การเล่าเรื่อง - สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

Download Report

Transcript การเล่าเรื่อง - สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

พฤติกรรมสุ ขภาพ
1 ประเด็นความเครียด
2 ประเด็นแรงจูงใจในการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม
พฤติกรรมสุ ขภาพ
1 ประเด็นความเครียด
การประเมิน
การให้ intervention
2 ประเด็นแรงจูงใจในการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม
For Health Behavioral Change
การให้ คาปรึกษาแบบสร้ างแรงจูงใจ
เพือ่ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมสุ ขภาพ
นพ.เทอดศักดิ์ เดชคง
กลุ่มทีป่ รึกษากรมสุ ขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุ ข
ทาไมการคงอยู่ในกระบวนการรักษา/
ความต่ อเนื่องในการดูแลจึงเป็ นเรื่องสาคัญ
Time spent in treatment is one of the
strongest predictors of posttreatment
outcomes (McLellan, Luborsky, Woody,
O’Brien, & Druley, 1983; Moos & Moos,
2003; Simpson, 1981).
ข้อมูลเดือนที่ยุติการบาบัด หน่วยบาบัดในสังกัดสานักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
ปี งบประมาณ 2555
ยุตกิ ารบาบัดทัง้ หมด
ระยะเวลา เดือนทีย่ ุตกิ ารบาบัด
ทัง้ สมัครใจและบังคับ
1
2
3
4
หน่วยงาน
13
3
3
1
6
รพ.เมืองชลบุรี
44
32
10
2
รพ.ชลบุรี
38
22
10
4
2
รพ.บ้านบึง
19
11
5
3
0
รพ.หนองใหญ่
รพ.พนัสนิคม
34
19
14
1
0
71
61
7
3
0
รพ.พานทอง
รพ.บ่อทอง
รพ.อ่าวอุดม
143
91
34
11
7
101
21
19
18
43
รพ.บางละมุง
สสอ.บางละมุง
113
64
32
11
6
82
60
12
2
รพ.สัตหีบ
156
73
18
2
3
50
รพ.เกาะสีชงั
805
424
196
69
116
รวม
52.67
24.35
8.57
14.41
ข้ อมูล
พ้ นคุมประพฤติด้วยดี
ผิดเงื่อนไข
กระทำผิดซำ้
ปี 2554
155,510 ราย
17,686 ราย
17.83 %
ที่มา : กลุ่มงานติดตามประเมินผล
ปี 2555
159,793 ราย
26,835 ราย
20.86 %
กอง
แผนงานและสารสนเทศ กรมคุมประพฤติ
ประสบการณ์ การใช้ MI./MC. ในบริบทต่ างๆ
1 ระบบสาธารณสุ ข คลินิกโรคเรื้อรังไม่ ติดต่ อ
(หวังผลในเรื่องการพบแพทย์ *การกินยาต่ อเนื่อง*ลด Complication)
พฤติกรรมสุ ขภาพ(อ้ วน*stress)
คลินิกบุหรี่
คลินิกสุ รา
สารเสพติด(หวังผลในการบาบัดครบ*ไม่ กลับไปเสพซ้า)
2 ระบบยุติธรรม
ศาลเยาวชนและครอบครัว
งานคุมประพฤติ
อืน่ ๆเช่ น งานของกรมพินิจ
3 ระบบสั งคม
สถานประกอบการ
การจัดหางาน
กลุ่มว่ างงาน
4 ระบบการศึกษา
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการพฤติกรรม
ภูมิใจในสถานที่
แต่คลินิกเลิกบุหรี่
ไม่คอ่ ยประสบ ความสาเร็จ
“ไม้บรรทัดวัดแรงจูงใจ” เป็ น
เครื่ องมือที่ใช้ได้ง่าย ช่วยให้ทราบว่า
ขณะนั้นผูป้ ่ วยมีแรงจูงใจระดับใด
อัตราการเลิกได้จริงใน ระยะเวลาทีต่ ดิ ตาม
ประเภท
ผู้ป่วย
กลุ่มควบคุม
กลุ่มทดลอง
เดือนที่ตดิ ตาม
1เดือน
2เดือน
3เดือน
6เดือน
9เดือน
12เดือน
6.25% 12.5% 12.5% 12.5% 12.5% NA
%
%
%
%
%
NA
อัตราการเลิกได้จริงใน ระยะเวลาทีต่ ดิ ตาม
ประเภท
ผู้ป่วย
เดือนที่ตดิ ตาม
1เดือน
2เดือน
3เดือน
6เดือน
9เดือน
12เดือน
กลุ่มควบคุม
6.25% 12.5% 12.5% 12.5% 12.5% NA
กลุ่มทดลอง
80.95 76.19 61.90 61.90 61.90 NA
% %
%
%
%
ผลการให้คาปรึกษาในรูปแบบของการให้ความช่วยเหลือ
แบบสัน้ ต่อการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการดืม่ สุราของผูป้ ่ วย
โรคติดสุรา หอผูป้ ่ วยจิตเวช โรงพยาบาลสุรนิ ทร์
โดย วันเพ็ญ ทัดศรี และ พยอม ตัณฑจรรยา

ความสาคัญและความเป็ นมา
่ ขึ้นทุกปี
 ผูป้ ่ วยติดสุรามีจานวนเพิม
่ ซา้ ง่ายจากสมองติดสุรา
 กลับไปดืม
 คุณภาพชีวิตเสือ่ มลง
ในบริบทของ หอผูป้ ่ วยจิตเวช พบว่า เพิม่ ขึ้นทุกปี
 ปี 2552
 ปี 2553
 ปี 2554
เท่ากับ 208
เท่ากับ 286
เท่ากับ 414
ผลการวิจยั
ระยะการ
ติดตามหลัง
จาหน่ าย
กลุ่มทดลอง(n=15)
ดืม่
กลุ่มควบคุม(n=15)
ไม่ ดมื่
ดืม่
จานวน ร้ อยละ จานวน ร้ อยละ จานวน
P-value
ไม่ ดมื่
ร้ อยละ จานวน ร้ อยละ
2สั ปดาห์
3
20
12
80
11
73.33
4
26.67 P=0.003*
12สั ปดาห์
3
20
12
80
14
93.33
1
6.67
P=0.000*
24สั ปดาห์
4
26.67
11
73.33
14
93.33
1
6.67
P=0.000*
*p<0.05
1 ผมอยากออกกาลังกาย ผมควรเริ่ มยังไงดี
2 ผมควรจะเลิกบุหรี่ หรื อยัง
3 ผมไม่ไปยุง่ เกี่ยวกับเพื่อนที่ใช้ยาบ้าแล้ว
4 หนูเล่นเน็ตน้อยลงแล้ว
Motivational Counseling
การให้คาปรึกษาแบบสร้างแรงจูงใจ
ความหมาย : การให้คาปรึกษาแบบเน้นการสร้างแรงจูงใจ
: การช่วยเหลือ Cl โดยใช้ การสื่อสารสองทาง
เพื่อ สร้างแรงจูงใจ และ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้สง่ เสริม
สนับสน ุนการมีพฤติกรรมส ุขภาพ
: พฤติกรรมส ุขภาพ ได้แก่ การออกกาลังกาย
การมาตรวจตามนัด การรับประทานยาต่อเนื่อง
การงดส ุรา/สารเสพติด เรียนหนังสือ ฯลฯ
Motivational Counseling Process
1 สร้างสัมพันธภาพ
และ Affirmation
2 ตกลงบริ การ
ประเมินระดับแรงจูงใจ
5 สรุ ปและวางแผน
(perspective on change)
ให้กาลังใจ
เปิ ดโอกาสให้มาปรึ กษาได้อีก
4 ให้ขอ้ มูล/ข้อเสนอแนะ
แบบมีทางเลือก/ชวนแก้ปัญหา
3 รวบรวมข้อมูล
สารวจปัญหา(ค้ นหาและสนับสนุนแรงจูงใจ)
5-10 นาที
20-30 นาที
40-60 นาที หลายครั้ง
Spirits of MI.
1 ร่ วมมือ ไม่ใช่เผชิญหน้าหรื อเป็ นฝ่ ายตรงข้าม
2 ดึงความต้องการออกมา ไม่ใช่ใสความคิดผูร้ ักษาเข้าไป
3 ให้ความเป็ นใหญ่(คิด/เลือก/วางแผน) ไม่ใช่การบีบงั คับ
1 Collaboration vs Confrontation
2 Evocation vs Imposing
3 Autonomy vs Authority
สถานการณ์ที่ 1 คู่ปรับ
คู่ปรับทีส่ ู สี?
สถานการณ์ ที่ 2
เร่ งรัดผลักดัน
ผลักดันการเปลีย่ นแปลง
สถานการณ์ ที่ 3
กดดัน บีบบังคับ
การดิน้ รน(Righting reflex)
สถานการณ์ ที่ 4 มีเป้าหมายร่ วมกัน
ค้ นหา ความร่ วมมือ สอดคล้ อง และเป้าหมายเดียวกัน
พายเรือไปในทางเดียวกัน
Motivational advice in Emergency Room
Adolescent Alcohol related injury level 1 injury
Standard Care VS
Brief Advice
Alcohol ลด(ระยะสั้น)
Injury ลด(นาน)
3 mo
1 yr
การวัดผลของ intervention ทาได้ หลายอย่ าง
Nancy Barnett, Ph.D., Brown University
WHO - RPAH EARLY INTERVENTION TRIAL
INTERVENTIONS




No treatment control
Simple advice
(5 minutes plus leaflet)
Advice and brief counselling
(20 minutes plus manual)
Advice and extended counselling
(40 minutes over 2 or 3 sessions)
BA
BI
MC
WHO - RPAH EARLY INTERVENTION TRIAL
RESULTS AT NINE MONTHS
Average weekly alcohol intake (grams)
Condition
Intake at
Recruitment
Intake at
Follow up
% reduction
Control
402
402
0
Simple advice
424
307
27.5
Advice and
counselling
480
341
29.0
Extended
counselling
460
285
38.0
WEEKLY ALCOHOL INTAKE IN BRIEF
INTERVENTION AND CONTROL GROUP
Fleming et al (2002)
6
Stages of change
เผลอไป
5
คิดอยู่บ้าง
เป็ นนิสัย
มองไม่ เห็น
2
4
ทาได้ บ่อย
ตัดสิ นใจทา
3
1
(Prochaska และ
Di Clemente 1982)
* องค์ประกอบที่จาเป็นในการให้คาปรึกษาแบบสร้างแรงจูงใจ
1. แสดงความเห็นใจ Express empathy
2. ชี้ให้เห็นความขัดแย้งในตนเอง Develop Discrepancy
3. แนะนา แบบมีทางเลือก Advice with menu
4. ไม่เถียงด้วย Avoid argumentation
5. กลิ้งไปกับแรงต้าน Roll with Resistance
6. สนับสน ุนความมัน่ ใจในตนเอง Increase self - efficacy
ทักษะการสนทนา สนทนาด้ วยกุหลาบ
Micro Skills (OARES)
(A ROSE)
1. ถาม Open Ended Question
2. ชื่นชม Affirm the Cl
3. สะท้อน Reflect What the person says
4. สนับสนุนกาลังใจ(Encourage)
5. สรุ ป (Summarize Perspectives on Change)
ไม้บนั ทัดวัดใจ
0
1
2
ไม่ พร้ อมทีจ่ ะเปลีย่ นแปลง
หรือยากทีจ่ ะเปลีย่ น
3
4
5
6
7
8
9
10
แก้ ไขหรือเปลีย่ นแปลงได้ แล้ ว
(Zimmerman:2000)
คาถามสร้างแรงจูงใจ
Developing Discrepancies
การเน้ นและชี้ให้ เห็นความแตกต่ างของสิ่ งทีท่ าอยู่ กับสิ่ งทีต่ ้ องการ
วิธีการกระตุ้น 1. การถามถึงอนาคต / มองไปในอนาคต
2. ถามถึงเป้าหมายในชีวติ
3. ถามถึงอดีตทีด่ ีกว่ า
4. ถามถึงสิ่ งเลวร้ ายสุ ด ๆ ทีเ่ ป็ นไปได้
อาจเป็ นตัวเอง/คนที่รัก/
คุณค่ า/ความเชื่อ
5. ถามถึงสิ่ งทีด่ ีสุด ๆ ทีเ่ ป็ นไปได้
“คุณบอกว่ าอยากมีร่างกายแข็งแรง และก็ได้ ยนิ ว่ าคุณไม่ อยากออกกาลังกาย”
หากใช้ คาถามได้ ถูกต้ องตรงใจ
การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมจะเกิดขึน้
กรมสุ ขภาพจิต
กระทรวงสาธารณสุ ข
[email protected]
www.drterd.com