงจูงใจ และ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้สง่ เสริม
สนับสน ุนการมีพฤติกรรมส ุขภาพ
: พฤติกรรมส ุขภาพ ได้แก่ การออกกาลังกาย
การมาตรวจตามนัด การรับประทานยาต่อเนื่อง
การงดส ุรา/สารเสพติด เรียนหนังสือ ฯลฯ
5-10 นาที
ประเด็น - ประเด็นที่สนใจ/มีปัญหา
วัตถุประสงค์ สร้ างความตระหนัก มองเห็นปัญหา
- หลักฐานของปัญหา
ทราบข้ อมูลหากจะแก้ ไข
- แนะนาการรักษา/ทางเลือก
20-30 นาที
วัตถุประสงค์ สร้ างความตระหนัก มองเห็นปัญหา
ทราบข้ อมูลการแก้ ไข
วางแผนระยะสั้ นได้
ประเด็น - ประเด็นที่สนใจ/มีปัญหา
- หลักฐานของปัญหา
- แนะนาการรักษา/ทางเลือก
40-60 นาที หลายครั้ง
วัตถุประสงค์ สร้ างความตระหนัก
สามารถวางแผน
ก้าวข้ าม Barrier
- เน้ นเป้ าหมายทีเ่ จาะจง
- การวางแผนและติดตามแผน
การให้ กาลังใจ / สนับสนุน
- แก้ไข Barrier
Motivational advice in Emergency Room
Adolescent Alcohol related injury level 1 injury
Standard Care VS
Brief Advice
Alcohol ลด(ระยะสั้น)
Injury ลด(นาน)
3 mo
1 yr
การวัดผลของ intervention ทาได้ หลายอย่ าง
Nancy Barnett, Ph.D., Brown University
WHO - RPAH Early Intervention Trial
Interventions

No treatment control

Simple advice
(5 minutes plus leaflet)

Advice and brief counselling
(20 minutes plus manual)

Advice and extended counselling
(40 minutes over 2 or 3 sessions)
BA
BI
MC
ตัวอย่ างกรณีแอลกอฮอล์
WHO - RPAH Early Intervention Trial
Components of Simple Advice
(1)

Feedback of alcohol intake levels

Comparison with Australian normative data

Personalise the link between hazardous consumption and risk or
existence of harm
WHO - RPAH Early Intervention Trial
Components of Simple Advice
(2)

Describe a “standard drink”

Describe “sensible and safe” drinking limits (maximum)
Men = 4 drinks 4 times per week
Women
= 3 drinks 3 times per week

Ask patient to read leaflet
WHO - RPAH Early Intervention Trial
Results at nine months
Average weekly alcohol intake (grams)
Condition
Intake at
Recruitment
Intake at
Follow up
% reduction
Control
402
402
0
Simple advice
424
307
27.5
Advice and
counselling
480
341
29.0
Extended
counselling
460
285
38.0
Weekly Alcohol Intake in Brief
Intervention and Control
Group
Fleming et al (2002)
คาสาคัญ
Readiness to Change
พร้ อมจะเปลี่ยน
- เป็ นภาวะที่สาคัญในการเปลีย่ นแปลงตนเอง
- Ambivalence หรือลังเล เป็ นสิ่ งปกติ
- การประเมินจะบอกได้
- การเตรียม Cl ให้ พร้ อมถึงเป็ นหัวใจหลัก
6
5
คิดอยู่บ้าง
/ ลังเล
เป็ นนิสัย
4
พฤติกรรมนั้นคือ......(A)
เผลอไป
ทาได้ บ่อย
ตัดสิ นใจทา
3
2
มองไม่ เห็น
/เพิกเฉย
1
6
Stages of change
เผลอไป
5
คิดอยู่บ้าง
เป็ นนิสัย
มองไม่ เห็น
2
4
ทาได้ บ่อย
ตัดสิ นใจทา
3
1
(Prochaska และ
Di Clemente 1982)
ลาดับขั้นตอนของแรงจูงใจในการเปลีย่ นแปลงตนเอง
Trans theoretical Model
เกิดจากการศึกษาในผป.สารเสพติด
แรงจูงใจมีลกั ษณะเป็ นขั้นตอน
จากน้อยไปมาก มิใช่อยูๆ่ ก็เปลี่ยนแปลงตนเองได้
Health Believe Model
เกิดจากการศึกษาในปัญหาพฤติกรรมสุ ขภาพ
การเพิ่มแรงจูงใจเกิดจากขั้นตอนที่เริ่ มจากการมองเห็นปัญหา
Health Belief Model
ทฤษฏีแบบแผนความเชื่อด้ านสุ ขภาพ
1 รู ้ความเสี่ ยงของตน
2 รู ้ความรุ นแรงของปัญหา
3 รู ้ทางแก้ไข
4 ได้รับผล “กาไร” จากการแก้ไข
1 Susceptibility
2 Seriousness
3 Action
4 Benefit
+
Stages of change
Health believe model
6
ตระหนักว่ า
ความเสี่ ยง
นีร้ ้ ายแรง
เผลอไป
5
2
เป็ นนิสัย
4 ทาได้บ่อย
มองไม่ เห็น
คิดอยู่บ้าง
3
ตัดสิ นใจทา
รับรู้ ทางแก้ ไข รับรู้ ความเสี่ ยง
ได้ รับผลดีจาก
การทดลอง
1
Basic Concept and Skills การให้คาปรึ กษา
Principles หลักการสาคัญ
Micro Skills เทคนิค/ทักษะย่อย
Counseling technique
1 Basic skills
2 Micro Skills of MC.
* องค์ประกอบที่จาเป็นในการให้คาปรึกษาแบบสร้างแรงจูงใจ
1. แสดงความเห็นใจ Express empathy
2. ชี้ให้เห็นความขัดแย้งในตนเอง Develop Discrepancy
3. แนะนา แบบมีทางเลือก Advice with menu
4. ไม่เถียงด้วย Avoid argumentation
5. กลิ้งไปกับแรงต้าน Roll with Resistance
6. สนับสน ุนความมัน่ ใจในตนเอง Increase self - efficacy
* องค์ประกอบที่จาเป็นในการให้คาปรึกษาแบบสร้างแรงจูงใจ
1. แสดงความเห็นใจ Express empathy
2. ชี้ให้เห็นความขัดแย้งในตนเอง Develop Discrepancy
3. แนะนา แบบมีทางเลือก Advice with menu
4. ไม่เถียงด้วย Avoid argumentation
5. กลิ้งไปกับแรงต้าน Roll with Resistance
6. สนับสนุนความมัน่ ใจในตนเอง Increase self - efficacy
DEAR MI
ทักษะการสนทนา สนทนาด้ วยกุหลาบ
Micro Skills (OARES)
(A ROSE)
1. ถาม Open Ended Question
2. ชื่นชม Affirm the Cl
3. สะท้อน Reflect What the person says
4. สนับสนุนกาลังใจ(Encourage)
5. สรุ ป (Summarize Perspectives on Change)
ถาม Open Questions?
ช่ วยค้ นหาข้ อมูล
ช่ วยกระตุ้นแรงจูงใจ เช่ น
อะไรทาให้ คุณอยากเสพยาบ้ าน้ อยลง
คุณเสพมานานแล้ วแต่ เพราะอะไรทาให้ คุณอยากเลิกในวันนี้
มีสิ่งใดทีส่ าคัญต่ อคุณมากๆ?
ชื่นชม Affirm What?
1 การตัดสิ นใจ
“ผมเห็นด้ วยกับการตัดสิ นใจออกกาลังกายของคุณ”
“สุ ขภาพดีขนึ้ ไม่ เหนื่อยง่ ายเพราะช่ วงนีค้ ุณกินยาต่ อเนื่อง”
2 ความรู้ สึกเช่ น
“คุณทาสิ่ งทีล่ ูกชื่นชมยกย่ อง”
3 พฤติกรรมโดยเฉพาะความพยายาม เช่ น
“คุณมีความตั้งใจเหมือนกันเพราะผมทราบมาว่ าคุณมาไกล”
สะท้อน Reflects What?
1 ปัญหาทีป่ ระสบ/นามาเช่ น
“คุณบอกว่ าอาจมีปัญหากับหัวหน้ า”
2 ผู้คนทีผ่ ลักดันเขาอยู่เช่ น
“ทาไมเพือ่ นคนนีถ้ ึงอุตส่ าห์ พาคุณมา”
3 สิ่ งที่ Concern เช่ น
“คุณรู้ สึกกลัวเพราะเพือ่ นป่ วยหนัก”
4 อนาคตทีต่ ้ องการเช่ น
“ทาไมคุณถึงเป็ นห่ วงอนาคต”
ไม่รีบเห็นด้วย
แต่จงทาให้ “ชัด”
ทักษะการให้ กาลังใจ(Encouragement)
การให้ กาลังใจ เป็ นทักษะที่ใช้กบั ปัญหาทางด้านจิตใจ โดยช่วยให้
ผูร้ ับการปรึ กษาสามารถมองเห็นด้านที่เป็ นบวกของตนเองและสถานการณ์
ซึ่งจะทาให้ผรู ้ ับการปรึ กษา มีความมัน่ ใจ มีความคาดหวังและส่ งเสริ มความ
พยายามแก้ไขปัญหา การให้กาลังใจนี้ตอ้ งอิงอยูบ่ นศักยภาพของผูร้ ับการ
ปรึ กษาด้วย
วัตถุประสงค์ ของการใช้ ทกั ษะการให้ กาลังใจ
1. เพื่อกระตุน้ ให้ Cl ได้รู้วา่ มีคนเข้าใจเขาไม่ได้เผชิญปัญหาเพียงลาพัง
2. ช่วยให้ Cl รู ้วา่ ตนเองมีศกั ยภาพ มีคุณค่าต่อตนเองและสังคม
3. ช่วยลดความรู ้สึกท้อแท้ของ Cl
นาไปสู่ ความตั้งใจในการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม
สรุ ป Summary ?
สรุปอะไรบ้ าง? สรุปปัญหา
สรุ ปสาเหตุหรือสิ่ งจูงใจทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงตนเอง
หากมีแผนการแล้ วก็สามารถสรุปแผนได้
อาจถามให้ ผู้รับการปรึกษาช่ วยสรุปก็ได้
กิจกรรม H-1
1 แบ่ งเป็ นกลุ่มย่ อย
2 ใช้ กรณีตนเองซึ่งมีประเด็นพฤติกรรมสุ ขภาพทีน่ ่ าจะแก้ ไข(A)
(แต่ ยงั ลังเลใจ)
กรณีของ ด.ช.ทยาน/ด.ญ.บังอร
3 สมาชิกในกลุ่ม “ช่ วยกัน” สนทนาโดยใช้ หลัก OARES
เพือ่ กระตุ้นแรงจูงใจในการเปลีย่ นแปลงตนเอง
4 สมาชิก***สั งเกตการใช้ ทกั ษะ
A
ด.ช.ทยาน รักการเรี ยน
อายุ 15 ปี เรี ยน ชั้นมัธยม 3
ถูกจับเพราะมียาบ้า 1 เม็ด ปัสสาวะม่วง
พ่อแม่อยูด่ ว้ ยกันทางานรับจ้างไม่ค่อยมีเวลา สนิทกับพี่สาวที่มาด้วย
B
ด.ญ.บังอร มีบุญมาก
อายุ 15 ปี เรี ยน ชั้นมัธยม 3
ถูกจับเพราะมียาบ้า 1 เม็ด ปัสสาวะม่วง
พ่อแม่อยูด่ ว้ ยกันทางานรับจ้างไม่ค่อยมีเวลา สนิทกับพี่สาวที่มาด้วย
แบบสั งเกต *** กิจกรรม H- 2
1 คาถามเปิ ดทีก่ ระตุ้นแรงจูงใจ(Open question)
มีได้ แก่ .....................
2 แสดงความชื่นชม(Affirmation)
มีได้ แก่ .....................
3 สะท้ อนถึงแรงจูงใจ(Reflection)
มีได้ แก่ .....................
4 ให้ กาลังใจ(Encouragement)
มีได้ แก่ ....................
5 สรุป ความสาคัญ(Summarization)
มีได้ แก่ .....................
1 BA;Brief Advice
การให้ คาแนะนาแบบสั้ น
2 BI;Brief Intervention
การให้ คาปรึกษาแบบสั้ น
3 BC;Brief Counseling
การให้ คาปรึกษาระยะสั้ น
เครื่ องมือที่ใช้
1 Two Questions Test ถามความตั้งใจ
2 Change Ruler ไม้บนั ทัดวัดใจ
3 Change Believe เปลี่ยนความเชื่อ
4 Solve Ambivalence แก้ความลังแล
5 Managing Resistance จัดการกับแรงต้าน
หลักการสาคัญ
ใช้ ในผู้ทมี่ ีแรงจูงใจอยู่บ้าง
เน้ นเสริมแรงความตระหนัก
การประเมินปัญหาทั้งความรู้ และแรงจูงใจ
แนะนา-ให้ ข้อมูล
ตั้งเป้าหมายที่ชัดเจน
วางแผนเพือ่ ไปยังเป้าหมาย
เป็ นการช่ วยเหลือแบบครั้งเดียวจบ(แต่ นัดต่ อได้ )
เน้ นเรื่องที่สาคัญเท่ านั้น
ใช้ เวลา 20-30 นาที
A
Readiness to Change
Rulers
0 1 2 3 4 5 6 7 8
Not Prepare
to change
Willingness to change
9 10
Already
changing
(Zimmerman:2000)
B
ไม้บนั ทัดวัดใจ
0 1 2 3 4 5 6 7 8
ไม่ พร้ อมทีจ่ ะเปลีย่ นแปลง
หรือยากทีจ่ ะเปลีย่ น
9 10
แก้ ไขหรือเปลีย่ นแปลงได้ แล้ ว
(Zimmerman:2000)
คำถำมที่ควรมี
1. หำก Cl เลือกทำงซ้ำย
- คุณจะรูไ้ ด้อย่ำงไรว่ำเมื่อไรควรเปลี่ยนแปลงตนเอง
- มีสญ
ั ญำณอะไรไหมที่จะเตือนเรือ่ งนี้
- คุณต้องกำรอะไร? อยำกได้อะไร? (เช่นสุขภำพดี)
- ควำมเชื่อมโยงของ”สิ่งที่ต้องกำร” กับ”สิ่งที่ทำอยู่”
คำถำมที่ควรมี
2. หำกอยู่ระหว่ำงกลำง
1. ทำไมคุณถึงไม่เลือกทำงซ้ำย (อะไรที่จงู ใจ)
2. อะไรจะช่วยดึงคุณไปทำงขวำได้
3. กำรพยำยำมเปลี่ยนแปลงนี้ ทำให้คณ
ุ พบสิ่งดีๆอะไรบ้ำง
3. หำกอยู่ทำงขวำ
1. ทำไมไม่เลือกทำงซ้ำย(หรือกลำงๆ)
2. มีอะไรที่ดึงคุณไปทำงขวำได้อีก(หรือเต็ม 10 )
คำถำมที่ควรมี
4. เมื่อเกิดควำมก้ำวหน้ ำ
1. เกิดสิ่งดีๆใดบ้ำง
2. อะไรที่ช่วยให้ทำได้
5. หำก Pt สำมำรถผ่ำน step สำคัญได้
1. อะไรทำให้คณ
ุ ตัดสินใจเช่นนัน้
2. วิธีกำรอะไรที่ work
3. มีอะไรที่ช่วยได้อีกบ้ำง
คำถำมที่ควรมี
6. หำก Maintenance ได้
- ดีใจด้วย
- อะไรที่ช่วยคุณได้
- อะไรที่ได้ผล
- อะไรเป็ นสถำนกำรณ์เสี่ยงที่ต้องระวัง
7. หำกล้มเหลว
- อะไรที่ได้ผลสักระยะหนึ่ ง
- เรียนรูอ้ ะไรบ้ำง
- ต้องพยำยำมอีก
1. ไม่ ใช่ ปัญหา
2. ต้ องใช้ /ทำ เพือ่ ………
3. ทนการเย้ ายวนได้ ยาก
4. ถ้ าหยุดจะเสี ย…… (เพือ่ น)
5. ใคร ๆ ก็ใช้ /ทำ
6. การรักษาเป็ นเรื่องเสี ยเวลาเปล่ า
ใบกิจกรรม I-2
สิ่ งที่สังเกต 1 สั มพันธภาพ.................................
2 การประเมิน..................................
3 การถาม(หรือ feedback) สร้ างความตระหนัก..........
4 การให้ ข้อมูล.................................
5 การตั้งเป้าหมาย...........................
6 การวางแผนทีช่ ัดเจน(ไม่ มากแต่ เป็ นรู ปธรรม)/menu...
7 การสรุ ป/นัดหมาย...
Developing Discrepancies
การเน้ นและชี้ให้ เห็นความแตกต่ างของสิ่ งทีท่ าอยู่ กับสิ่ งที่ต้องการ
วิธีการกระตุ้น 1. การถามถึงอนาคต / มองไปในอนาคต
2. ถามถึงเป้าหมายในชีวติ
อาจเป็ นตัวเอง/คนทีร่ ัก/
3. ถามถึงอดีตที่ดกี ว่ า
คุณค่ า/ความเชื่อ
4. ถามถึงสิ่ งเลวร้ ายสุ ด ๆ ทีเ่ ป็ นไปได้
5. ถามถึงสิ่ งทีด่ สี ุ ด ๆ ทีเ่ ป็ นไปได้
“คุณบอกว่ าอยากมีร่างกายแข็งแรง และก็ได้ ยนิ ว่ าคุณไม่ อยากออก
กาลังกาย”
หากใช้ คาถามได้ ถูกต้ องตรงใจ
การสร้างสัมพันธภาพ
(อาจใช้ เครื่องมือประเมินแรงจูงใจ)
การสนทนาสร้างแรงจูงใจ การถามให้คิด
การแสดงความชื่นชม
การสะท้อนให้เห็นแรงจูงใจ
การสรุ ปเหตุผลและแรงจูงใจ
การให้ขอ้ มูลที่จาเป็ น บอกเล่า เอกสาร เบอร์โทร
จบการสนทนา
สรุ ป คาดหวังและให้กาลังใจ
กระบวนการ
1 สั มพันธภาพ(ทักทาย/เกริ่น/ด้ านบวก)
2 ประเมินแรงจูงใจ
3 ถามเพือ่ สร้ างแรงจูงใจ(develop discrepancy)
4 จัดการกับแรงต้ าน(breaking resistance)
5 กาหนดเป้าหมาย-วางแผน/ประยุกต์
6 ให้ กาลังใจ-คาดหวังด้ านบวก/สรุ ป-นัดหมาย
Motivational Counseling Process
1 สร้างสัมพันธภาพ
และ Affirmation
2 ตกลงบริ การ
ประเมินระดับแรงจูงใจ
5 สรุ ปและวางแผน
(perspective on change)
ให้กาลังใจ
เปิ ดโอกาสให้มาปรึ กษาได้อีก
4 ให้ขอ้ มูล/ข้อเสนอแนะ
แบบมีทางเลือก/ชวนแก้ปัญหา
3 รวบรวมข้อมูล
สารวจปัญหา(ค้ นหาและสนับสนุนแรงจูงใจ)
Phases of Counseling
1 Opening Phase เน้นการสร้างความตระหนัก
การมองเห็นความเสี่ ยงและปัญหา
2 Subsequence Phase เน้นการวางแผนที่เหมาะกับวิถีชีวิต
การมองเห็นผลดีจากการเปลี่ยนแปลง
3 Ending Phase เน้นการมองเห็นประโยชน์และความก้านหน้า
การป้ องกัน-ระวังหลุมพราง
4 Relapse เน้นสิ่ งดีๆในช่วงที่ทาได้
บทเรี ยนที่ตอ้ งแก้ไข/ป้ องกัน
เมือ่ client มีแรงต้ าน
สังเกตได้จาก การถกเถียงและปฏิเสธความเป็ นไปได้ในการเปลี่ยนแปลงตนเอง
การนิ่งเฉยไม่ยอมวางแผนที่เป็ นรู ปธรรม
การไม่ติดตามการรักษา
เทคนิคจัดกำรกับ Resistance
- ไม่ควร ตำหนิ , ตัดสิน , เตือน (ถึงผลเสีย)
แปลควำมหมำย หรือถกเถียงมำกเกินไป
- ควร
1. ทวนควำมสัน้ ๆ เพื่อชี้ให้เห็น Discrepancy
2. ทวนควำมแบบ over
Cl ฉันไม่ได้ติดเหล้ำสักหน่ อย
Co เท่ำที่ร้สู ึกก็คือกำรดื่มเหล้ำไม่ทำให้เกิดปัญหำใดๆขึน้ เลย
Cl เปล่ำผมไม่ได้ บอกอย่ำงนัน้ มักก็มีปัญหำอยู่บำ้ ง
เทคนิคจัดกำรกับ Resistance (ต่อ)
3. Double side Reflection คือสนทนำทัง้ ข้อดีและข้อเสีย
4. เปลี่ยนเป้ ำหมำย
C ฉันหยุดดื่มไม่ได้หรอก
T ฉันไม่ได้บอกว่ำคุณจะต้องหยุดดื่ม หยุดหรือไม่ขึน้ อยู่กบั คุณเอง
แต่เรำมำคุยกันว่ำปัญหำสุขภำพของคุณจะวำงแผนแก้ไขอย่ำงไร
5. Rolling
C ฉันไม่มีเวลำ ออกกำลังกำยหรอก
T คุณคงรู้สีกดีที่สดุ เพรำะคุณคงรู้ว่ำตนเองว่ำงหรือไม่ว่ำงอย่ำงไร
กำรใช้เวลำไปออกกำลังกำยหรือไม่กข็ ึน้ อยู่กบั คุณเองอยู่แล้ว
ทีมวิทยากร กรมสุ ขภาพจิต
กระทรวงสาธารณสุ ข
[email protected]
www.drterd.com