คำถามเพื่อปลุกเร้า SMS การจัดการกับแรงต้าน Handling Resistance

Download Report

Transcript คำถามเพื่อปลุกเร้า SMS การจัดการกับแรงต้าน Handling Resistance

Module 3
Motivational Interviewing Skills
Pilot Training of MI & MET
for AUD Curriculum
Thai Motivational Interviewing Network (TMIN)
การสัมภาษณ์ เพื่อสร้ างแรงจูงใจ
Motivational Interviewing (MI)
 การให้ คาปรึกษาแบบยึดผู้ป่วยเป็ นหลัก (Client-centered
counseling) = Collaborative, Evocative, Autonomy
 มีทิศทาง เน้ นเป้าหมาย (Goal-directed) เพิ่มแรงจูงใจ
เพื่อการเปลี่ยนแปลง ลดความลังเล เพิ่มช่องว่างระหว่าง
สิ่งที่อยากมีอยากเป็ น กับสิ่งที่เป็ นอยู่ เสริ มศักยภาพในตน
 พัฒนาโดย Miller & Rollnick, 1991
 ขันตอนของการเปลี
้
่ยนแปลงพฤติกรรม
(Stage of Change; Prochaska & DiClemente)
Evocation-open
ended question
Empathy-reflection/
Summaries
CollaborationAffirmations
Autonomy-Client
Centered
MI Spirit
การสัมภาษณ์ เพื่อสร้ างแรงจูงใจ
Motivational Interviewing (MI)
 ทฤษฎีการรับรู้ ตนเอง (Self perception theory)
“As I hear myself talk, I learn what I believe”
“หากฉันได้ ยินสิ่งที่ฉนั คุยกับตนเอง ฉันก็ได้ เรี ยนรู้ในสิ่งที่ฉนั เชื่อ”
 เป้าหมายเพื่อกระตุ้นให้ ผ้ ป
ู ่ วยพูดข้ อความจูงใจตนเอง
(Self-motivational statement, SMS)
 การสนทนาเพื่อการเปลี่ยนแปลง (Change talk)
Elicit-Provide-Elicit (EPE) Approach
ข้ อความจูงใจตนเอง
Self-Motivational Statement (SMS)
 การตระหนักในปั ญหา (Problem Recognition)
“ผมเพิ่งจะรู้วา่ ผมมีปัญหา”
 ความกังวลกับปั ญหา (Concern)
“ผมกังวลกับมันจริ งๆ”
 ความตังใจที
้ ่จะเปลี่ยนแปลง (Intention to Change)
“คงต้ องหยุดแล้ ว ผมต้ องทาอะไรซักอย่าง”
 มองทางบวกสาหรับการเปลี่ยนแปลง (Optimism for Change)
“ผมมัน่ ใจว่าผมทาได้ ”
การสนทนาเพื่อการเปลี่ยนแปลง
Change Talk (DARN-CT)
• Desire – แสดงถึงความต้ องการที่จะเปลี่ยนแปลง
“ผมต้ องการพิสจู น์ตวั เองว่าทาได้ ”
• Ability – แสดงถึงศักยภาพในตนว่าเปลี่ยนได้ (Self-efficacy)
“ผมรู้วา่ ผมสามารถทาได้ ”
• Reasons – แสดงถึงเหตุผลสาหรับการเปลี่ยนแปลง
“ผมจะรู้สกึ โล่งอก ถ้ าผมแก้ ปัญหานี ้ได้ ”
การสนทนาเพื่อการเปลี่ยนแปลง
Change Talk (DARN-CT)
• Need – แสดงถึงความจาเป็ นในการเปลี่ยนแปลง
“ถ้ าผมไม่ดแู ลตนเอง ผมคงต้ องเจ็บป่ วย”
• Commitment – สัญญาว่าจะเปลี่ยนแปลง
“ผมจะกระทาสิ่งนี ้”
Commitment talk
ทำนำยถึงกำรเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม
• Taking step – แสดงถึงว่ากาลังลงมือทา
“ผมกาลังลงมือเปลี่ยนแปลงอยู่”
แรงต้ านในการเปลี่ยนแปลง
Resistance Talk
• Advantages of status quo – เป็ นข้ อความที่สะท้ อนถึง
ข้ อดีของการดื่มสุรา
“สุราช่วยคลายเครี ยด”
• Disadvantage of change – เป็ นข้ อความที่สะท้ อนถึง
ข้ อเสียของการเลิกสุรา
“ถ้ าเลิกดื่มสุรา ก็จะนอนไม่หลับ”
แรงต้ านในการเปลี่ยนแปลง
Resistance Talk
change – เป็ นข้ อความที่สะท้ อนถึง
ความไม่ตงใจที
ั ้ ่จะเปลี่ยนแปลง
“อีกไม่นานก็ตายแล้ ว ช่วงนี ้ขอดื่มต่อไปก่อน”
• Intention not to
– เป็ นข้ อความที่สะท้ อนถึง
การมองการเปลี่ยนแปลงไปในทางลบ
“ครัง้ นี ้ก็คงเลิกไม่สาเร็จ เพราะเคยเลิกมาหลายครัง้ แล้ ว”
• Pessimism about change
ใบงานที่ 1
Change Talk, Commitment Talk, Resistance Talk
หาผู้เข้ ารับการฝึ กอบรมได้ ยิน
 Change talk – ให้ ตบที่หน้ าตักของตนเอง
 Commitment talk – ให้ ปรบมือ
 Resistance talk – ให้ กม
ุ ศีรษะของตนเอง
ตัวอย่ างประโยค
• ผมอยากจะลดปริ มาณการดื่มลง
• เลิกไม่ยากหรอก มันอยูท
่ ี่ใจ
• ผมทาได้ ถ้ าผมพยายาม
• ถ้ าไม่เลิก ภรรยาคงเลิกกับผมแทน
• เมื่อวานผมปฏิเสธเพื่อนที่มาชวนดื่ม
• ไม่ได้ ดื่ม แล้ วหงุดหงิดอารมณ์ ไม่ดี
• เจ้ านายกาลังเพ่งเล็งผมอยู่
• ผมจะพยายามทาให้ ดีที่สดุ
• ผมวางแผนไปอยูก่ บ
ั ญาติสกั พักนึง
• เกือบจะดื่มแล้ ว คิดว่าเลิกแล้ ว
จะดื่มทาไม
• ผมควรรับประทานอาหารอะไรบ้ าง
• ผมกินยาบารุ งตับทุกวัน
• ผมรู้ สกึ แย่ เพราะทางานไม่ได้
• อีกไม่นานก็ตายแล้ วหมอ เลิกทาไม
• ผมกลัวความจาของผมเสื่อม
• เคยเลิกมาหลายครัง้ แต่ไม่สาเร็ จ
• ไม่ได้ ดื่มหนักเหมือนเก่า ดื่มแค่ช่วง
วันหยุด
ทักษะที่ผ้ ูให้ คาปรึกษาใช้ (OARS)

กำรถำมคำถำมปลำยเปิ ด
(Open-ended questioning)

กำรชื่นชมยืนยันรับรอง (Affirmation)

กำรฟั งอย่ ำงเข้ ำใจและสะท้ อนควำม
(Reflective listening)

กำรสรุ ปควำม (Summarization)
กำรถำมคำถำมปลำยเปิ ด
(Open-ended Questioning)
คาถามปลายเปิ ด กระตุ้นให้ ผ้ ปู ่ วยคิด พูด และได้ ยิน
• ถามอย่างมีทิศทางเพื่อกระตุ้นเร้ าข้ อความที่ดี
หรื อข้ อความที่จงู ใจตนเอง (SMS)
• กระบวนการถาม แล้ วค่อยบอก และถามต่อ
Elicit-Provide-Elicit (EPE)
•
Elicit-Provide-Elicit (EPE) Approach
 Elicit readiness and interest – ดึงความพร้ อม
และความสนใจในการเปลี่ยนแปลงออกมา
 “ผมมีข้อมูลบางอย่างเกี่ยวกับการประเมินสุขภาพของคุณ”
 “คุณเคยได้ ยินเรื่ องนี ้มาอย่างไรบ้ าง”
 “ดิฉน
ั ไม่แน่ใจว่าคุณอยากจะรู้เกี่ยวกับเรื่ องนี ้อย่างไร”
Elicit-Provide-Elicit (EPE) Approach
 Provide feedback naturally – ให้ ข้อมูลสะท้ อนกลับ
อย่างเป็ นธรรมชาติ
 “จากผลการตรวจพบว่า................”
 “จากความรู้ ทางการแพทย์ พบว่า...............”
 Elicit patient’s interpretation and follow it – ดึง
การแปลผลของผู้ป่วยออกมา และติดตามดู
 “คุณมีความเห็นอย่างไรบ้ าง”
 “คุณได้ รับผลกระทบจากสุราอย่างไรบ้ าง”
การเสนอข้ อแนะนา
Offering Advice
 Ask permission – ขออนุญาตก่อน
“ถ้ าคุณสนใจ ดิฉนั มีคาแนะนาให้ ลองพิจารณาดู”
 “ถ้ าคุณโอเค ดิฉน
ั จะเล่าถึงประสบการณ์ความสาเร็จ
ของผู้ป่วยอื่น เผื่อจะเป็ นทางเลือกให้ คณ
ุ ”
 Offer advice – ให้ คาแนะนา
 “ดิฉน
ั อยากจะให้ คณ
ุ ลองพิจารณา...............”
 “จากที่คณ
ุ เล่า ดิฉนั คิดว่าคุณจะประสบความสาเร็จ
ถ้ าคุณ.....”

การเสนอข้ อแนะนา
Offering Advice
 Emphasize choice – เน้ นที่ทางเลือก
“มันคงขึ ้นอยูก่ บั การตัดสินใจของคุณ”
 “ลองเลือกหนทางที่เหมาะกับตนเองดู”
 Voice confidence – น ้าเสียงมัน่ ใจ
 “ดิฉน
ั มัน่ ใจว่าคุณแก้ ปัญหาได้ หากคุณมุ่งมัน่ ”
 Elicit response – ดึงการตอบสนองออกมา
 “คุณคิดอย่างไรบ้ างเกี่ยวกับ........”

สิ่งที่เป็ นอุปสรรคต่ อการฟั งอย่ างตัง้ ใจ
อย่าชักชวน เทศน์สงั่ สอน สัง่ การ เตือน หมายหัว
หยาบคาย ท้ าทาย ให้ ความมัน่ ใจ
 อย่าเพิ่งรี บแนะนา เห็นด้ วย หรื อรี บให้ คามัน
่ สัญญา
 อย่าขึ ้นเสียงสูงหรื อเน้ นคาท้ ายๆ = คาถามปลายปิ ด
 อย่าตัดสินผิดถูก กล่าวหา ประชดประชัน
 อย่าใช้ คาพูดประโยคเดิมๆ ซ ้า เช่น ฟั งดู แบบว่า
คุณคิดว่า........
 อย่าเปลี่ยนเรื่ องเร็ วเกิน

การฟั งอย่ างเข้ าใจและสะท้ อนความ
(Reflective listening)
 Simple reflection (กำรสะท้ อนควำมแบบธรรมดำ)
 Repeating – ทวนความ
 Rephrasing – ทวนวลี
 Paraphrasing – ถ่ายทอดความ
 Complex reflection (กำรสะท้ อนควำมแบบซับซ้ อน)
 Client’s true meaning or feeling – ความหมายหรื อความรู้ สก
ึ ที่แท้ จริ ง
 Double-sided – สะท้ อนสองด้ าน ข้ อความที่ไม่ดี + ข้ อความที่ดี (SMS)
 Amplified – สะท้ อนความให้ หนักขึ ้น
 Minimizing – สะท้ อนความให้ เบาลง
 Metaphor – คาอุปมาอุปไมย
Reflection
C: “ผมไม่ได้ ดื่มทุกวัน ผมต้ องทางานหนักทังวั
้ น ผมต้ องการ
พักผ่อนในช่วงวันหยุด ผมจึงดื่มเบียร์ 6 ขวด”
T: “คุณดื่มเบียร์ 6 ขวด” (repeating) “เบียร์ 6 ขวด”
(rephrase)
T: “คุณดื่มเพื่อผ่อนคลาย” “คุณดื่มหนักเฉพาะช่วงวันหยุด”
(paraphrase)
C: “บางครัง้ ผมอาจจะเอ๋อเพราะสูบกัญชามากเกิน
แต่ก็ไม่ร้ ูวา่ แม่จะมาห่วงผมมากมายทาไม
ผมก็โตพอที่จะดูแลตัวเองได้ แล้ ว”
Reflection
T: “คุณไม่ชอบที่แม่หว่ งมากเกิน แต่บางครัง้ คุณก็กงั วลว่า
คุณสูบกัญชามากเกินจนสมองแย่ลง” (double-sided)
T: “คุณไม่ชอบให้ แม่มาทากับคุณเหมือนคุณเป็ นเด็กๆ”
(true meaning)
C: “ผมไปรักษามาก็หลายครัง้ ก็ยงั เลิกไม่ได้ ”
T: “คุณล้ มเหลวมาก็หลายครัง้ จนทาให้ คณ
ุ ท้ อใจ
แต่ขณะเดียวกันคุณก็ยงั มีใจอยากเลิกอยู่
คุณจึงได้ กลับมาหาหมอ” (double-sided)
Reflection
C: “แม่เป็ นห่วงผมมากเกินไป ชอบคอยจ้ องจับผิด”
T: “แม่ของคุณเป็ นคนที่น่าราคาญและไร้ เหตุผล” (amplified)
C: “ผมไม่ร้ ูวา่ จะกินยาไปทาไม ไม่เห็นจะช่วยให้ ดีขึ ้นอย่างไร”
T: “คุณคิดว่าไม่วา่ อะไรก็ช่วยคุณไม่ได้ ” (minimizing)
C: “ปั จจุบนั ผมสูบแค่กญ
ั ชา ไม่เหมือนก่อนที่สบู ยาบ้ า”
T: “คุณคิดว่าคุณดีขึ ้นกว่าเมื่อก่อนมาก เพราะคุณเสพ
สิ่งที่ไม่เป็ นอันตราย” (minimizing)
Reflection
C: “เพื่อนที่มหาลัยส่วนใหญ่สบู กัญชา”
T: “การสูบกัญชาเป็ นเรื่ องปกติของคุณและเพื่อนๆ” (minimizing)
C: “ช่วงแรกของการเลิกยา มันเผลอหลุดไปได้ งา่ ยจริ งๆ ต้ องคอย
ระมัดระวัง ”
T: “จริ งครับ คล้ ายกับการฝึ กขับจักรยานในช่วงเริ่ มต้ น”
(metaphor)
C: “แม้ ร้ ูวา่ เหล้ าเป็ นสิ่งที่ไม่ดีนะหมอ แต่ผมก็ยงั อยากจะดื่มมันอยู”่
T: “คล้ ายกับหนอนในกองอึ” (metaphor)
ใบงานที่ 2
Reflective Listening
 แบ่งกลุม่ ย่อย 3-4 คน สมาชิกคนที่ 1 เป็ นผู้รับคาปรึ กษา สมาชิก
คนที่ 2 เป็ นผู้ให้ คาปรึกษา สมาชิกที่ 3 และ 4 สังเกตการณ์
 ให้ ฝึกการพูดชักชวน (persuasion) โดยให้ สมาชิกคนที่ 1 ลองนึก
ถึงเรื่ องที่ตนเองลังเลใจ แล้ วให้ สมาชิกที่ 2 พูดโน้ มน้ าวด้ วยเหตุผล
3 อย่างที่สาคัญในการเลือกทางใดทางหนึง่ และแนะนาวิธีการ
เปลี่ยนแปลง ส่วนสมาชิกที่ 3 และ 4 สังเกตการณ์
 ให้ กลุม่ ย่อยฝึ ก Reflective listening โดยให้ สมาชิกคนที่ 1 พูดคุย
เรื่ องเดิม แล้ วให้ สมาชิกที่ 2 ใช้ Simple reflection ส่วนสมาชิกที่
3 และ 4 สังเกตการณ์
ใบงานที่ 3
Simple & Complex Reflection
แบ่งกลุม่ ย่อย 3-4 คน ให้ สมาชิกคนที่ 1 เป็ นผู้กล่าว
ประโยค สมาชิกคนที่ 2 ทา Reflection
สมาชิกที่ 1, 3 และ 4 ให้ การ feedback
 ผลัดกัน สมาชิกคนที่ 2 เป็ นผู้กล่าวประโยค
สมาชิกคนที่ 3 ทา Reflection
สมาชิกที่ 1, 2 และ 4 ให้ การ feedback
 ผลัดกันฝึ กบทบาทไปเรื่ อยๆ โดยพยายามใช้
complex reflection ให้ เพิ่มมากขึ ้น

การชื่นชมยืนยันรับรอง
Affirmations
เป็ นการเสริ มแรงต่อความคิดที่ดีงาม (SMS)
 สนับสนุนความคิดที่ดีงาม จุดแข็ง ความพยายาม
ศักยภาพในตน และความเชื่อมัน่ ในตนเอง
 ควรมีความเฉพาะเจาะจง – “ดีมากเลยที่คณ
ุ ....”
 เน้ นว่าเป็ นความคิดของผู้ป่วยเอง

การสรุ ปความ
Summarization
ควรมีการหยุดและสรุปเป็ นระยะๆ
 สรุ ปในสิ่งที่ผ้ ป
ู ่ วยคิดและพูด
เน้ นความคิดที่ดีงาม เพื่อเสริ มแรงทางบวก

ตัวอย่ างของ Summarization
 “จากที่พดู คุยกันมา ช่วงที่ผ่านมา คุณเริ่ มต้ นดื่มเพื่อเข้ าสังคม
การดื่มช่วยให้ คณ
ุ ผ่อนคลาย และคิดงานได้ ดีขึ ้น สุขภาพของคุณยังไม่
มีผลกระทบอะไร แต่ตอ่ มา คุณเป็ นห่วงเรื่ องการดื่มว่าจะทาให้ สขุ ภาพ
แย่ลง สุราทาให้ คณ
ุ ป่ วยเป็ นตับอักเสบ คุณมีอาการอ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร คุณเป็ นห่วงว่าหากยังคงดื่มต่อไป ไขมันจะพอกตับ
และเป็ นตับแข็งในที่สดุ ขณะเดียวกัน ภรรยาของคุณกาลังตังครรภ์
้
อยู่
คุณเป็ นห่วงว่า คุณจะไม่สามารถดูแลครอบครัวได้ หากคุณเป็ นอะไรไป
ภรรยาก็เป็ นห่วงสุขภาพของคุณ และที่สาคัญ คุณคิดว่า
การดื่มสุราจะเป็ นแบบอย่างที่ไม่ดีตอ่ ลูกของคุณในอนาคต
คุณอยากเป็ นพ่อที่ดีของลูกที่กาลังเกิดมา
มีอะไรที่ดิฉนั สรุปตกหล่นไปบ้ าง”
 “แล้ วคุณคิดจะทาอย่างไรต่อไปเกี่ยวกับเรื่ องการดื่มของคุณ”
กลยุทธ์ ในการปลุกเร้ า SMS
(Eliciting change talk or SMS)
 ถามเพื่อกระตุ้นเร้ า Evocative Questions



ถามตรงๆ
อย่าถามว่าเป็ นห่วงกังวลหรื อไม่ ให้ ถามว่ากังวลอย่างไร
สมมติวา่ บุคคลนันลั
้ งเลใจที่จะเปลี่ยนแปลง หรื อ stage 2
คาถามเพื่อปลุกเร้ า SMS
 กำรตระหนักในปั ญหำ (Problem Recognition)
“อะไรที่ทาให้ คณ
ุ คิดว่ามันเป็ นปั ญหา”
 “มันมีผลกระทบต่อคุณหรื อคนรอบข้ างอย่างไรบ้ าง”
 “มันเป็ นอุปสรรคต่อการบรรลุเป้าหมายในชีวิตของ
คุณอย่างไรบ้ าง”
 “คนอื่นพูดถึงเรื่ องนี ้อย่างไรบ้ าง”

คาถามเพื่อปลุกเร้ า SMS
 ควำมกังวลกับปั ญหำ (Concern)



“คุณเป็ นห่วงกังวลในเรื่ องการดื่มสุราของตนเองอย่างไรบ้ าง”
“อะไรที่ทาให้ ครอบครัวของคุณเป็ นห่วง”
“คุณคิดว่ามันจะเป็ นอย่างไรบ้ างหากคุณยังไม่หยุดดื่มสุรา”
คาถามเพื่อปลุกเร้ า SMS
 ความตัง้ ใจที่จะเปลี่ยนแปลง (Intention to Change)
“อะไรที่ทาให้ คณ
ุ อยากหยุด”
 “สมมติวา่ คุณเลิกได้ สาเร็ จ ชีวิตมันจะเปลี่ยนไปอย่างไร”
 “อะไรเป็ นข้ อดีของการเลิกสุรา”

คาถามเพื่อปลุกเร้ า SMS
 มองด้ ำนบวกของกำรเปลี่ยนแปลง
(Optimism for Change)
 “อะไรที่ทาให้ คณ
ุ คิดว่าคุณจะทามันได้ สาเร็จ”
 “อะไรที่ทาให้ คณ
ุ มีความเชื่อมัน่ ”
 “อะไรที่เป็ นตัวช่วย หากคุณคิดจะเลิก”
คาถามเพื่อปลุกเร้ า SMS
 ตรวจสอบข้ อดี-ข้ อเสีย (Exploring Pros and Cons)
ตรวจสอบเหตุผลทังสองด้
้
านของการเปลี่ยนและไม่เปลี่ยน
 ถามรายละเอียด (Elaboration)
 ถามเพื่อให้ ได้ รายละเอียดมากๆ จะพบ SMS มากขึ ้น
แล้ วค่อยสรุป

คาถามเพื่อปลุกเร้ า SMS
 จินตนำกำร (Imagining)
สมมติสิ่งที่เลวร้ ายที่สดุ เกิดขึ ้น คุณจะเป็ นอย่างไร
 สมมติสิ่งที่ดีเกิดขึ ้น คุณจะเป็ นอย่างไร
 สมมติ.....
 มองไปข้ ำงหน้ ำ (Looking Forward)
 ถ้ าเปลี่ยนแปลง อะไรจะดีขึ ้น
 ถ้ าไม่เปลี่ยนแปลง ชีวิตจะเปลี่ยนไปอย่างไร
 ถ้ า......... แล้ ว............

คาถามเพื่อปลุกเร้ า SMS
 มองย้ อนกลับไป (Looking Back)
เปรี ยบเทียบช่วงอดีตก่อนที่จะมีปัญหากับปั จจุบนั ที่มีปัญหา
 สุรายาเสพติดทาให้ คณ
ุ ตกต่าอย่างไร
 ค้ นหำเป้ำหมำยและคุณค่ ำชีวต
ิ (Exploring Goals
or Values)
 อะไรคือสิ่งที่สาคัญมากที่สด
ุ ในชีวิต
 อะไรคือเป้าหมายของคุณ ทังระยะใกล้
้
และไกล
 สุรายาเสพติดเป็ นอุปสรรคในการบรรลุเป้าหมายอย่างไร

คาถามเพื่อปลุกเร้ า SMS
 ไม้ บรรทัดของความพร้ อม (Readiness ruler)
ให้ ผ้ ปู ่ วยลองให้ คะแนน 0-10 สาหรับความสาคัญ
ความมัน่ ใจ และความพร้ อมของการเปลี่ยนแปลง
 ถามผู้ป่วยว่า เพราะอะไรถึงไม่ให้ คะแนน 0 หรื อ
ตัวเลขที่ต่ากว่าจานวนที่เลือก

คาถามเพื่อปลุกเร้ า SMS
 ขัดเพื่อให้ แย้ ง Paradoxical Challenge
ผู้บาบัดใช้ เหตุผลของจิตใจด้ านที่ไม่อยากเปลี่ยน
เพื่อกระตุ้นให้ ผ้ ปู ่ วยโต้ แย้ ง
 เข้ าข้ างจิตใจที่ไม่อยากเปลี่ยนแปลง
 “ดูแล้ วคุณยังติดใจสุรายาเสพติดอยูม
่ าก คงจะเลิกยาก”

การจัดการกับแรงต้ าน
Handling Resistance
การจัดการกับแรงต้ าน
Handling Resistance
 ลักษณะข้ อความของแรงต้ าน = ตรงข้ ามกับ SMS
(Non-SMS or Resistance Talk)
 ข้ อดีของการเสพยา
 ข้ อเสียของการเลิก
 ไม่คิดตังใจที
้ ่จะเปลี่ยนแปลง
 มองการเปลี่ยนแปลงในทางลบ
 ระลึกว่าแรงต้ านเป็ นเรื่ องปกติ แท้ จริ งผู้ป่วยสองจิตสองใจ
 แรงต้ านเป็ นเรื่ องของผู้บาบัด เตือนใจให้ ทบทวนกลยุทธ์
การจัดการกับแรงต้ าน
Handling Resistance
 Reflective listening
Simple reflection – เต้ นตามไปเรื่ อยๆ
 Double-sided reflection – ให้ เห็นความขัดแย้ งในใจเอง
 Amplified reflection – ซ ้าเติมให้ หนักขึ ้น
 Minimizing reflection – ผ่อนให้ เบาลง

 Shifting focus – กำรเปลี่ยนจุดเน้ น เปลี่ยนเรื่ องคุย
การจัดการกับแรงต้ าน
Handling Resistance
 Responsibility or personal choice – ความรับผิดชอบ
ในตน การตัดสินใจอยูท่ ี่คณ
ุ
 Reframing – yes…but – การมองเชิงบวก ใช่....แต่...
ในขณะเดียวกัน.....
 Paradoxical challenge – การขัดเพื่อให้ แย้ ง
การจัดการกับแรงต้ าน
Handling Resistance
C: “ผมไม่ได้ ดื่มทุกวัน ผมต้ องทางานหนักทังวั
้ น ผมต้ องการ
พักผ่อนในช่วงวันหยุด ผมจึงดื่มเบียร์ 6 ขวด”
T: “คุณดื่มเบียร์ 6 ขวด” (repeating) “เบียร์ 6 ขวด”
(rephrasing) “คุณดื่มเพื่อผ่อนคลาย” “คุณดื่มหนักเฉพาะ
ช่วงวันหยุด” (paraphrasing) (simple reflection)
C: “บางครัง้ ผมอาจจะเอ๋อเพราะสูบกัญชามากเกิน
แต่ก็ไม่ร้ ู ว่าแม่จะมาห่วงผมมากมายทาไม
ผมก็โตพอที่จะดูแลตัวเองได้ แล้ ว”
การจัดการกับแรงต้ าน
Handling Resistance
T: “คุณไม่ชอบที่แม่หว่ งมากเกิน แต่บางครัง้ คุณก็กงั วลว่า
คุณสูบกัญชามากเกินจนสมองแย่ลง”
(double-sided, complex reflection)
C: “ผมไปรักษามาก็หลายครัง้ ก็ยงั เลิกไม่ได้ ”
(แต่ยงั มาพบแพทย์)
T: “คุณล้ มเหลวมาก็หลายครัง้ จนทาให้ คณ
ุ ท้ อใจ แต่
ขณะเดียวกันคุณก็ยงั มีใจอยากเลิกอยู่ คุณจึงได้ กลับมา
หาหมอ” (double-sided, complex reflection)
การจัดการกับแรงต้ าน
Handling Resistance
C: “แม่เป็ นห่วงผมมากเกินไป ชอบคอยจ้ องจับผิด”
T: “แม่ของคุณเป็ นคนที่น่าราคาญและไร้ เหตุผล”
(amplified, complex, paradoxical)
C: “เพื่อนที่มหาลัยส่วนใหญ่สบู กัญชา”
T: “การสูบกัญชาเป็ นสิ่งสาคัญในชีวิตของคุณและเพื่อนๆ”
(amplified, complex, paradoxical)
C: “ผมไม่ร้ ูวา่ จะกินยาไปทาไม ไม่เห็นจะช่วยให้ ดีขึ ้นอย่างไร”
T: “คุณคิดว่าไม่วา่ อะไรก็ช่วยคุณไม่ได้ ” (minimizing,
complex, paradoxical)
การจัดการกับแรงต้ าน
Handling Resistance
C: “ปั จจุบนั ผมสูบแค่กญ
ั ชา ไม่เหมือนก่อนที่สบู ยาบ้ า”
T: “คุณคิดว่าคุณดีขึ ้นกว่าเมื่อก่อนมาก เพราะคุณเสพสิ่งที่
ไม่เป็ นอันตราย” (minimizing, complex, paradoxical)
C: “ช่วงแรกของการเลิกยา มันเผลอหลุดไปได้ งา่ ยจริ งๆ
ท่าจะเลิกยาก”
T: “จริ งครับ คล้ ายกับการฝึ กขับจักรยานในช่วงเริ่ มต้ น” (metaphor)
C: “แม้ ร้ ูวา่ เหล้ าเป็ นสิ่งที่ไม่ดีนะหมอ แต่ผมก็ยงั อยากจะดื่มมันอยู”่
T: “คล้ ายกับหนอนในกองอึ” (metaphor) แต่คนกับหนอนต่างกัน
(reframing)
การจัดการกับแรงต้ าน
Handling Resistance
C: ผมไม่อยากอยูโ่ รงพยาบาลแล้ ว เพื่อนๆ เอาแต่คยุ เรื่ อง
ยาเสพติด ไม่ร้ ูวา่ จะมาอยูท่ ี่นี่กนั ทาไม
T: “ต่างคนต่างจิตต่างใจ เราไม่สามารถเปลี่ยนแปลงคนอื่นได้
สิ่งที่เราเปลี่ยนได้ คือตัวเรา หากเราคิดที่จะเปลี่ยนแปลง
จุดสาคัญ คือ เราจะเริ่ มต้ นอย่างไรดี” (shifting focus)
C: “ผมไม่อยากเลิกแล้ ว ไม่อยากกินยา ไม่อยากมากลุม่ แล้ ว
ผมเพียงอยากเสพเป็ นครัง้ คราวเพื่อคลายเครี ยด”
การจัดการกับแรงต้ าน
Handling Resistance
T: “ที่สดุ แล้ ว ไม่มีใครจะมาตัดสินใจแทน กระทาแทนคุณ
ทังหมดขึ
้
้นอยูก่ บั ตัวเราเองทังหมด
้
หมอได้ แต่สนับสนุน
ให้ คณ
ุ ประสบความสาเร็จในสิ่งที่คณ
ุ อยากเป็ นอยากมี”
(responsibility or personal choice)
C: “ผมดื่มเหล้ าเพื่อช่วยให้ นอนหลับ ถ้ าไม่ดื่มก็นอนไม่หลับ”
T: “เหล้ าก็มีสว่ นช่วยให้ นอนหลับ เพราะเป็ นยากล่อมประสาท
แต่ตอ่ มาสมองก็ดื ้อต่อเหล้ า ก็ทาให้ นอนไม่หลับในที่สดุ
ทาให้ ต้องเพิ่มปริ มาณขึ ้นไปเรื่ อยๆ” (reframing)
วัตถุประสงค์ ของการคุยกับญาติ (MI)
 สร้ างสัมพันธ์กบ
ั ญาติ
 ญาติเห็นความสาคัญในการเข้ าไปช่วยเหลือผู้ป่วย
 ญาติให้ คามัน่ สัญญาในการช่วยเหลือผู้ป่วย
 ส่งเสริ มให้ เกิดความร่ วมมือในครอบครัว
 ญาติจงู ใจผู้ป่วย
 การจากัดการมีสว่ นร่ วมของญาติ
ตัวอย่ างคาถามสาหรับการถามญาติ
 “ญาติเป็ นห่วงในตัวผู้ป่วยอย่างไรบ้ างครับ?”
 “ญาติคิดว่าตนเองจะมีสว่ นช่วยผู้ป่วยอย่างไรบ้ างครับ?”
 “ญาติอยากให้ ผมช่วยผู้ป่วยอย่างไรบ้ างครับ?”
 “ญาติต้องการข้ อมูลอะไรที่เป็ นประโยชน์ในการสนับสนุน
ผู้ป่วยเพิ่มเติมบ้ างครับ?”
 “คุณอยากให้ ญาติมีสว่ นช่วยสนับสนุนอย่างไรบ้ าง?”
(ถามผู้ป่วย)
ตัวอย่ างคาถามเพื่อให้ ญาติจูงใจผู้ป่วย
 “การเสพยาเสพติดของลูกชายคุณมีผลต่อคุณแม่อย่างไรบ้ าง?”
 “ขณะนี ้อะไรที่ทาให้ คณ
ุ แม่เป็ นห่วงกังวลกับการเสพยาเสพติด
ของลูกชายบ้ าง?”
 “คุณพ่อคิดว่าอะไรจะเกิดขึ ้นบ้ างหากลูกชายยังคงเสพ
ยาเสพติดต่อไป?”
 “คุณแม่คาดหวังให้ ลกู ชายเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ ้นอย่างไรบ้ าง?”
ตัวอย่ างคาถามเพื่อให้ ญาติจูงใจผู้ป่วย
 “อะไรที่คณ
ุ พ่อชอบมากที่สดุ ในช่วงที่ลกู ชายไม่เสพยาเสพติด?”
 “มีอะไรบ้ างที่เป็ นสัญญาณว่าเขาต้ องการเลิกยาเสพติดจริ งๆ?”
 “อะไรที่ทาให้ คณ
ุ พ่อมีความหวังว่าลูกชายจะดีขึ ้น?”
 “ในช่วงที่ผ่านมา เขาได้ ทาอะไรที่แสดงถึงความพยายามใน
การเลิกยาเสพติดบ้ างครับ?”
ใบงานที่ 4
การฝึ ก MI skills
 แบ่งกลุม่ ย่อยเป็ น 8-10 คน ต่อวิทยากร 1 ท่าน
 คัดเลือกสมาชิก 3 คน ออกมาฝึ ก ที่เหลือสังเกตการณ์
 สมาชิกฝึ กบทบาทสมมติตามสถานการณ์ที่ให้
สมาชิกคนที่ 1 เป็ นผู้บาบัด
สมาชิกคนที่ 2 เป็ นผู้ป่วย
สมาชิกคนที่ 3 เป็ นญาติ
 ผู้บาบัดพยายาม MI skills ได้ แก่ OARS, eliciting change talk,
resistance handling กับผู้ป่วย และญาติ สถานการณ์ละ 15-20
นาที หากติดขัดสามารถเปลี่ยนบทบาทการฝึ กระหว่างกันได้
ใบงานที่ 4
การฝึ ก MI skills
 ให้ สมาชิกวิพากษ์ วิจารณ์และให้ ข้อมูลสะท้ อนกลับ
ซึง่ กันและกัน
 สมาชิกผลัดกันฝึ กโดยเปลี่ยนบทบาทสลับกันไปโดย
เปลี่ยนสถานการณ์ที่จดั เตรี ยมไว้ ให้